SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
บทที่ 2
                                   เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

        การวิจัย เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง เศษสวน ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 5 สอนโดยใชกระบวนการแกปญหา โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิด
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ตามลําดับตอไปนี้
        1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระ
การเรียนรูคณิตศาสตร ชวงชั้นที่ 2
        2. จิตวิทยาและทฤษฎีการเรียนรูเกี่ยวกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร
        3. เอกสารดานกระบวนการคณิตศาสตร
        4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ
        5. กรอบแนวคิดในการวิจัย

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรชวงชั้นที่ 2
  สาระที่เปนองคความรูของกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ประกอบดวย
        สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ
        สาระที่ 2 การวัด
        สาระที่ 3 เรขาคณิต
        สาระที่ 4 พีชคณิต
        สาระที่ 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน
        สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร

        สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ
        มาตรฐาน ค 1.1 : เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวน
ในชีวิตจริง
        มาตรฐาน ค 1.2 : เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวางการ
ดําเนินการตาง ๆ และสามารถใชการดําเนินการในการแกปญหาได
        มาตรฐาน ค 1.3 : ใชการประมาณคาในการคํานวณและแกปญหาได
        มาตรฐาน ค 1.4 : เขาใจในระบบจํานวนและสามารถนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใชได

        สาระที่ 2 การวัด มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 2
มาตรฐาน ค 2.1 : เขาใจเกี่ยวกับพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด
        มาตรฐาน ค 2.2 : วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัดได
        มาตรฐาน ค 2.3 : แกปญหาเกี่ยวกับการวัดได
        สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 2
        มาตรฐาน ค 3.1 : อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติได
        มาตรฐาน ค 3.2 :ใชการนึกภาพ (visualization) ใชเหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช
แบบจําลองทางเรขาคณิต ( geometric model ) ในการแกปญหาได
        สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 2
        มาตรฐาน ค 4.1 : อธิบายและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธ และฟงกชัน
ตาง ๆได วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธของแบบรูปที่กําหนดใหได
        มาตรฐาน ค 4.2 : ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และแบบจําลองทางคณิตศาสตรอื่น ๆ แทน
สถานการณตาง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใชแกปญหาได
        สาระที่ 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน
        มาตรฐาน ค 5.1 : เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูลได
        มาตรฐาน ค 5. 2 : ใชวิธีการทางสถิติและความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยาง
สมเหตุสมผล
        มาตรฐาน ค 5. 3 :ใชความรูเกี่ยวกับสถิติและความนาจะเปนชวยในการตัดสินและแกปญหาได
        สาระที่ 6 กระบวนการทางคณิตศาสตร
        มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแกปญหา
        มาตรฐาน ค 6. 2 : มีความสามารถในการใหเหตุผล
สามารถแสดงเหตุผลโดยการอางอิงความรู ขอมูล หรือขอเท็จจริง หรือสรางแผนภาพ
        มาตรฐาน ค 6. 3 : มีความสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการ
นําเสนอใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนําเสนอไดอยางถูกตอง
และเหมาะสม
        มาตรฐาน ค 6.4 : มีความสามารถในการเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ ได
        มาตรฐาน ค 6. 5 : มีความคิดริเริ่มสรางสรรคมีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการทํางาน




คุณภาพของผูเรียนเมื่อจบชวงชั้นที่ 2 ( ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – 6 )
       เมื่อผูเรียนจบการเรียนชวงชั้นที่ 2 ผูเรียนควรจะมีความสามารถดังนี้
1. มีความรูความเขาใจและความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับจํานวนนับและศูนย เศษสวน
ทศนิยมไมเกินสามตําแหนง รอยละ การดําเนินการของจํานวน สมบัติเกี่ยวกับจํานวน สามารถแกปญหา
เกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนนับ เศษสวน ทศนิยมไมเกินสามตําแหนง และรอยละ
พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได สามารถหาคาประมาณของจํานวนนับและทศนิยม
ไมเกินสามตําแหนงได
�               2. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ําหนัก พื้นที่ ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน
ทิศ แผนผัง และขนาดของมุม สามารถวัดไดอยางถูกตองและเหมาะสม และนําความรูเกี่ยวกับการวัดไปใช
แกปญหาในสถานการณตาง ๆ ได
                3. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูป
วงกลมทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ปริซึม พีระมิด มุม และเสนขนาน
�               4. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับแบบรูปและอธิบายความสัมพันธได แกปญหาเกี่ยวกับแบบ
รูป สามารถวิเคราะหสถานการณหรือปญหาพรอมทั้งเขียนใหอยูในรูปของสมการเชิงเสนที่มีตัวไมทราบคา
หนึ่งตัวและแกสมการนั้นไดรวบรวมขอมูล อภิปรายประเด็นตาง ๆ จากแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแทง
แผนภูมิแทงเปรียบเทียบ แผนภูมิรูปวงกลม กราฟเสน และตาราง และนําเสนอขอมูลในรูปของแผนภูมิ
รูปภาพแผนภูมิแทง แผนภูมิแทงเปรียบเทียบ และกราฟเสน ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนเบื้องตนใน
การคาดคะเนการเกิดขึ้นของเหตุการณตาง ๆ ได
�               5. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและ
เทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและ
สรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนําเสนอไดอยางถูกตองและเหมาะสม เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค

จิตวิทยาและทฤษฎีการเรียนรูเกี่ยวกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร
          เปยเจย (Jean Piaget) นักจิตวิทยาพัฒนาชาวสวิสตไดเสนอแนวคิดที่วาพัฒนาการของเด็กตั้งแต
แรกเกิดจนถึงวัยผูใหญจะแบงออกเปน 4 ระยะ (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี,
2538) คือ
               1) ระยะใชประสาทสัมผัส (Sensory-Motor Stage) เปนการพัฒนาการเด็กตั้งแตแรกเกิดจนถึง
อายุ 2 ป ในวัยนี้เด็กจะเริ่มพัฒนาการรับรูโดยใชประสาทสัมผัสตาง ๆ เชน ตา หู มือ และเทา ตลอดจน
เริ่มมีการพัฒนาการใชอวัยวะตาง ๆได เชน การฝกหยิบจับสิ่งของตาง ๆ ฝกการไดยิน และการมอง
              2) ระยะควบคุมอวัยวะตาง ๆ(Proporational Stage) เปนการพัฒนาของเด็กตั้งแตอายุ2-4 ป เด็ก
วัยนี้จะเริ่มพัฒนาอยางเปนระบบมากขึ้นมีการพัฒนาของสมอง ที่ใชควบคุมพัฒนาลักษณะนิสัย และการ
ทํางานของอวัยวะตางๆ เชน นิสัยการขับถาย นอกจากนี้ยังมีการฝกการใชอวัยวะตาง ๆ ให มีความสัมพันธ
กันภายใตการควบคุมของสมอง เชน การเลนกีฬาพื้นฐานเดิมไมพอ ที่จะรับความคิดรวบยอดใหมครู
จะตองสอนซอมเสริมในเรื่องเดิมกอน ทั้งนี้เพราะเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร มีลักษณะเปนบันไดเวียน ซึ่ง
ลักษณะนี้จะชวยสรางความเขาใจเกากับใหมใหตอเนื่องกันไดเปนอยางดี
             3) เกี่ยวกับการประเมินศักยภาพทางสติปญญานั้นพิจารณาจากลําดับขั้น ัฒนาการของเด็ก เชน
                                                                               พ
เด็กมีอายุอยูในขั้นปฏิบัติการคิดดวยรูปธรรม แตสามารถคิดในสิ่งที่เปนนามธรรม เหมือนเด็ก ในขั้น
ปฏิบัติการคิดดวยนามธรรมได ก็แสดงวาเด็กคนนั้นมีพัฒนาการทางพัฒนาการทางสติปญญากาวหนา
มากกวาปกติในทางตรงกันขามหากเด็กคนนั้นไมสามารถคิดยอนกลับไดเหมือนเด็กคนอื่นๆ ในชั้นเดียวกัน
เราก็อาจสรุปไดวาเด็กคนนั้นมีพัฒนาการทางสติปญญาชากวาปกติ
             4) ในดานการประเมินผลการเรียน องคํานึงถึงพัฒนาการทางสติปญญา
                                             ต                              และการคิดเด็กแตละวัยเชน
ถาอยูในขั้นประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวก็ควรวัดผลจากการกระทําหรือกิจกรรมทางกลไกซึ่งตรงกัน
ขามกับการวัดผลของเด็กในขั้นปฏิบัติการคิดดวยนามธรรม ซึ่งตองวัดการใชเหตุผลที่ลึกซึ้งขึ้น
              จากที่กลาวมาทั้งหมดแสดงใหเห็นวาในการสอนนักเรียนในระดับประถมศึกษาควรใหผูเรียไดลง
                                                                                                 น
มือปฏิบัติใหพบกับปญหาและใชความคิดในการแกปญหาโดยใชสื่อรูปธรรมกอน แลวนักเรียนจะเกิดมโน
มติทางคณิตศาสตรนักเรียนสรางขึ้นเองจากการกระทําจากสื่อรูปธรรม
             จากขอมูลที่กลาวมาจะเห็นวา ทฤษฎีพัฒนาการทางปญญาของเพียเจตเปนทฤษฎีที่ศึกษา
แยกแยะองคประกอบที่สงผลตอพัฒนาการทางปญญาของมนุษยจากขั้นพื้นฐานไปสูขซึ่งประกอบดวย ารคิด
                                                                                    ั้นสูง      ก
เชิงเหตุผล การจําเชิงเหตุผล การคิดเชิงมโนมติ และการรูคิด ซึ่งมีขอสรุปที่สําคัญดังนี้
              1) พัฒนาการทางปญญาเกิดจากการกระทํากิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย
              2) ขอขัดแยงทางปญญา กอใหเกิดสภาวะไมสมดุลเปนแรงจูงใจที่ทําใหเกิดการกระทําอันจะ
กอใหเกิดพัฒนาการทางปญญา
              3) พัฒนาการทางปญญาของบุคคลจะเปนไปตามลําดับขั้น ไมมีการกระโดดขามขั้นหรือสลับ
ลําดับกันได
         บุญทัน อยูชมบุญ (2529 : 24-25) กลาววาการสอนคณิตศาสตรในชั้นประถมศึกษามีหลักที่ควร
พิจารณาเพื่อเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู กิจกรรมที่จัดขึ้นนั้นตองมุงสนอง
ความตองการ ความสนใจ ความสามารถของนักเรียนแตละคนเปนหลัก หลักการสอนมีดังนี้
                1. สอนโดยคํานึงถึงความพรอมของเด็ก คือ พรอมทั้งในดานรางกาย
อารมณ สติปญญา และความพรอมในแงความรูพื้นฐานที่มาตอเนื่องกับความรูใหมโดยครูตองมีการทบทวน
ความรูเดิมกอน เพื่อใหประสบการณใหมตอเนื่องกัน จะชวยใหนักเรียนเกิดความเขาใจมองเห็น
ความสัมพันธของสิ่งที่เรียนไดดี
                2. การจัดกิจกรรมการสอนตองจัดใหเหมาะสมกับวัย ความตองการ
ความสนใจและความสามารถของเด็ก เพื่อมิใหเกิดปญหาตามมาภายหลัง
                3. คํานึงความแตกตางระหวางบุคคล โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตรเปนวิชา
ที่ครูจําเปนตองคํานึงถึงใหมากกวาวิชาอื่น ในแงความสามารถทางสติปญญา
                 4. การเตรียมความพรอมทางคณิตศาสตรใหนักเรียนเปนรายบุคคลหรือ
รายกลุมเพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนรู ชวยใหนักเรียนมีความพรอมตามวัย และความสามารถของแตละคน
                 5. วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่มีระบบที่ตองเรียนไปตามลําดับขั้นการสอน
      เพื่อสรางความเขาใจในระยะเริ่มแรกจะตองมีประสบการณที่งาย ๆ ไมซับซอนสิ่งที่ไมเกี่ยวของและทํา
      ใหเกิดความสับสนจะตองไมนํามาในกระบวนการเรียนการสอน การสอนจะเปนไปตามลําดับขั้นตอน
      ที่วางไว
                 6. การสอนจะตองมีจุดประสงคที่แนนอนวาจัดกิจกรรมเพื่อสนองจุดประสงคอะไร
                 7. เวลาที่ใชในการสอนควรจะใชระยะเวลาพอสมควร ไมนานจนเกินไป
                 8. ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการยืดหยุนไดใหเด็ก ไดมีโอกาส
เลือกกิจกรรมไดตามความสนใจ ความถนัดของตนและใหอิสระในการทํางานของเด็ก สิ่งสําคัญประการ
หนึ่ง คือการปลูกฝงเจตคติที่ดีตอเด็กในการเรียนคณิตศาสตรถาเกิดขึ้นจะชวยใหเด็กพอใจในการเรียนวิชานี้
เห็นประโยชนและคุณคายอมจะสนใจมากขึ้น
                9. การสอนที่ดีควรเปดโอกาสใหนักเรียนมีการวางแผนรวมกับครู เพราะ
จะชวยใหครูเกิดความมั่นใจในการสอนและเปนไปตามความพอใจของนักเรียน
               10. การสอนคณิตศาสตรจะดีถาเด็กมีโอกาสไดทํางานรวมกัน หรือมีสวนรวมในการคนควา
สรุปหลักเกณฑตาง ๆ
                 11. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควรสนุกสนานไปพรอมกับ
ภาวการณเรียนรูดวย จึงจะสรางบรรยากาศที่นาติดตามตอไปแกเด็ก
                 12. นักเรียนระดับประถมศึกษาที่อยูในระหวางอายุ 6-12 ป จะเรียนไดดี
เมื่อเริ่มเรียนโดยครูใชของจริง อุปกรณ ซึ่งเปนรูปธรรมตามลําดับ จะชวยใหนักเรียนรูดวยความเขาใจมิใช
การจําเชนการสอนในอดีตที่ผานมา ทําใหเห็นวาวิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่งายตอการเรียนรู
                 13. การประเมินผลการเรียนการสอนเปนกระบวนการตอเนื่อง และ
เปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอน ครูควรใชวิธีการสังเกต การตรวจแบบฝกหัด
การสอบถามเปนเครื่องมือใหการวัดผล จะชวยใหครูทราบขอบกพรองของนักเรียน
และการสอนของตน
                14. ไมควรจํากัดวิธีคิดคํานวณหาคําตอบของเด็ก ควรแนะนําวิธีคิด
ที่รวดเร็วและแมนยําใหในภายหลัง
               15. ฝกใหนักเรียนเช็คคําตอบดวยตนเอง

         โสภณ บํารุงสงฆ (2530 : 22-23) ไดกลาวถึงทฤษฎีการสอนคณิตศาสตรที่สําคัญไวคือ
1. ทฤษฎีการฝกฝน ทฤษฎีนี้เนนฝกฝนใหทําแบบฝกหัดมาก ๆ ซ้ํา ๆ จนกวาเด็กจะเคยชิน
กับวิธีการนั้น เพราะเชื่อวาวิธีการดังกลาวทําใหผูเรียนเรียนรูคณิตศาสตรได ฉะนั้นการสอนของครูจึง
เริ่มตนโดยครูใหตัวอยาง บอกสูตรบอกกฎเกณฑ แลวใหนักเรียนฝกฝนทําแบบฝกหัดมาก ๆ จนชํานาญ
นักการศึกษาปจจุบันยังยอมรับวา การฝกฝนมีความจําเปนในการสอนคณิตศาสตรซึ่งเปนวิชาทักษะ แต
ทฤษฎีนี้ยังมีขอบกพรองหลายประการคือ
   1.1 นักเรียนตองจดจํา ทองกฎเกณฑ สูตร ที่ยุงยาก
   1.2 นักเรียนไมจดจําขอเท็จจริงตาง ๆ ที่เรียนมาไดหมด
   1.3 นักเรียนไมไดเรียนอยางเขาใจ จึงเกิดความลําบาก สับสนในการคิดคํานวณ
การแกปญหาและลืมสิ่งที่เรียนไดงาย
                2. ทฤษฎีการเรียนรูโดยบังเอิญ ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา เด็กจะเรียนรูไดดีก็ตอเมื่อมีความตองการ
หรืออยากรูเรื่องใดเรื่องหนึ่งเกิดขึ้นฉะนั้น กิจกรรมการเรียนการสอนจะตองจัดขึ้นจากเหตุการณที่เกิดขึ้น
นั้น เกิดขึ้นในโรงเรียนหรือชุมชนซึ่งนักเรียนไดประสบกับตนเอง สวนขอบกพรองทางทฤษฎีนี้ คือ
เหตุการณที่เหมาะสมในการจัดการเรียนรู ไมไดเกิดขึ้นบอยดังนั้นการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีนี้
จะตอง
ไมเกิดผล
             3. ทฤษฎีแหงความหมาย ทฤษฎีนี้เนนตระหนักวาการคิดคํานวณกับการเปนอยูในสังคมของเด็ก
เปนหัวใจสําคัญของการเรียนการสอนคณิตศาสตร และเชื่อวานักเรียนจะเรียนรูและเขาใจสิ่งที่เรียนไดดี
เมื่อไดเรียนสิ่งที่มีความหมายตอตนเอง และเปนเรื่องที่นักเรียนไดพบเห็นและปฏิบัติในสังคมประจําวันของ
นักเรียน ในการสอนตามทฤษฎีแหงความหมาย มีขอเสนอแนะดังนี้
   3.1 การสอนเรื่องใหมแตละครั้ง ควรใชของจริงประกอบการสอนเพื่อใหนักเรียน
มองเห็นขั้นตอนตาง ๆ อยางแจมแจง
   3.2 ใหโอกาสนักเรียนไดแสดงวิธีการคิดคํานวณของนักเรียนเอง และควรให
นักเรียนชี้ใหเห็นความยาก ตลอดจนขอแตกตางระหวางเรื่องที่เรียนใหมกับเรื่องที่เรียนมาแลว
   3.3 ใหนักเรียนไดใชความหมายของตนเองในการคนหาคําตอบ โดยใชความรูที่
มีอยูเปนเครื่องมือในการคิด
   3.4 ควรใชโสตทัศนูปกรณประกอบการสอนในขั้นตอนตาง ๆ
   3.5 ใหนักเรียนทําแบบฝกหัดที่เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนใหม พรอมทั้งอธิบายถึง
วิธีการคิดคํานวณและวิธีการตรวจคําตอบดวย
   3.6 การฝกฝนใหเกิดทักษะนั้นเปนสิ่งที่ตองการ แตควรฝกหลังจากที่นักเรียน
เขาใจวิธีนั้น ๆ เปนอยางดีแลว
   3.7 ควรสอนซ้ําในเรื่องที่นักเรียนไมเขาใจจนกวานักเรียนเขาใจและทําไดถูกตอง
   3.8 ควรใหนักเรียนนําความรูที่ไดเรียนมาแลวไปใชในชีวิตประจําวัน
3.9 ใหนักเรียนทําแบบฝกหัดอยูเสมอ เพื่อเปนการฝกทักษะในเรื่อง
ที่เรียนมาแลว
 จะเห็นไดวาในการเรียนการสอนกลุมสาระคณิตศาสตร ใหไดรับความสําเร็จตาม
จุดมุงหมายของหลักสูตร มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นนั้น ครูตองนําทฤษฎีการสอนคณิตศาสตรมาใช
ใหเหมาะสมกับผูเรียน

           ยุพิน พิพิธกุล. (2530 : 49-50) ไดสรุปหลักการสอนคณิตศาสตรไว ดังนี้
               1. ควรสอนจากเรื่องงายไปสูเรื่องยาก
               2. เปลี่ยนจากรูปธรรมไปนามธรรม
               3. สอนใหสัมพันธกับความคิด เมื่อครูจะทบทวนเรื่องใด ก็ควรจะทบทวน
ใหรวบรวมเรื่องที่เหมือนกันเขาเปนหมวดหมู
               4. เปลี่ยนวิธีการสอนไมซ้ําซอนนาเบื่อหนาย ครูควรสอนใหสนุกสนาน
และนาสนใจ
               5. ใชความสนใจของนักเรียนเปนจุดเริ่มตน เปนแรงดลใจที่จะเรียน
               6. สอนใหผานประสาทสัมผัส ครูอยาพูดเฉย ๆ โดยไมใหเห็นตัวอักษร
               7. ควรจะคํานึงถึงประสบการณเดิมและทักษะเดิมที่นักเรียนมีอยู
               8. เริ่มสัมพันธกันก็ควรสอนไปพรอมกัน
               9. ใหนักเรียนมองเห็นโครงสรางไมใชเนนแตเนื้อหา
               10. ไมควรเปนเรื่องยากเกินไป
               11. สอนใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดหรือมโนมติ
               12. ใหนักเรียนลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ทําได
               13. ครูควรมีอารมณขัน เพื่อชวยใหบรรยากาศในหองเรียนนาเรียนยิ่งขึ้น
               14. ครูควรมีความกระตือรือรน และตื่นตัวอยูเสมอ
               15. ครูควรหมั่นแสวงหาความรูเพิ่มเติม เพื่อที่จะนําสิ่งแปลกและมา
ถายทอดใหผูเรียนจากที่นักการศึกษาไดกลาวมาขางตน จะเห็นไดวาหลักการในการสอนคณิตศาสตรเปน
สิ่งสําคัญมากของครูผูสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการเรียนรูจะประสบผลสําเร็จก็ตอเมื่อผูสอนหรือผูจัด
กิจกรรมมีหลักการที่ดี มีเทคนิคที่ดี ตลอดรูจักทฤษฎีในการสอน จึง จะทําใหสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู
สําหรับผูเรียนไดบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว

เอกสารดานกระบวนการคณิตศาสตร
   แนวทางการพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
   1. ทักษะและกระบวนการแกปญหา
ในชีวิตประจําวันของมนุษยตองเผชิญกับปญหาตาง ๆ มากมาย มนุษยตองมีความสามารถใน การ
แกปญหา (ปรีชา เนาวเย็นผล, 2537) เพื่อใหสามารถปรับตัวอยูในสังคมได การแกปญหาเปนหัวใจ ของการ
เรียนรูคณิตศาสตร(สิริพร ทิพยคง, 2545) เพราะในการแกปญหาผูเรียนตองใชความคิดรวบยอด ทักษะการคิด
คํานวณ หลักการ กฎ หรือสูตร แตผูเรียนสวนใหญมักไมประสบผลสําเร็จเนื่องจากผูเรียน มีปญหาในเรื่อง
ทักษะการอาน การทําความเขาใจโจทยและการวิเคราะหโจทยในการเริ่มตนพัฒนาผูเรียน ใหมีทักษะ /การ
กระบวนการแกปญหา ผูสอนจะตองสรางพื้นฐานใหผูเรียนเกิดความคุนเคยกับทักษะ/กระบวนการแกปญหา
ซึ่งมีอยู 4 ขั้นตอนดังนี้
                    1.1. การทําความเขาใจปญหาหรือวิเคราะหปญหา ผูเรียนตองแยกแยะวาโจทยกําหนดอะไร
มาให โจทยตองการใหหาอะไร หรือโจทยถามอะไร หรือโจทยตองการใหพิสูจนอะไร
                    1.2. การวางแผนการแกปญหา เปนขั้นตอนสําคัญที่สุด ซึ่งผูเรียนตองอาศัยทักษะในการ
นําความรู หลักการ กฎ สูตร หรือทฤษฎีที่เรียนรูแลวมาใช เชน การเขียนภาพลายเสน การเขียนตาราง
แผนภาพ ชวยในการแกปญหา บางครั้งในบางปญหาอาจใชทักษะการะประมาณคา การคาดเดาคําตอบ มา
ประกอบดวย
                    1.3. การดําเนินการแกปญหาตามแผนที่ไดวางไว ซึ่งอาจใชทักษะการคิดคํานวณ หรือการ
ดําเนินการทางคณิตศาสตร การพิสูจน
                    1.4. การตรวจสอบหรือการมองยอนกลับ วามีวิธีการอื่นในการหาคําตอบหรือไม ตลอดจน
การพิจารณาหาความสมเหตุสมผลในการหาคําตอบ
                 กระบวนการแกปญหาทางคณิตศาสตร(ปรีชา เนาวเย็นผล, 2537) ประกอบดวยขั้นตอนที่สําคัญ
4 ขั้นตอนคือ
                            1. ขั้นทําความเขาใจปญหา เปนการมองไปที่ตัวปญหา พิจารณาวาปญหา
ตองการอะไร ปญหากําหนดอะไรใหบาง มีสาระความรูใดที่เกี่ยวของบาง คําตอบของปญหาจะอยูใน
รูปแบบใด การทําความเขาใจปญหาอาจใชวิธีการตางๆ ชวย เชน การเขียนรูป การเขียนแผนภูมิ การ
เขียนสาระของปญหาดวยถอยคําของตนเอง
                            2. ขั้นวางแผน เปนขั้นตอนสําคัญที่จะตองพิจารณาวาจะแกปญหาดวยวิธีใด
จะแก อยางไร ปญหาที่กําหนดใหนี้มีความสัมพันธกับปญหาที่เคยมีประสบการณในการแกมากอนหรือไม
ขั้นวางแผน เปนขั้นตอนที่ผูแกปญหา พิจารณาความสัมพันธของสิ่งตางๆในปญหา ผสมผสานกับ
ประสบการณในการแกปญหาที่ผูแกปญหามีอยู กําหนดแนวทางในการแกปญหา
                            3. ขั้นดําเนินการตามแผน เปนขั้นตอนที่ลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว โดยเริ่ม
จากการตรวจสอบความเปนไปไดของแผน เพิ่มเติมรายละเอียดตางๆ ของแผนใหชัดเจนแลวลงมือปฏิบัติ
จนกระทั่งสามารถหาคําตอบไดหรือคนพบวิธีการแกปญหาใหม
                  4. ขั้นตรวจสอบ เปนขั้นตอนที่ผูแกปญหามองยอนกลับไปที่ขั้นตอนตางๆ ที่ผานมา เพื่อ
พิจารณาความถูกตองของคําตอบและวิธีการแกปญหา มีวิธีแกปญหาอยางอื่นอีกหรือไม พิจารณาปรับปรุง
แกไขวิธีแกปญหาใหกะทัดรัด ชัดเจน เหมาะสมขึ้นกวาเดิม ขั้นตอนนี้ครอบคลุมถึงการมองไปขางหนาโดย
ใชประโยชนจากวิธีการแกปญหาที่ผานมา ขยายแนวคิดในการแกปญหาใหกวางขวางขึ้นกวาเดิม
                ยุทธวิธีในการแกปญหาที่ใชในระดับประถมศึกษา เปนยุทธวิธีเขียนภาพ แผนภูมิ และ
สรางแบบจําลองซึ่งสอดคลองกับสถานการณของปญหา ชวยใหปญหามีความแจมชัดขึ้น ชวยใหผูแกปญหา
ทําความเขาใจกับปญหาไดรวดเร็วถูกตอง ทําใหเกิดแนวความคิดในการวางแผนแกปญหา
                ปญหาบางปญหา เชน ปญหาเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตนอกจากจะใช การเขียนภาพเพื่อสราง
ความเขาใจแลว ในขั้นวางแผนและดําเนินการตามแผน สามารถใชยุทธวิธีการเขียนภาพชวยในการ
แกปญหา ปญหาบางปญหาสามารถแกไขไดโดยใชยุทธวิธีเขียนแผนภูมิซึ่งกระทําไดในสองแนวทางคือใช
เพื่อแจกแจงกรณีที่เปนไปได และใชเพื่อแสดงสาระสําคัญของปญหา
                ปญหาบางปญหาสามารถสรางแบบจําลอง เพื่อแสดงสถานการณของปญหา ซึ่งมี ความ
เปนรูปธรรมมากกวาการเขียนภาพ และเขียนแผนภูมิ จากนั้นกําหนดแนวทางในการแกปญหา และ
ดําเนินการแกปญหาจากแบบจําลองที่สรางขึ้นนั้น
         การพัฒนาทักษะและความสามารถในการแกปญหา
                การพัฒนาความสามารถในการแกปญหา เมื่อพิจารณาตามขั้นตอนการแกปญหา 4 ขั้น
ของโพยา ( กรมวิชาการ, 2537 อางถึงใน ทองลา ศรีแกว, 2547) มีแนวทางดังนี้
                1. การพัฒนาความสามารถในการแกปญหา ผูเรียนควรไดรับการฝกฝนใหอานขอความ าน     อ
ปญหา แลวทําความเขาใจโดยอาจเริ่มจากการตั้งคําถามใหผูเรียนตอบตอไปใหผูเรียนฝกทําความ เขาใจเอง
โดยอาจใชกลวิธีชวยเพิ่มพูนความเขาใจ เชน การเขียนภาพ การสรางแบบจําลอง การปรับเปลี่ยนขนาดของ
ปริมาณตางๆ ของปญหา การยกตัวอยางที่สอดคลองกับปญหา
                2. การพัฒนาความสามารถในการวางแผนแกปญหาในการทํากิจกรรมตางๆ ฝกให ผูเรียน
วางแผนกอนการลงมือทําเสมอ เชน ในการทําแบบฝกหัด ควรใหผูเรียนวางแผนการคิดแบบคราวๆ นลงมือ กอ
ทําอยางละเอียดชัดเจน ครูตองไมบอกวิธีการแกปญหากับผูเรียนโดยตรง แตควรใชคําถามใหผูเรียนคิด
วิธีการแกปญหาไดดวยตนเอง นอกจากนี้ควรคิดปญหาแปลกใหมมาใหผูเรียนคิดเสมอ
                3. การพัฒนาความสามารถในการดําเนินการตามแผน การวางแผนเปนการจัดลําดับ
แนวคิดหลักในการแกปญหา เมื่อจะลงมือดําเนินการตามแผน ผูเรียนตองตีความขยายความ นําแผนไปสู
การปฏิบัติอยางละเอียดชัดเจนตามลําดับขั้นตอน ซึ่งครูสามารถฝกฝนผูเรียนไดจากการทําแบบฝกหัด
นั่นเองโดยฝกใหผูเรียนวางแผนจัดลําดับแนวความคิดกอนแลวจึงลงมือแสดงวิธีหาคําตอบตามลําดับแนวคิด
นั้น นอกจากนี้ควรใหผูเรียนฝกตรวจสอบถึงความถูกตอง ความเปนไปไดของแผนที่วางไว อนจะลงมือทํา
                                                                                      ก
ตามแผน
                4. การพัฒนาความสามารถ ในการตรวจสอบขั้นตอนการตรวจสอบ ของการแกปญหา                ทาง
คณิตศาสตรครอบคลุมประเด็นสําคัญ 2 ประเด็นคือ การมองยอนกลับไปที่ขั้นตอนการแกปญหา เพื่อ
พิจารณาความถูกตองของกระบวนการและผลลัพธ ปรับปรุงและพัฒนาใหเหมาะสมยิ่งขึ้น อีก ประเด็น
หนึ่ง คือ การมองไปขางหนา เปนการใชประโยชนจากกระบวนการแกปญหาที่พึ่งสิ้นสุดลง การพัฒนา
ความสามารถในการตรวจสอบคําตอบของการแกปญหามีแนวทางดังนี้
                           4.1 กระตุนใหผูเรียนเห็นความสําคัญของการตรวจสอบคําตอบที่ได
ใหเคยชิน
                           4.2 ฝกใหผูเรียนคาดคะเนคําตอบ
                           4.3 ฝกการตีความหมายของคําตอบ
                           4.4 สนับสนุนใหผูเรียนทําแบบฝกหัด โดยใชวิธีการหาคําตอบ
มากกวา 1 วิธี
                           4.5 ใหผูเรียนฝกหัดสรางโจทยปญหาเกี่ยวกับปญหาที่เรียน
         แนวคิดในการจัดกิจกรรมการแกปญหาทางคณิตศาสตร
                           สิริพร (สิริพร ทิพยคง , 2545) และปรีชา (ปรีชา เนาวเย็นผล , 2537) มีแนวคิด
ในการจัดกิจกรรมการแกปญหาที่สอดคลองกันดังนี้
                           ในการจัดกิจกรรมการแกปญหาทางคณิตศาสตร ครูตองเตรียมตัวปญหาไวให
เพียงพอกับการจัดกิจกรรมโดยนํามาจากแหลงตางๆ เชน หนังสือ วารสาร ของเลนเละเกม ครูคิดและผลิต
ขึ้นเอง
                 ปญหาคณิตศาสตรที่ดีและเหมาะสมที่จะนํามาใหผูเรียนคิด มีลักษณะดังนี้
                           1. ทาทายความสามารถของผูเรียน
                           2. เหมาะกับวัยของผูเรียน
                           3. แปลกใหมสําหรับผูเรียน
                           4. มีวิธีหาคําตอบมากกวา 1 วิธี
                           5. มีการใชภาษาที่รัดกุม กระชับ ถูกตอง
                           ในกิจกรรมการแกปญหาทางคณิตศาสตร ครูตองปรับบทบาทของตนเองให
เหมาะกับความสามารถของผูเรียน สําหรับผูเรียนที่บทบาทไมดีนัก ครูควรมีบทบาทมากในดานการ
นําเสนอตัวอยาง เสนอความคิด สําหรับผูเรียนที่มีความสามารถสูงขึ้น บทบาทของครูจะเปลี่ยนไปเปนผู
ชี้แนะเปนที่ปรึกษา เปนผูจัดเตรียมปญหาคอยดูแลอํานวยความสะดวกใหแกผูเรียน

  2. ทักษะและกระบวนการใหเหตุผล
      การจัดการเรียนรูใหผูเรียนรูจักคิดและใหเหตุผลเปนสิ่งสําคัญ      (สิริพร ทิพยคง , 2545)   และ
องคประกอบที่ชวยสงเสริมใหผูเรียนรูจักคิดอยางมีเหตุผลและรูจักใหเหตุผลมีดังนี้
      1. ผูสอนควรใหผูเรียนไดพบเห็นโจทยหรือปญหา ที่ผูเรียนสนใจเปนปญหาที่ไมยากเกิน
ความสามารถของผูเรียนที่จะคิดและหาเหตุผลในการหาคําตอบได
2. ผูสอนควรใหผูเรียนมีโอกาสและเปนอิสระ ที่จะแสดงออกถึงความคิดเห็นในการใชและให
เหตุผลของตนเอง
         3. ผูสอนใหผูเรียนชวยกันสรุป แลวผูสอนชวยสรุปและชี้แจงใหผูเรียนเขาใจวาเหตุผลของผู เรียน
ถูกตองตามหลักเกณฑหรือไมมีขอบกพรองที่ไหน อยางไร นอกจากนี้ผูสอนควรกระตุนใหผูเรียน สนใจ
ผูเรียนมีโอกาสไดลงมือปฏิบัติ คําถามที่ใชควรกระตุนผูเรียนดวยคําวา ทําไม อยางไร เพราะเหตุ(หลักสูตร
                                                                                                 ใด
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544)

    3. ทักษะการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนําเสนอ
       การจัดการเรียนรูเพื่อใหเกิดทักษะการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ
ทําไดทุกเนื้อหา ที่ตองการใหคิดวิเคราะห สังเคราะห (หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน , 2544) เพื่อนําไปสู
การแกปญหา ซึ่งอาจจะนําเสนอขอมูลในรูปแบบแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแทง ตารางและกราฟ
                 สําหรับการจัดการเรียนรูที่ใหผูเรียนรูที่ใหผูเรียนเกิดทักษะการสื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร และการนําเสนอมีแนวทางในการดําเนินการดังนี้
                 3.1 กําหนดโจทยปญหาที่นาสนใจและเหมาะสมกับความสามารถของผูเรียน
                 3.2 ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติและแสดงความคิดเห็นดวยตนเอง โดยผูสอนชวยชี้แนะ ารฝก   ก
ทักษะกระบวนการควรทําอยางตอเนื่อง โดยสอดแทรกอยูทุกขั้นตอนของการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร
(กัญญา โพธิวัฒน , 2542) ใหผูเรียนคิดตลอดเวลาที่เห็นปญหาวา ทําไมจึงเปนเชนนั้น วิธีการใดที่จะใช
แกปญหา เขียนรูปภาพ ความสัมพันธของตัวแปรเปนอยางไร จะใชภาพ ตาราง หรือกราฟใดในการสื่อ
ความหมาย

   4. ทักษะและกระบวนการเชื่อมโยง
       การเชื่อมโยงระหวางเนื้อหาตางๆ ในวิชาคณิตศาสตรดวยกัน และการเชื่อมโยงระหวางคณิตศาสตรอื่นๆ
องคประกอบที่จะชวยในการพัฒนาทักษะกระบวนการนี้มีดังนี้
           4.1 มีความคิดรอบคอบทางคณิตศาสตรอยางเดนชัดในเรื่องนั้นๆ
           4.2 มีความรูในเนื้อหา ที่จะนําไปเชื่อมโยงกับสถานการณตางๆที่ตองการเปนอยางดี
           4.3 มีทักษะในการมองเห็นความเกี่ยวของระหวางความรู และทักษะ  /กระบวนการที่มีในเนื้อหานั้นกับ
งานที่เกี่ยวของ
           4.4 มีทักษะในการสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร เพื่อสรางความสัมพันธระหวางคณิตศาสตร   กับ
ศาสตรอื่น ๆ
           4.5 มีความเขาใจในการแปลความหมายของคําตอบที่หาไดจากแบบจําลองทางคณิตศาสตร วามี
ความเปนไปไดหรือสอดคลองกับสถานการณนั้นๆ อยางสมเหตุสมผล
ทักษะการเชื่อมโยงมีความสําคัญ เพราะจะชวยใหผูเรียนเขาใจเนื้อหาใหมมากขึ้น จึงจําเปน อยาง
ยิ่งที่ผูสอนควรคํานึงและหากิจกรรมเชื่อมโยงกอนที่จะเสนอเนื้อหาใหม ลลภา อารีรัตน, 2545)
                                                                      (วั

       5. ความคิดสรางสรรค
         ความคิดสรางสรรคเปนการใชกระบวนการคิด (สิริพร ทิพยคง, 2545) การจินตนาการ เพื่อนําไปสู
การคิดคนสิ่งประดิษฐที่แปลกใหมที่คนอื่นๆ คิดไมถึง หรือมองขามการคิดสรางสรรค จึงคิดไดหลากหลาย
กวางไกล อาจเกิดจากความคิดอยางผสมผสานเชื่อมโยงกันระหวางความคิดใหม ๆ กับประสบการณเดิม
ทําใหเกิดสิ่งใหมที่จะชวยแกปญหา อุษณีย (อุษณีย โพธสุข , 2542) กลาววา “ ความคิดสรางสรรค เปน
กระบวนการทางปญญา ที่ใชความสามารถทางกระบวนการคิดระดับสูงหลายอยาง นเพื่อสรางสรรคสิ่ง
                                                                                มารวมกั
ใหมหรือแกปญหาที่มีอยูไดดีขึ้น และความคิดสรางสรรคมี4 ลักษณะ คือ
                                  ”
            5.1 ความคิดคลองตัว (Fluency) มีคําตอบที่ตรงประเด็นคําถามมากกวาในเวลาที่จํากัด
           5.2 ความยืดหยุน (Flexibility) คิดไดหลายทางไมยึดติดกับแนวคิดอันใดอันหนึ่ง
           5.3 ความคิดแปลกใหม (Originality) คิดใหมที่ไมซ้ําของเดิมที่มีอยู
           5.4 ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) สามารถเห็นรายละเอียด หรือแงมุมที่คนอื่นคิดไมถึงหรือไม
สังเกต
               บรรยากาศที่ชวยสงเสริมความคิดสรางสรรคไดแกการเปดโอกาสใหผูเรียนคิดและนํา เสนอ
แนวคิดของตนเองอยางอิสระภายใตการใหคําปรึกษาและแนะนําจากผูสอน การจัดกิจกรรมการเรียควรเริ่ม      นรู
จากการนําเสนอปญหาที่นาสนใจ เหมาะสมกับวัยของผูเรียน ทาทายความคิด ใหผูเรียนไดรวมกันแกปญหา
แสดงความคิดเห็น รวมกันอภิปรายทําใหไดแนวคิดในการแกปญหาที่สมบูรณและหลากหลาย ริพร ทิพย  (สิ
คง, 2545)
                   การจัดการเรียนรูที่จะใหเกิดความคิดสรางสรรค
                   ในการจัดการเรียนรูที่จะใหเกิดความคิดสรางสรรค อุษณีย โพธิ์สุขและ สิริพร ทิพยคได
                                                                                                       ง
เสนอแนวทางที่ควรคํานึงไวสอดคลองกันดังนี้
                   1. การเสนอปญหาใหผูเรียนคิด
                   2. การกระตุนใหผูเรียนระดมความคิดในการแกปญหา ดังนั้น ทักษะการแกปญหาควร
ไดรับการฝกฝน
                   การเกิดความคิดใหมเมื่อผูเรียนศึกษาและคิดอยางสม่ําเสมอผูเรียนจะเกิดแนวคิด ของ
ตนเองขึ้นในขณะที่เรียนผูสอนควรใหคิดอยางอิสระไมจํากัดรูปแบบใหผูเรียนแสดงความคิดเห็น โอกาส  ให
ในการซักถามขอสงสัยตางๆ ผูสอนมีหนาที่ชี้แนะสงเสริมใหแสดงความคิดเห็น ถึงแมจะไมตรงประเด็น
สรางบรรยากาศสงเสริมการคิด ไมแสดงทาทางดูถูก เขมงวด ลงโทษ เมื่อความคิดของผูเรียนนั้นแตกตาง
ไป แตผูสอนควรสงเสริมแรง ใหกําลังใจโดยการกลาวคําชมเชย ตลอดจนจัดกิจกรรมที่สงเสริมความคิด
ริเริ่มสรางสรรคใหกับผูเรียน
จากที่กลาวมาสรุปไดวาทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตรเปนสิ่งที่สามารถฝกฝนให
เกิดขึ้นไดกับผูเรียนทุกคน ในการจัดการเรียนรูผูสอนจึงควรใหความสําคัญและเปดโอกาสใหผูเรียไดฝก
                                                                                               น
ทักษะ/กระบวนการตางๆ ทุกครั้งที่จัดกิจกรรมการเรียนใหแกผูเรียน ซึ่งในแตละครั้งอาจจะฝกทักไดไมครบ
                                                                                              ษะ
ทุกทักษะ/กระบวนการ แตถาฝกบอยๆก็จะชวยใหผูเรียน พัฒนา ทักษะ /กระบวนการทางคณิตศาสตรได

งานวิจัยที่เกี่ยวของ
    ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนที่เนนทักษะกระบวนการแกปญหา
 สลิลทิพย ชําปฏิ (           2547) ไดศึกษาสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติในการเรียนวิชาคณิตศาสตรของ
นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปที่ 2 ที่ไดรับการสอนตามรูปแบบที่เนนกระบวนการ พบวา
กลุมเปาหมายรอยละ 100 มีผลสัมฤทธิ์ผานเกณฑรอยละ 60 ของคะแนนการทดสอบ และนักศึกษามีเจตคิตอ
รายวิชาคณิตศาสตรอยูในระดับเห็นดวย
 ศิริมาส ศรีลําดวน (            2546) ไดประเมินกระบวนการทางคณิตศาสตรซึ่งไดแก
กระบวนการพิสูจนใหเหตุผล กระบวนการนําเสนอและกระบวนการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปที่ 6 โรงเรียนปาไมงามโนนนาดีประชานุกุล สังกัดสํานักงานประถมศึกษาจังหวัดหนองบัวลําพู จํานวน
2 กลุมๆละ 4 คน ซึ่งมีผลสัมฤทธิ์แตกตางกัน จากการวิจัยพบวา 1) ปญหาปลายเปดเปนเครื่องมือที่
เหมาะสมกับการประเมินกระบวนการทางคณิตศาสตรของนักเรียน 2) วิธีวิเคราะหโคโตบอลเปนทางเลือก
หนึ่งในการวิจัยเพื่อวิเคราะหกระบวนการทางคณิตศาสตรของนักเรียน 3) กระบวนทางคณิตศาสตร ทั้ง 3
ที่ศึกษามีความสัมพันธในระดับเลือกและสงผลกระทบตอกันในระหวางที่นักเรียนแกปญหาปลายเปด ซึ่ง
สงผลโดยตรงตอบทบาทของสมาชิกในกลุมและระดับความเขาใจคณิตศาสตรเปนผลมาจากรูปแบบการ
พิสูจนใหเหตุผลของนักเรียน
 บุญนํา ไชยมิ่ง (           2545) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 3 ที่ไดรับการสอนที่เนนกระบวนการและเปรียบเทียบเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรของ
นักเรียนกอนและหลังจากไดรับการสอน โดยใชรูปแบบการวิจัย One Test Pretest – Postest Design
ผลการวิจัยพบวา นักเรียนกลุมเปาหมายมีคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากที่ไดรับการ
สอนที่เนนกระบวนการ หลังเรียนสูงกวากอนเรียนและมีนักเรียนผานเกณฑรอยละ 60 ของนักเรียน
ทั้งหมด เจตคติทางบวกตอวิชาคณิตศาสตรทั้งกอนและหลังเรียน โดยมีเจตคติอยูในระดับเห็นดวย
 จากงานวิจัยที่กลาวมาขางตนจะเห็นวา การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนทักษะ       /กระบวนการ
แกปญหา ทําใหนักเรียนมีความสามารถในระดับปานกลางมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและสามารถ
พัฒนาเจตคติความวิตกกังวล ความเชื่อมั่นในตนเอง นอกจากนี้ชวยใหครูผูสอนวิชาคณิตศาสตรได
พัฒนาการสอนและมีความเชื่อมั่นในตนเองเพิ่มขึ้น

More Related Content

What's hot

วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบSunisa Khaisaeng
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีMuhamadkamae Masae
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 

What's hot (17)

วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
 
การสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัยการสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัย
 
4 mat
4 mat4 mat
4 mat
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 

Viewers also liked

คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรJiraprapa Suwannajak
 
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)SAKANAN ANANTASOOK
 
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
มายากลแห่งเลขฐาน
มายากลแห่งเลขฐานมายากลแห่งเลขฐาน
มายากลแห่งเลขฐานJiraprapa Suwannajak
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการJirathorn Buenglee
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข krurutsamee
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์Jirathorn Buenglee
 
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLการจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLnapadon2
 
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติsiriyakorn saratho
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์Pop Punkum
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนananphar
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Viewers also liked (20)

คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไร
 
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษวารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
 
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
 
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
 
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
 
มายากลแห่งเลขฐาน
มายากลแห่งเลขฐานมายากลแห่งเลขฐาน
มายากลแห่งเลขฐาน
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการ
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLการจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
 
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
แบบรูป1
แบบรูป1แบบรูป1
แบบรูป1
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 

Similar to บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์

นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 

Similar to บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์ (20)

นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
04chap2
04chap204chap2
04chap2
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
Metacognition
MetacognitionMetacognition
Metacognition
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การวิจัย เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง เศษสวน ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 สอนโดยใชกระบวนการแกปญหา โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ตามลําดับตอไปนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระ การเรียนรูคณิตศาสตร ชวงชั้นที่ 2 2. จิตวิทยาและทฤษฎีการเรียนรูเกี่ยวกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร 3. เอกสารดานกระบวนการคณิตศาสตร 4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 5. กรอบแนวคิดในการวิจัย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรชวงชั้นที่ 2 สาระที่เปนองคความรูของกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ประกอบดวย สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ สาระที่ 2 การวัด สาระที่ 3 เรขาคณิต สาระที่ 4 พีชคณิต สาระที่ 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 : เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวน ในชีวิตจริง มาตรฐาน ค 1.2 : เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวางการ ดําเนินการตาง ๆ และสามารถใชการดําเนินการในการแกปญหาได มาตรฐาน ค 1.3 : ใชการประมาณคาในการคํานวณและแกปญหาได มาตรฐาน ค 1.4 : เขาใจในระบบจํานวนและสามารถนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใชได สาระที่ 2 การวัด มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 2
  • 2. มาตรฐาน ค 2.1 : เขาใจเกี่ยวกับพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด มาตรฐาน ค 2.2 : วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัดได มาตรฐาน ค 2.3 : แกปญหาเกี่ยวกับการวัดได สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 2 มาตรฐาน ค 3.1 : อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติได มาตรฐาน ค 3.2 :ใชการนึกภาพ (visualization) ใชเหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช แบบจําลองทางเรขาคณิต ( geometric model ) ในการแกปญหาได สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 2 มาตรฐาน ค 4.1 : อธิบายและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธ และฟงกชัน ตาง ๆได วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธของแบบรูปที่กําหนดใหได มาตรฐาน ค 4.2 : ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และแบบจําลองทางคณิตศาสตรอื่น ๆ แทน สถานการณตาง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใชแกปญหาได สาระที่ 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน มาตรฐาน ค 5.1 : เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูลได มาตรฐาน ค 5. 2 : ใชวิธีการทางสถิติและความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยาง สมเหตุสมผล มาตรฐาน ค 5. 3 :ใชความรูเกี่ยวกับสถิติและความนาจะเปนชวยในการตัดสินและแกปญหาได สาระที่ 6 กระบวนการทางคณิตศาสตร มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแกปญหา มาตรฐาน ค 6. 2 : มีความสามารถในการใหเหตุผล สามารถแสดงเหตุผลโดยการอางอิงความรู ขอมูล หรือขอเท็จจริง หรือสรางแผนภาพ มาตรฐาน ค 6. 3 : มีความสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการ นําเสนอใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนําเสนอไดอยางถูกตอง และเหมาะสม มาตรฐาน ค 6.4 : มีความสามารถในการเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ ได มาตรฐาน ค 6. 5 : มีความคิดริเริ่มสรางสรรคมีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการทํางาน คุณภาพของผูเรียนเมื่อจบชวงชั้นที่ 2 ( ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – 6 ) เมื่อผูเรียนจบการเรียนชวงชั้นที่ 2 ผูเรียนควรจะมีความสามารถดังนี้
  • 3. 1. มีความรูความเขาใจและความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับจํานวนนับและศูนย เศษสวน ทศนิยมไมเกินสามตําแหนง รอยละ การดําเนินการของจํานวน สมบัติเกี่ยวกับจํานวน สามารถแกปญหา เกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนนับ เศษสวน ทศนิยมไมเกินสามตําแหนง และรอยละ พรอมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได สามารถหาคาประมาณของจํานวนนับและทศนิยม ไมเกินสามตําแหนงได � 2. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ําหนัก พื้นที่ ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิศ แผนผัง และขนาดของมุม สามารถวัดไดอยางถูกตองและเหมาะสม และนําความรูเกี่ยวกับการวัดไปใช แกปญหาในสถานการณตาง ๆ ได 3. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูป วงกลมทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ปริซึม พีระมิด มุม และเสนขนาน � 4. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับแบบรูปและอธิบายความสัมพันธได แกปญหาเกี่ยวกับแบบ รูป สามารถวิเคราะหสถานการณหรือปญหาพรอมทั้งเขียนใหอยูในรูปของสมการเชิงเสนที่มีตัวไมทราบคา หนึ่งตัวและแกสมการนั้นไดรวบรวมขอมูล อภิปรายประเด็นตาง ๆ จากแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแทง แผนภูมิแทงเปรียบเทียบ แผนภูมิรูปวงกลม กราฟเสน และตาราง และนําเสนอขอมูลในรูปของแผนภูมิ รูปภาพแผนภูมิแทง แผนภูมิแทงเปรียบเทียบ และกราฟเสน ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนเบื้องตนใน การคาดคะเนการเกิดขึ้นของเหตุการณตาง ๆ ได � 5. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและ เทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและ สรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและเหมาะสม เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ในคณิตศาสตรและเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค จิตวิทยาและทฤษฎีการเรียนรูเกี่ยวกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร เปยเจย (Jean Piaget) นักจิตวิทยาพัฒนาชาวสวิสตไดเสนอแนวคิดที่วาพัฒนาการของเด็กตั้งแต แรกเกิดจนถึงวัยผูใหญจะแบงออกเปน 4 ระยะ (สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี, 2538) คือ 1) ระยะใชประสาทสัมผัส (Sensory-Motor Stage) เปนการพัฒนาการเด็กตั้งแตแรกเกิดจนถึง อายุ 2 ป ในวัยนี้เด็กจะเริ่มพัฒนาการรับรูโดยใชประสาทสัมผัสตาง ๆ เชน ตา หู มือ และเทา ตลอดจน เริ่มมีการพัฒนาการใชอวัยวะตาง ๆได เชน การฝกหยิบจับสิ่งของตาง ๆ ฝกการไดยิน และการมอง 2) ระยะควบคุมอวัยวะตาง ๆ(Proporational Stage) เปนการพัฒนาของเด็กตั้งแตอายุ2-4 ป เด็ก วัยนี้จะเริ่มพัฒนาอยางเปนระบบมากขึ้นมีการพัฒนาของสมอง ที่ใชควบคุมพัฒนาลักษณะนิสัย และการ ทํางานของอวัยวะตางๆ เชน นิสัยการขับถาย นอกจากนี้ยังมีการฝกการใชอวัยวะตาง ๆ ให มีความสัมพันธ
  • 4. กันภายใตการควบคุมของสมอง เชน การเลนกีฬาพื้นฐานเดิมไมพอ ที่จะรับความคิดรวบยอดใหมครู จะตองสอนซอมเสริมในเรื่องเดิมกอน ทั้งนี้เพราะเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร มีลักษณะเปนบันไดเวียน ซึ่ง ลักษณะนี้จะชวยสรางความเขาใจเกากับใหมใหตอเนื่องกันไดเปนอยางดี 3) เกี่ยวกับการประเมินศักยภาพทางสติปญญานั้นพิจารณาจากลําดับขั้น ัฒนาการของเด็ก เชน พ เด็กมีอายุอยูในขั้นปฏิบัติการคิดดวยรูปธรรม แตสามารถคิดในสิ่งที่เปนนามธรรม เหมือนเด็ก ในขั้น ปฏิบัติการคิดดวยนามธรรมได ก็แสดงวาเด็กคนนั้นมีพัฒนาการทางพัฒนาการทางสติปญญากาวหนา มากกวาปกติในทางตรงกันขามหากเด็กคนนั้นไมสามารถคิดยอนกลับไดเหมือนเด็กคนอื่นๆ ในชั้นเดียวกัน เราก็อาจสรุปไดวาเด็กคนนั้นมีพัฒนาการทางสติปญญาชากวาปกติ 4) ในดานการประเมินผลการเรียน องคํานึงถึงพัฒนาการทางสติปญญา ต และการคิดเด็กแตละวัยเชน ถาอยูในขั้นประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวก็ควรวัดผลจากการกระทําหรือกิจกรรมทางกลไกซึ่งตรงกัน ขามกับการวัดผลของเด็กในขั้นปฏิบัติการคิดดวยนามธรรม ซึ่งตองวัดการใชเหตุผลที่ลึกซึ้งขึ้น จากที่กลาวมาทั้งหมดแสดงใหเห็นวาในการสอนนักเรียนในระดับประถมศึกษาควรใหผูเรียไดลง น มือปฏิบัติใหพบกับปญหาและใชความคิดในการแกปญหาโดยใชสื่อรูปธรรมกอน แลวนักเรียนจะเกิดมโน มติทางคณิตศาสตรนักเรียนสรางขึ้นเองจากการกระทําจากสื่อรูปธรรม จากขอมูลที่กลาวมาจะเห็นวา ทฤษฎีพัฒนาการทางปญญาของเพียเจตเปนทฤษฎีที่ศึกษา แยกแยะองคประกอบที่สงผลตอพัฒนาการทางปญญาของมนุษยจากขั้นพื้นฐานไปสูขซึ่งประกอบดวย ารคิด ั้นสูง ก เชิงเหตุผล การจําเชิงเหตุผล การคิดเชิงมโนมติ และการรูคิด ซึ่งมีขอสรุปที่สําคัญดังนี้ 1) พัฒนาการทางปญญาเกิดจากการกระทํากิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย 2) ขอขัดแยงทางปญญา กอใหเกิดสภาวะไมสมดุลเปนแรงจูงใจที่ทําใหเกิดการกระทําอันจะ กอใหเกิดพัฒนาการทางปญญา 3) พัฒนาการทางปญญาของบุคคลจะเปนไปตามลําดับขั้น ไมมีการกระโดดขามขั้นหรือสลับ ลําดับกันได บุญทัน อยูชมบุญ (2529 : 24-25) กลาววาการสอนคณิตศาสตรในชั้นประถมศึกษามีหลักที่ควร พิจารณาเพื่อเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู กิจกรรมที่จัดขึ้นนั้นตองมุงสนอง ความตองการ ความสนใจ ความสามารถของนักเรียนแตละคนเปนหลัก หลักการสอนมีดังนี้ 1. สอนโดยคํานึงถึงความพรอมของเด็ก คือ พรอมทั้งในดานรางกาย อารมณ สติปญญา และความพรอมในแงความรูพื้นฐานที่มาตอเนื่องกับความรูใหมโดยครูตองมีการทบทวน ความรูเดิมกอน เพื่อใหประสบการณใหมตอเนื่องกัน จะชวยใหนักเรียนเกิดความเขาใจมองเห็น ความสัมพันธของสิ่งที่เรียนไดดี 2. การจัดกิจกรรมการสอนตองจัดใหเหมาะสมกับวัย ความตองการ ความสนใจและความสามารถของเด็ก เพื่อมิใหเกิดปญหาตามมาภายหลัง 3. คํานึงความแตกตางระหวางบุคคล โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตรเปนวิชา
  • 5. ที่ครูจําเปนตองคํานึงถึงใหมากกวาวิชาอื่น ในแงความสามารถทางสติปญญา 4. การเตรียมความพรอมทางคณิตศาสตรใหนักเรียนเปนรายบุคคลหรือ รายกลุมเพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนรู ชวยใหนักเรียนมีความพรอมตามวัย และความสามารถของแตละคน 5. วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่มีระบบที่ตองเรียนไปตามลําดับขั้นการสอน เพื่อสรางความเขาใจในระยะเริ่มแรกจะตองมีประสบการณที่งาย ๆ ไมซับซอนสิ่งที่ไมเกี่ยวของและทํา ใหเกิดความสับสนจะตองไมนํามาในกระบวนการเรียนการสอน การสอนจะเปนไปตามลําดับขั้นตอน ที่วางไว 6. การสอนจะตองมีจุดประสงคที่แนนอนวาจัดกิจกรรมเพื่อสนองจุดประสงคอะไร 7. เวลาที่ใชในการสอนควรจะใชระยะเวลาพอสมควร ไมนานจนเกินไป 8. ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการยืดหยุนไดใหเด็ก ไดมีโอกาส เลือกกิจกรรมไดตามความสนใจ ความถนัดของตนและใหอิสระในการทํางานของเด็ก สิ่งสําคัญประการ หนึ่ง คือการปลูกฝงเจตคติที่ดีตอเด็กในการเรียนคณิตศาสตรถาเกิดขึ้นจะชวยใหเด็กพอใจในการเรียนวิชานี้ เห็นประโยชนและคุณคายอมจะสนใจมากขึ้น 9. การสอนที่ดีควรเปดโอกาสใหนักเรียนมีการวางแผนรวมกับครู เพราะ จะชวยใหครูเกิดความมั่นใจในการสอนและเปนไปตามความพอใจของนักเรียน 10. การสอนคณิตศาสตรจะดีถาเด็กมีโอกาสไดทํางานรวมกัน หรือมีสวนรวมในการคนควา สรุปหลักเกณฑตาง ๆ 11. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควรสนุกสนานไปพรอมกับ ภาวการณเรียนรูดวย จึงจะสรางบรรยากาศที่นาติดตามตอไปแกเด็ก 12. นักเรียนระดับประถมศึกษาที่อยูในระหวางอายุ 6-12 ป จะเรียนไดดี เมื่อเริ่มเรียนโดยครูใชของจริง อุปกรณ ซึ่งเปนรูปธรรมตามลําดับ จะชวยใหนักเรียนรูดวยความเขาใจมิใช การจําเชนการสอนในอดีตที่ผานมา ทําใหเห็นวาวิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่งายตอการเรียนรู 13. การประเมินผลการเรียนการสอนเปนกระบวนการตอเนื่อง และ เปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอน ครูควรใชวิธีการสังเกต การตรวจแบบฝกหัด การสอบถามเปนเครื่องมือใหการวัดผล จะชวยใหครูทราบขอบกพรองของนักเรียน และการสอนของตน 14. ไมควรจํากัดวิธีคิดคํานวณหาคําตอบของเด็ก ควรแนะนําวิธีคิด ที่รวดเร็วและแมนยําใหในภายหลัง 15. ฝกใหนักเรียนเช็คคําตอบดวยตนเอง โสภณ บํารุงสงฆ (2530 : 22-23) ไดกลาวถึงทฤษฎีการสอนคณิตศาสตรที่สําคัญไวคือ
  • 6. 1. ทฤษฎีการฝกฝน ทฤษฎีนี้เนนฝกฝนใหทําแบบฝกหัดมาก ๆ ซ้ํา ๆ จนกวาเด็กจะเคยชิน กับวิธีการนั้น เพราะเชื่อวาวิธีการดังกลาวทําใหผูเรียนเรียนรูคณิตศาสตรได ฉะนั้นการสอนของครูจึง เริ่มตนโดยครูใหตัวอยาง บอกสูตรบอกกฎเกณฑ แลวใหนักเรียนฝกฝนทําแบบฝกหัดมาก ๆ จนชํานาญ นักการศึกษาปจจุบันยังยอมรับวา การฝกฝนมีความจําเปนในการสอนคณิตศาสตรซึ่งเปนวิชาทักษะ แต ทฤษฎีนี้ยังมีขอบกพรองหลายประการคือ 1.1 นักเรียนตองจดจํา ทองกฎเกณฑ สูตร ที่ยุงยาก 1.2 นักเรียนไมจดจําขอเท็จจริงตาง ๆ ที่เรียนมาไดหมด 1.3 นักเรียนไมไดเรียนอยางเขาใจ จึงเกิดความลําบาก สับสนในการคิดคํานวณ การแกปญหาและลืมสิ่งที่เรียนไดงาย 2. ทฤษฎีการเรียนรูโดยบังเอิญ ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา เด็กจะเรียนรูไดดีก็ตอเมื่อมีความตองการ หรืออยากรูเรื่องใดเรื่องหนึ่งเกิดขึ้นฉะนั้น กิจกรรมการเรียนการสอนจะตองจัดขึ้นจากเหตุการณที่เกิดขึ้น นั้น เกิดขึ้นในโรงเรียนหรือชุมชนซึ่งนักเรียนไดประสบกับตนเอง สวนขอบกพรองทางทฤษฎีนี้ คือ เหตุการณที่เหมาะสมในการจัดการเรียนรู ไมไดเกิดขึ้นบอยดังนั้นการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีนี้ จะตอง ไมเกิดผล 3. ทฤษฎีแหงความหมาย ทฤษฎีนี้เนนตระหนักวาการคิดคํานวณกับการเปนอยูในสังคมของเด็ก เปนหัวใจสําคัญของการเรียนการสอนคณิตศาสตร และเชื่อวานักเรียนจะเรียนรูและเขาใจสิ่งที่เรียนไดดี เมื่อไดเรียนสิ่งที่มีความหมายตอตนเอง และเปนเรื่องที่นักเรียนไดพบเห็นและปฏิบัติในสังคมประจําวันของ นักเรียน ในการสอนตามทฤษฎีแหงความหมาย มีขอเสนอแนะดังนี้ 3.1 การสอนเรื่องใหมแตละครั้ง ควรใชของจริงประกอบการสอนเพื่อใหนักเรียน มองเห็นขั้นตอนตาง ๆ อยางแจมแจง 3.2 ใหโอกาสนักเรียนไดแสดงวิธีการคิดคํานวณของนักเรียนเอง และควรให นักเรียนชี้ใหเห็นความยาก ตลอดจนขอแตกตางระหวางเรื่องที่เรียนใหมกับเรื่องที่เรียนมาแลว 3.3 ใหนักเรียนไดใชความหมายของตนเองในการคนหาคําตอบ โดยใชความรูที่ มีอยูเปนเครื่องมือในการคิด 3.4 ควรใชโสตทัศนูปกรณประกอบการสอนในขั้นตอนตาง ๆ 3.5 ใหนักเรียนทําแบบฝกหัดที่เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนใหม พรอมทั้งอธิบายถึง วิธีการคิดคํานวณและวิธีการตรวจคําตอบดวย 3.6 การฝกฝนใหเกิดทักษะนั้นเปนสิ่งที่ตองการ แตควรฝกหลังจากที่นักเรียน เขาใจวิธีนั้น ๆ เปนอยางดีแลว 3.7 ควรสอนซ้ําในเรื่องที่นักเรียนไมเขาใจจนกวานักเรียนเขาใจและทําไดถูกตอง 3.8 ควรใหนักเรียนนําความรูที่ไดเรียนมาแลวไปใชในชีวิตประจําวัน
  • 7. 3.9 ใหนักเรียนทําแบบฝกหัดอยูเสมอ เพื่อเปนการฝกทักษะในเรื่อง ที่เรียนมาแลว จะเห็นไดวาในการเรียนการสอนกลุมสาระคณิตศาสตร ใหไดรับความสําเร็จตาม จุดมุงหมายของหลักสูตร มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นนั้น ครูตองนําทฤษฎีการสอนคณิตศาสตรมาใช ใหเหมาะสมกับผูเรียน ยุพิน พิพิธกุล. (2530 : 49-50) ไดสรุปหลักการสอนคณิตศาสตรไว ดังนี้ 1. ควรสอนจากเรื่องงายไปสูเรื่องยาก 2. เปลี่ยนจากรูปธรรมไปนามธรรม 3. สอนใหสัมพันธกับความคิด เมื่อครูจะทบทวนเรื่องใด ก็ควรจะทบทวน ใหรวบรวมเรื่องที่เหมือนกันเขาเปนหมวดหมู 4. เปลี่ยนวิธีการสอนไมซ้ําซอนนาเบื่อหนาย ครูควรสอนใหสนุกสนาน และนาสนใจ 5. ใชความสนใจของนักเรียนเปนจุดเริ่มตน เปนแรงดลใจที่จะเรียน 6. สอนใหผานประสาทสัมผัส ครูอยาพูดเฉย ๆ โดยไมใหเห็นตัวอักษร 7. ควรจะคํานึงถึงประสบการณเดิมและทักษะเดิมที่นักเรียนมีอยู 8. เริ่มสัมพันธกันก็ควรสอนไปพรอมกัน 9. ใหนักเรียนมองเห็นโครงสรางไมใชเนนแตเนื้อหา 10. ไมควรเปนเรื่องยากเกินไป 11. สอนใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดหรือมโนมติ 12. ใหนักเรียนลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ทําได 13. ครูควรมีอารมณขัน เพื่อชวยใหบรรยากาศในหองเรียนนาเรียนยิ่งขึ้น 14. ครูควรมีความกระตือรือรน และตื่นตัวอยูเสมอ 15. ครูควรหมั่นแสวงหาความรูเพิ่มเติม เพื่อที่จะนําสิ่งแปลกและมา ถายทอดใหผูเรียนจากที่นักการศึกษาไดกลาวมาขางตน จะเห็นไดวาหลักการในการสอนคณิตศาสตรเปน สิ่งสําคัญมากของครูผูสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการเรียนรูจะประสบผลสําเร็จก็ตอเมื่อผูสอนหรือผูจัด กิจกรรมมีหลักการที่ดี มีเทคนิคที่ดี ตลอดรูจักทฤษฎีในการสอน จึง จะทําใหสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับผูเรียนไดบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว เอกสารดานกระบวนการคณิตศาสตร แนวทางการพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร 1. ทักษะและกระบวนการแกปญหา
  • 8. ในชีวิตประจําวันของมนุษยตองเผชิญกับปญหาตาง ๆ มากมาย มนุษยตองมีความสามารถใน การ แกปญหา (ปรีชา เนาวเย็นผล, 2537) เพื่อใหสามารถปรับตัวอยูในสังคมได การแกปญหาเปนหัวใจ ของการ เรียนรูคณิตศาสตร(สิริพร ทิพยคง, 2545) เพราะในการแกปญหาผูเรียนตองใชความคิดรวบยอด ทักษะการคิด คํานวณ หลักการ กฎ หรือสูตร แตผูเรียนสวนใหญมักไมประสบผลสําเร็จเนื่องจากผูเรียน มีปญหาในเรื่อง ทักษะการอาน การทําความเขาใจโจทยและการวิเคราะหโจทยในการเริ่มตนพัฒนาผูเรียน ใหมีทักษะ /การ กระบวนการแกปญหา ผูสอนจะตองสรางพื้นฐานใหผูเรียนเกิดความคุนเคยกับทักษะ/กระบวนการแกปญหา ซึ่งมีอยู 4 ขั้นตอนดังนี้ 1.1. การทําความเขาใจปญหาหรือวิเคราะหปญหา ผูเรียนตองแยกแยะวาโจทยกําหนดอะไร มาให โจทยตองการใหหาอะไร หรือโจทยถามอะไร หรือโจทยตองการใหพิสูจนอะไร 1.2. การวางแผนการแกปญหา เปนขั้นตอนสําคัญที่สุด ซึ่งผูเรียนตองอาศัยทักษะในการ นําความรู หลักการ กฎ สูตร หรือทฤษฎีที่เรียนรูแลวมาใช เชน การเขียนภาพลายเสน การเขียนตาราง แผนภาพ ชวยในการแกปญหา บางครั้งในบางปญหาอาจใชทักษะการะประมาณคา การคาดเดาคําตอบ มา ประกอบดวย 1.3. การดําเนินการแกปญหาตามแผนที่ไดวางไว ซึ่งอาจใชทักษะการคิดคํานวณ หรือการ ดําเนินการทางคณิตศาสตร การพิสูจน 1.4. การตรวจสอบหรือการมองยอนกลับ วามีวิธีการอื่นในการหาคําตอบหรือไม ตลอดจน การพิจารณาหาความสมเหตุสมผลในการหาคําตอบ กระบวนการแกปญหาทางคณิตศาสตร(ปรีชา เนาวเย็นผล, 2537) ประกอบดวยขั้นตอนที่สําคัญ 4 ขั้นตอนคือ 1. ขั้นทําความเขาใจปญหา เปนการมองไปที่ตัวปญหา พิจารณาวาปญหา ตองการอะไร ปญหากําหนดอะไรใหบาง มีสาระความรูใดที่เกี่ยวของบาง คําตอบของปญหาจะอยูใน รูปแบบใด การทําความเขาใจปญหาอาจใชวิธีการตางๆ ชวย เชน การเขียนรูป การเขียนแผนภูมิ การ เขียนสาระของปญหาดวยถอยคําของตนเอง 2. ขั้นวางแผน เปนขั้นตอนสําคัญที่จะตองพิจารณาวาจะแกปญหาดวยวิธีใด จะแก อยางไร ปญหาที่กําหนดใหนี้มีความสัมพันธกับปญหาที่เคยมีประสบการณในการแกมากอนหรือไม ขั้นวางแผน เปนขั้นตอนที่ผูแกปญหา พิจารณาความสัมพันธของสิ่งตางๆในปญหา ผสมผสานกับ ประสบการณในการแกปญหาที่ผูแกปญหามีอยู กําหนดแนวทางในการแกปญหา 3. ขั้นดําเนินการตามแผน เปนขั้นตอนที่ลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว โดยเริ่ม จากการตรวจสอบความเปนไปไดของแผน เพิ่มเติมรายละเอียดตางๆ ของแผนใหชัดเจนแลวลงมือปฏิบัติ จนกระทั่งสามารถหาคําตอบไดหรือคนพบวิธีการแกปญหาใหม 4. ขั้นตรวจสอบ เปนขั้นตอนที่ผูแกปญหามองยอนกลับไปที่ขั้นตอนตางๆ ที่ผานมา เพื่อ พิจารณาความถูกตองของคําตอบและวิธีการแกปญหา มีวิธีแกปญหาอยางอื่นอีกหรือไม พิจารณาปรับปรุง
  • 9. แกไขวิธีแกปญหาใหกะทัดรัด ชัดเจน เหมาะสมขึ้นกวาเดิม ขั้นตอนนี้ครอบคลุมถึงการมองไปขางหนาโดย ใชประโยชนจากวิธีการแกปญหาที่ผานมา ขยายแนวคิดในการแกปญหาใหกวางขวางขึ้นกวาเดิม ยุทธวิธีในการแกปญหาที่ใชในระดับประถมศึกษา เปนยุทธวิธีเขียนภาพ แผนภูมิ และ สรางแบบจําลองซึ่งสอดคลองกับสถานการณของปญหา ชวยใหปญหามีความแจมชัดขึ้น ชวยใหผูแกปญหา ทําความเขาใจกับปญหาไดรวดเร็วถูกตอง ทําใหเกิดแนวความคิดในการวางแผนแกปญหา ปญหาบางปญหา เชน ปญหาเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตนอกจากจะใช การเขียนภาพเพื่อสราง ความเขาใจแลว ในขั้นวางแผนและดําเนินการตามแผน สามารถใชยุทธวิธีการเขียนภาพชวยในการ แกปญหา ปญหาบางปญหาสามารถแกไขไดโดยใชยุทธวิธีเขียนแผนภูมิซึ่งกระทําไดในสองแนวทางคือใช เพื่อแจกแจงกรณีที่เปนไปได และใชเพื่อแสดงสาระสําคัญของปญหา ปญหาบางปญหาสามารถสรางแบบจําลอง เพื่อแสดงสถานการณของปญหา ซึ่งมี ความ เปนรูปธรรมมากกวาการเขียนภาพ และเขียนแผนภูมิ จากนั้นกําหนดแนวทางในการแกปญหา และ ดําเนินการแกปญหาจากแบบจําลองที่สรางขึ้นนั้น การพัฒนาทักษะและความสามารถในการแกปญหา การพัฒนาความสามารถในการแกปญหา เมื่อพิจารณาตามขั้นตอนการแกปญหา 4 ขั้น ของโพยา ( กรมวิชาการ, 2537 อางถึงใน ทองลา ศรีแกว, 2547) มีแนวทางดังนี้ 1. การพัฒนาความสามารถในการแกปญหา ผูเรียนควรไดรับการฝกฝนใหอานขอความ าน อ ปญหา แลวทําความเขาใจโดยอาจเริ่มจากการตั้งคําถามใหผูเรียนตอบตอไปใหผูเรียนฝกทําความ เขาใจเอง โดยอาจใชกลวิธีชวยเพิ่มพูนความเขาใจ เชน การเขียนภาพ การสรางแบบจําลอง การปรับเปลี่ยนขนาดของ ปริมาณตางๆ ของปญหา การยกตัวอยางที่สอดคลองกับปญหา 2. การพัฒนาความสามารถในการวางแผนแกปญหาในการทํากิจกรรมตางๆ ฝกให ผูเรียน วางแผนกอนการลงมือทําเสมอ เชน ในการทําแบบฝกหัด ควรใหผูเรียนวางแผนการคิดแบบคราวๆ นลงมือ กอ ทําอยางละเอียดชัดเจน ครูตองไมบอกวิธีการแกปญหากับผูเรียนโดยตรง แตควรใชคําถามใหผูเรียนคิด วิธีการแกปญหาไดดวยตนเอง นอกจากนี้ควรคิดปญหาแปลกใหมมาใหผูเรียนคิดเสมอ 3. การพัฒนาความสามารถในการดําเนินการตามแผน การวางแผนเปนการจัดลําดับ แนวคิดหลักในการแกปญหา เมื่อจะลงมือดําเนินการตามแผน ผูเรียนตองตีความขยายความ นําแผนไปสู การปฏิบัติอยางละเอียดชัดเจนตามลําดับขั้นตอน ซึ่งครูสามารถฝกฝนผูเรียนไดจากการทําแบบฝกหัด นั่นเองโดยฝกใหผูเรียนวางแผนจัดลําดับแนวความคิดกอนแลวจึงลงมือแสดงวิธีหาคําตอบตามลําดับแนวคิด นั้น นอกจากนี้ควรใหผูเรียนฝกตรวจสอบถึงความถูกตอง ความเปนไปไดของแผนที่วางไว อนจะลงมือทํา ก ตามแผน 4. การพัฒนาความสามารถ ในการตรวจสอบขั้นตอนการตรวจสอบ ของการแกปญหา ทาง คณิตศาสตรครอบคลุมประเด็นสําคัญ 2 ประเด็นคือ การมองยอนกลับไปที่ขั้นตอนการแกปญหา เพื่อ พิจารณาความถูกตองของกระบวนการและผลลัพธ ปรับปรุงและพัฒนาใหเหมาะสมยิ่งขึ้น อีก ประเด็น
  • 10. หนึ่ง คือ การมองไปขางหนา เปนการใชประโยชนจากกระบวนการแกปญหาที่พึ่งสิ้นสุดลง การพัฒนา ความสามารถในการตรวจสอบคําตอบของการแกปญหามีแนวทางดังนี้ 4.1 กระตุนใหผูเรียนเห็นความสําคัญของการตรวจสอบคําตอบที่ได ใหเคยชิน 4.2 ฝกใหผูเรียนคาดคะเนคําตอบ 4.3 ฝกการตีความหมายของคําตอบ 4.4 สนับสนุนใหผูเรียนทําแบบฝกหัด โดยใชวิธีการหาคําตอบ มากกวา 1 วิธี 4.5 ใหผูเรียนฝกหัดสรางโจทยปญหาเกี่ยวกับปญหาที่เรียน แนวคิดในการจัดกิจกรรมการแกปญหาทางคณิตศาสตร สิริพร (สิริพร ทิพยคง , 2545) และปรีชา (ปรีชา เนาวเย็นผล , 2537) มีแนวคิด ในการจัดกิจกรรมการแกปญหาที่สอดคลองกันดังนี้ ในการจัดกิจกรรมการแกปญหาทางคณิตศาสตร ครูตองเตรียมตัวปญหาไวให เพียงพอกับการจัดกิจกรรมโดยนํามาจากแหลงตางๆ เชน หนังสือ วารสาร ของเลนเละเกม ครูคิดและผลิต ขึ้นเอง ปญหาคณิตศาสตรที่ดีและเหมาะสมที่จะนํามาใหผูเรียนคิด มีลักษณะดังนี้ 1. ทาทายความสามารถของผูเรียน 2. เหมาะกับวัยของผูเรียน 3. แปลกใหมสําหรับผูเรียน 4. มีวิธีหาคําตอบมากกวา 1 วิธี 5. มีการใชภาษาที่รัดกุม กระชับ ถูกตอง ในกิจกรรมการแกปญหาทางคณิตศาสตร ครูตองปรับบทบาทของตนเองให เหมาะกับความสามารถของผูเรียน สําหรับผูเรียนที่บทบาทไมดีนัก ครูควรมีบทบาทมากในดานการ นําเสนอตัวอยาง เสนอความคิด สําหรับผูเรียนที่มีความสามารถสูงขึ้น บทบาทของครูจะเปลี่ยนไปเปนผู ชี้แนะเปนที่ปรึกษา เปนผูจัดเตรียมปญหาคอยดูแลอํานวยความสะดวกใหแกผูเรียน 2. ทักษะและกระบวนการใหเหตุผล การจัดการเรียนรูใหผูเรียนรูจักคิดและใหเหตุผลเปนสิ่งสําคัญ (สิริพร ทิพยคง , 2545) และ องคประกอบที่ชวยสงเสริมใหผูเรียนรูจักคิดอยางมีเหตุผลและรูจักใหเหตุผลมีดังนี้ 1. ผูสอนควรใหผูเรียนไดพบเห็นโจทยหรือปญหา ที่ผูเรียนสนใจเปนปญหาที่ไมยากเกิน ความสามารถของผูเรียนที่จะคิดและหาเหตุผลในการหาคําตอบได
  • 11. 2. ผูสอนควรใหผูเรียนมีโอกาสและเปนอิสระ ที่จะแสดงออกถึงความคิดเห็นในการใชและให เหตุผลของตนเอง 3. ผูสอนใหผูเรียนชวยกันสรุป แลวผูสอนชวยสรุปและชี้แจงใหผูเรียนเขาใจวาเหตุผลของผู เรียน ถูกตองตามหลักเกณฑหรือไมมีขอบกพรองที่ไหน อยางไร นอกจากนี้ผูสอนควรกระตุนใหผูเรียน สนใจ ผูเรียนมีโอกาสไดลงมือปฏิบัติ คําถามที่ใชควรกระตุนผูเรียนดวยคําวา ทําไม อยางไร เพราะเหตุ(หลักสูตร ใด การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544) 3. ทักษะการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนําเสนอ การจัดการเรียนรูเพื่อใหเกิดทักษะการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ ทําไดทุกเนื้อหา ที่ตองการใหคิดวิเคราะห สังเคราะห (หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน , 2544) เพื่อนําไปสู การแกปญหา ซึ่งอาจจะนําเสนอขอมูลในรูปแบบแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแทง ตารางและกราฟ สําหรับการจัดการเรียนรูที่ใหผูเรียนรูที่ใหผูเรียนเกิดทักษะการสื่อสาร การสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร และการนําเสนอมีแนวทางในการดําเนินการดังนี้ 3.1 กําหนดโจทยปญหาที่นาสนใจและเหมาะสมกับความสามารถของผูเรียน 3.2 ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติและแสดงความคิดเห็นดวยตนเอง โดยผูสอนชวยชี้แนะ ารฝก ก ทักษะกระบวนการควรทําอยางตอเนื่อง โดยสอดแทรกอยูทุกขั้นตอนของการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร (กัญญา โพธิวัฒน , 2542) ใหผูเรียนคิดตลอดเวลาที่เห็นปญหาวา ทําไมจึงเปนเชนนั้น วิธีการใดที่จะใช แกปญหา เขียนรูปภาพ ความสัมพันธของตัวแปรเปนอยางไร จะใชภาพ ตาราง หรือกราฟใดในการสื่อ ความหมาย 4. ทักษะและกระบวนการเชื่อมโยง การเชื่อมโยงระหวางเนื้อหาตางๆ ในวิชาคณิตศาสตรดวยกัน และการเชื่อมโยงระหวางคณิตศาสตรอื่นๆ องคประกอบที่จะชวยในการพัฒนาทักษะกระบวนการนี้มีดังนี้ 4.1 มีความคิดรอบคอบทางคณิตศาสตรอยางเดนชัดในเรื่องนั้นๆ 4.2 มีความรูในเนื้อหา ที่จะนําไปเชื่อมโยงกับสถานการณตางๆที่ตองการเปนอยางดี 4.3 มีทักษะในการมองเห็นความเกี่ยวของระหวางความรู และทักษะ /กระบวนการที่มีในเนื้อหานั้นกับ งานที่เกี่ยวของ 4.4 มีทักษะในการสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร เพื่อสรางความสัมพันธระหวางคณิตศาสตร กับ ศาสตรอื่น ๆ 4.5 มีความเขาใจในการแปลความหมายของคําตอบที่หาไดจากแบบจําลองทางคณิตศาสตร วามี ความเปนไปไดหรือสอดคลองกับสถานการณนั้นๆ อยางสมเหตุสมผล
  • 12. ทักษะการเชื่อมโยงมีความสําคัญ เพราะจะชวยใหผูเรียนเขาใจเนื้อหาใหมมากขึ้น จึงจําเปน อยาง ยิ่งที่ผูสอนควรคํานึงและหากิจกรรมเชื่อมโยงกอนที่จะเสนอเนื้อหาใหม ลลภา อารีรัตน, 2545) (วั 5. ความคิดสรางสรรค ความคิดสรางสรรคเปนการใชกระบวนการคิด (สิริพร ทิพยคง, 2545) การจินตนาการ เพื่อนําไปสู การคิดคนสิ่งประดิษฐที่แปลกใหมที่คนอื่นๆ คิดไมถึง หรือมองขามการคิดสรางสรรค จึงคิดไดหลากหลาย กวางไกล อาจเกิดจากความคิดอยางผสมผสานเชื่อมโยงกันระหวางความคิดใหม ๆ กับประสบการณเดิม ทําใหเกิดสิ่งใหมที่จะชวยแกปญหา อุษณีย (อุษณีย โพธสุข , 2542) กลาววา “ ความคิดสรางสรรค เปน กระบวนการทางปญญา ที่ใชความสามารถทางกระบวนการคิดระดับสูงหลายอยาง นเพื่อสรางสรรคสิ่ง มารวมกั ใหมหรือแกปญหาที่มีอยูไดดีขึ้น และความคิดสรางสรรคมี4 ลักษณะ คือ ” 5.1 ความคิดคลองตัว (Fluency) มีคําตอบที่ตรงประเด็นคําถามมากกวาในเวลาที่จํากัด 5.2 ความยืดหยุน (Flexibility) คิดไดหลายทางไมยึดติดกับแนวคิดอันใดอันหนึ่ง 5.3 ความคิดแปลกใหม (Originality) คิดใหมที่ไมซ้ําของเดิมที่มีอยู 5.4 ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) สามารถเห็นรายละเอียด หรือแงมุมที่คนอื่นคิดไมถึงหรือไม สังเกต บรรยากาศที่ชวยสงเสริมความคิดสรางสรรคไดแกการเปดโอกาสใหผูเรียนคิดและนํา เสนอ แนวคิดของตนเองอยางอิสระภายใตการใหคําปรึกษาและแนะนําจากผูสอน การจัดกิจกรรมการเรียควรเริ่ม นรู จากการนําเสนอปญหาที่นาสนใจ เหมาะสมกับวัยของผูเรียน ทาทายความคิด ใหผูเรียนไดรวมกันแกปญหา แสดงความคิดเห็น รวมกันอภิปรายทําใหไดแนวคิดในการแกปญหาที่สมบูรณและหลากหลาย ริพร ทิพย (สิ คง, 2545) การจัดการเรียนรูที่จะใหเกิดความคิดสรางสรรค ในการจัดการเรียนรูที่จะใหเกิดความคิดสรางสรรค อุษณีย โพธิ์สุขและ สิริพร ทิพยคได ง เสนอแนวทางที่ควรคํานึงไวสอดคลองกันดังนี้ 1. การเสนอปญหาใหผูเรียนคิด 2. การกระตุนใหผูเรียนระดมความคิดในการแกปญหา ดังนั้น ทักษะการแกปญหาควร ไดรับการฝกฝน การเกิดความคิดใหมเมื่อผูเรียนศึกษาและคิดอยางสม่ําเสมอผูเรียนจะเกิดแนวคิด ของ ตนเองขึ้นในขณะที่เรียนผูสอนควรใหคิดอยางอิสระไมจํากัดรูปแบบใหผูเรียนแสดงความคิดเห็น โอกาส ให ในการซักถามขอสงสัยตางๆ ผูสอนมีหนาที่ชี้แนะสงเสริมใหแสดงความคิดเห็น ถึงแมจะไมตรงประเด็น สรางบรรยากาศสงเสริมการคิด ไมแสดงทาทางดูถูก เขมงวด ลงโทษ เมื่อความคิดของผูเรียนนั้นแตกตาง ไป แตผูสอนควรสงเสริมแรง ใหกําลังใจโดยการกลาวคําชมเชย ตลอดจนจัดกิจกรรมที่สงเสริมความคิด ริเริ่มสรางสรรคใหกับผูเรียน
  • 13. จากที่กลาวมาสรุปไดวาทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตรเปนสิ่งที่สามารถฝกฝนให เกิดขึ้นไดกับผูเรียนทุกคน ในการจัดการเรียนรูผูสอนจึงควรใหความสําคัญและเปดโอกาสใหผูเรียไดฝก น ทักษะ/กระบวนการตางๆ ทุกครั้งที่จัดกิจกรรมการเรียนใหแกผูเรียน ซึ่งในแตละครั้งอาจจะฝกทักไดไมครบ ษะ ทุกทักษะ/กระบวนการ แตถาฝกบอยๆก็จะชวยใหผูเรียน พัฒนา ทักษะ /กระบวนการทางคณิตศาสตรได งานวิจัยที่เกี่ยวของ ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนที่เนนทักษะกระบวนการแกปญหา สลิลทิพย ชําปฏิ ( 2547) ไดศึกษาสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติในการเรียนวิชาคณิตศาสตรของ นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปที่ 2 ที่ไดรับการสอนตามรูปแบบที่เนนกระบวนการ พบวา กลุมเปาหมายรอยละ 100 มีผลสัมฤทธิ์ผานเกณฑรอยละ 60 ของคะแนนการทดสอบ และนักศึกษามีเจตคิตอ รายวิชาคณิตศาสตรอยูในระดับเห็นดวย ศิริมาส ศรีลําดวน ( 2546) ไดประเมินกระบวนการทางคณิตศาสตรซึ่งไดแก กระบวนการพิสูจนใหเหตุผล กระบวนการนําเสนอและกระบวนการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 6 โรงเรียนปาไมงามโนนนาดีประชานุกุล สังกัดสํานักงานประถมศึกษาจังหวัดหนองบัวลําพู จํานวน 2 กลุมๆละ 4 คน ซึ่งมีผลสัมฤทธิ์แตกตางกัน จากการวิจัยพบวา 1) ปญหาปลายเปดเปนเครื่องมือที่ เหมาะสมกับการประเมินกระบวนการทางคณิตศาสตรของนักเรียน 2) วิธีวิเคราะหโคโตบอลเปนทางเลือก หนึ่งในการวิจัยเพื่อวิเคราะหกระบวนการทางคณิตศาสตรของนักเรียน 3) กระบวนทางคณิตศาสตร ทั้ง 3 ที่ศึกษามีความสัมพันธในระดับเลือกและสงผลกระทบตอกันในระหวางที่นักเรียนแกปญหาปลายเปด ซึ่ง สงผลโดยตรงตอบทบาทของสมาชิกในกลุมและระดับความเขาใจคณิตศาสตรเปนผลมาจากรูปแบบการ พิสูจนใหเหตุผลของนักเรียน บุญนํา ไชยมิ่ง ( 2545) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 ที่ไดรับการสอนที่เนนกระบวนการและเปรียบเทียบเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรของ นักเรียนกอนและหลังจากไดรับการสอน โดยใชรูปแบบการวิจัย One Test Pretest – Postest Design ผลการวิจัยพบวา นักเรียนกลุมเปาหมายมีคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากที่ไดรับการ สอนที่เนนกระบวนการ หลังเรียนสูงกวากอนเรียนและมีนักเรียนผานเกณฑรอยละ 60 ของนักเรียน ทั้งหมด เจตคติทางบวกตอวิชาคณิตศาสตรทั้งกอนและหลังเรียน โดยมีเจตคติอยูในระดับเห็นดวย จากงานวิจัยที่กลาวมาขางตนจะเห็นวา การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนทักษะ /กระบวนการ แกปญหา ทําใหนักเรียนมีความสามารถในระดับปานกลางมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและสามารถ พัฒนาเจตคติความวิตกกังวล ความเชื่อมั่นในตนเอง นอกจากนี้ชวยใหครูผูสอนวิชาคณิตศาสตรได พัฒนาการสอนและมีความเชื่อมั่นในตนเองเพิ่มขึ้น