SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
โครงการ
การจัดการประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐาน
สมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล
(Digital Literacy)
ด้วยเครื่องมือคอมพิวเตอร์สากล
(IC3 Digital Literacy Certification)
สนับสนุนโครงการ
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)
บริหารโครงการโดย
บริษัท เออาร์ไอที จากัด
1. ที่มาและความสาคัญ
ตามที่ รัฐบาลได้วางแผนแม่บท ยุทธศาสตร์ และมาตรการทั้งด้านเศรษฐกิจ กฎหมายและโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้บรรลุ
วิสัยทัศน์ชาติ แต่ทุกอย่างจะไม่สามารถบรรลุผลสาเร็จ เช่น การพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม 4.0 เศรษฐกิจ 4.0 และประเทศไทย
4.0 ได้ หากไม่เริ่มจากการพัฒนาคนให้พร้อมรับความท้าทายในหลายมิติและสามารถสนับสนุนการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
ของประเทศในทุกด้าน โดยระบบคุณวุฒิวิชาชีพเป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาทุนมนุษย์ตามยุทธศาสตร์ชาติด้านการ
เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในสังคม รวมถึงการสร้างความ
เข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
บริษัท เออาร์ไอที จากัด ได้รับมอบหมายจาก สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) ให้ดาเนินการจัดประเมิน
สมรรถนะด้าน Digital Literacy ด้วยเครื่องมือระดับมาตรฐานสากลโดยการใช้ชุดข้อสอบ IC3 Digital Literacy Certification
ในโมดูล Computing Fundamental และโมดูล Key Application ให้กับนักเรียน นักศึกษา โดยไม่มีค่าใช้จ่าย เพื่อเป็นการ
สร้างโอกาสในการเข้าถึงเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานสากล สร้างความรู้และทักษะด้าน Digital Literacy เพื่อเตรียมความพร้อม
ให้กับกลุ่มเป้าหมายก้าวเข้าสู่ THAILAND 4.0 อย่างมีคุณภาพต่อไป
2. ความสาคัญของการมีสมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล
2.1 เพื่อการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้สอดคล้องกับการขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่ THAILAND 4.0 ตามนโยบายของ
รัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ตามแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สาหรับการพัฒนาความสามารถด้าน
การใช้ดิจิทัล (Digital Literacy)
2.2 เพิ่มสมรรถนะในอาชีพที่มีผลให้บุคคลนาไปประยุกต์ใช้เพื่อการประกอบอาชีพในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ ได้ในทุกภาค
ส่วนทั้ง ภาครัฐ นักเรียน นักศึกษา ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป
2.3 เพื่อพัฒนากาลังแรงงานของประเทศในการส่งเสริมให้ประเทศไทยเข้าสู่ THAILAND 4.0
3. มาตรฐานสมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล
สมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัลของบุคคลภายใต้โครงการฯ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ดังต่อไปนี้
กลุ่มที่ 1 ทักษะขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ผู้ที่ผ่านการทดสอบเกี่ยวกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ การใช้งานอินเทอร์เน็ต และการใช้
งานเพื่อความปลอดภัย โดยเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ดิจิทัล การใช้งานอุปกรณ์ไอทีและติดต่อสื่อสารบนสื่อ
อินเทอร์เน็ต รวมทั้งรู้จักและเข้าใช้บริการพื้นฐานและทาธุรกรรมออนไลน์ขั้นต้นได้
กลุ่มที่ 2 ทักษะขั้นต้นสาหรับการทางาน ได้แก่ ผู้ที่ผ่านการทดสอบเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมประมวลผลคา การใช้
โปรแกรมตารางคานวณ และการใช้โปรแกรมนาเสนอโดยเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้งานเครื่องมือด้านดิจิทัลหรือ
แอปพลิเคชันขั้นต้นสาหรับการทางาน
4. การรับรองระดับมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล
ระดับที่ 1 การเข้าสู่มาตรฐานสมรรถนะความสามารถ ด้านการใช้ดิจิทัล ที่มีทักษะขั้นพื้นฐาน โดยผู้เข้ารับการทดสอบได้
ผ่านการทดสอบตามที่กาหนดในกลุ่มที่ 1
ระดับที่ 2 การเข้าสู่มาตรฐานสมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัลที่มีทักษะขั้นต้นสาหรับการทางาน โดยผู้เข้ารับ
การทดสอบได้ผ่านการทดสอบตามที่กาหนดในกลุ่มที่ 1 และ กลุ่มที่ 2
5. การทดสอบสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล
กลุ่มที่ 1 ผู้เข้ารับการทดสอบต้องผ่านการทดสอบ ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
 การทดสอบเกี่ยวกับการใช้งานฮาร์ดแวร์ งานระบบปฏิบัติการ การจัดการข้อมูล การสารองข้อมูล การใช้งาน
อุปกรณ์เคลื่อนที่ และการใช้งานคลาวด์คอมพิวติ้ง
 การใช้งานเว็บบราวเซอร์สืบค้นข้อมูล การใช้งานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การใช้งานปฏิทิน การใช้งานสื่อ
สังคม การใช้งานโปรแกรมการสื่อสาร และการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
 การใช้บัญชีรายชื่อบุคคล การป้องกันภัยคุกคาม การป้องกันมัลแวร์ การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย และ
การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างถูกต้อง
กลุ่มที่ 2 ผู้เข้ารับการทดสอบต้องผ่านการทดสอบ ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
 การทดสอบเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมประมวลผลคาการจัดการงานเอกสารการจัดรูปแบบข้อความ การ
จัดการกับย่อหน้าในเอกสาร การแทรกวัตถุลงบนงานเอกสาร การจัดรูปแบบเอกสารและการพิมพ์เอกสาร
รวมทั้งการตรวจทานงานเอกสาร
 การใช้งานโปรแกรมตารางคานวณ การจัดการตารางคานวณ การปรับแต่งข้อมูลในแผ่นงาน การจัดรูปแบบ
ข้อมูลในแผ่นงาน การพิมพ์แผ่นงานการใช้สูตรฟังก์ชันเพื่อการคานวณการแทรกวัตถุลงบนแผ่นงานรวมทั้ง
การป้องกันแผ่นงาน
 การใช้งานโปรแกรมงานนาเสนอการจัดการงานนาเสนอ การใช้งานข้อความบนสไลด์ การแทรกวัตถุลงบน
งานนาเสนอ การกาหนดการเคลื่อนไหว
6. เครื่องมือประเมินความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล : IC3 Digital Literacy Certification
6.1 IC3 Digital Literacy Certification คือ ประกาศนียบัตรรับรองความรู้ ความสามารถ ในการใช้คอมพิวเตอร์
พื้นฐาน ประกอบด้วย ด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์, ด้านโปรแกรมสานักงานสาเร็จรูป และด้านเครือข่าย กับ
อินเทอร์เน็ตพื้นฐาน ซึ่งเป็นทักษะที่มีความจาเป็น และเป็นพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
ประกาศนียบัตร IC3 ได้รับการรับรองมาตรฐานจากองค์กรที่มีความน่าเชื่อถือ และเป็นประกาศนียบัตรพื้นฐานสู่
การสอบใบประกาศนียบัตรเฉพาะด้านในระดับสูงต่อไป
 ลิงค์ข้อมูล IC3 Digital Literacy Certification จากหน่วยงานต่างประเทศ เพิ่มเติม :
https://certiport.pearsonvue.com/Certifications/IC3/Digital-Literacy-Certification/Overview
 ลิงค์ข้อมูล IC3 Digital Literacy Certification จากหน่วยงานในประเทศ เพิ่มเติม :
https://www.arit.co.th/th/certificate/ic3
6.2 การรับรองมาตรฐาน IC3 Digital Literacy Certification : IC3 Digital Literacy Certification ถูกกาหนด
มาตรฐานที่เป็น Neutral Vendor Standard จากองค์กรที่กาหนดมาตรฐานด้านความรู้พื้นฐานด้านดิจิตอลอย่าง
เป็นสากลหลากหลายองค์กร ได้แก่
องค์กรที่รับรอง ภารกิจและหน้าที่ขององค์กร
American Council On Education เป็นหน่วยงานที่ประสานงาน
หลักทั้งหมดของสถาบันอุดมศึกษา ที่เป็นตัวแทนของวิทยาลัย และ
มหาวิทยาลัย กว่า 1,600 แห่ง และมากกว่า 200 สมาคม ที่เกี่ยวข้องทั่ว
ประเทศ พยายามที่จะเป็นผู้นาและทาให้เท่าเทียมกันในประเด็นเรื่อง
การศึกษา และอิทธิพลในเรื่องนโยบายสาธารณะผ่านการสนับสนุนวิจัย
และการริเริ่มโครงการ
The Global Digital Literacy Council คือ องค์กรที่พัฒนาและ
กาหนดมาตรฐานความรู้พื้นฐานทางด้านดิจิตอลในระดับโลกอย่างเป็น
สากล มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการสร้างความมั่นใจในมาตรฐานความรู้
การรายงานข้อมูลข่าวสารของโลกดิจิตอลว่า มีความสอดคล้องกับองค์กร
การศึกษา การพัฒนาแรงงาน รัฐบาลและบุคคลหรือไม่
CompTIA เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรขนาดใหญ่ ระดับสากล และ
ได้รับความไว้วางใจจากผู้เชี่ยวชาญด้าน ICT และบริษัททั่วโลก เป็นผู้นา
ในด้านมาตรฐานสากล และเป็นผู้ให้การรับรองทักษะด้าน ICT ที่เป็น
กลาง ไม่อิงผลิตภัณฑ์ และมีมาตรฐาน ISO 17024
ISTE100 เป็นองค์กรระดับมืออาชีพที่ไม่แสวงหาผลกาไรที่มุ่งมั่นส่งเสริม
ในการใช้งานที่เหมาะสมของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุน และ
ปรับปรุงการเรียนรู้ การเรียนการสอน รวมถึงการบริหาร และการจัดการ
ด้านการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา และการศึกษาของครูผู้สอน
National Coalition of Certification Centers (NC3) เครือข่ายที่มี
ความร่วมมือกับ พันธมิตรในอุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษาต่างๆ
เพื่อส่งเสริมให้ผู้คนตระหนักถึงความสาคัญของการใช้งานเทคโนโลยี โดย
เครือข่าย NC3 ตระหนักถึงความสาคัญของความรู้ดิจิตอลในการทางาน
และให้การยอมรับ IC3 Digital Literacy ว่าจะผู้ผ่านการรับรองจาก IC3
เป็นผู้ที่มีประสิทธิภาพ และสร้างผลลัพธ์ในการทางานได้ดีมากขึ้น
SkillsUSA เป็นหน่วยงานที่ดาเนินการจัดการแข่งขันทักษะทางด้าน
วิชาชีพขั้นพื้นฐานที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีการแข่งขันครอบคลุมทุก
สายอาชีพกว่า 99 กลุ่มอาชีพ โดยมีนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันมากกว่า
350,000 คน ในทุกๆปี และสาหรับสายวิชาชีพทางด้านไอที SkillUSA ได้
องค์กรที่รับรอง ภารกิจและหน้าที่ขององค์กร
ให้การรับรองว่า IC3 คือประกาศนียบัตรขั้นพื้นฐานที่เหมาะสาหรับวัด
มาตรฐานทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์
6.3 IC3 Digital Literacy Certification ภายใต้โครงการฯ ประกอบไปด้วยองค์ความรู้ 2 ด้าน ได้แก่
 เข้าถึงและตระหนักดิจิทัล (Computing Fundamentals) : ทดสอบความรู้ด้านคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ทั้ง
ด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการ การใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง และความ
ปลอดภัย
 การรู้ดิจิทัลขั้นพื้นฐาน (Key Applications) : ทดสอบความรู้ด้านการใช้งานโปรแกรมสาเร็จรูป ได้แก่
Word Processing, Spreadsheet, Presentation, Database และการใช้แอพพลิเคชั่นที่เป็นที่นิยม
6.4 วัตถุประสงค์การสอบมาตรฐานสากล IC3 Digital Literacy Certification
โมดูล Computing Fundament และโมดูล Key Application มีเนื้อหาการสอบ ดังนี้
การรับรองระดับมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล
ระดับที่ 1 เข้าถึงและตระหนักดิจิทัล
(Computing Fundamental)
การรับรองระดับมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล
ระดับที่ 2 การรู้ดิจิทัลขั้นพื้นฐาน
(Key Application)
1. อุปกรณ์เคลื่อนที่
• การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่
• การใช้งาน Voicemail
• การส่งและประโยชน์ของ SMS
• การแจ้งเตือน (Notifications)
2. ฮาร์ดแวร์
• ประเภทของอุปกรณ์ต่าง ๆ
• อุปกรณ์เก็บข้อมูล
• อุปกรณ์เครือข่าย
• การเชื่อมต่อแบบ Wi-Fi
• Platforms
• ความเข้ากันได้ของอุปกรณ์
• อินเทอร์เน็ต
• การตั้งค่าอุปกรณ์
3. สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ
(OS) และการอัพเดต
• การตั้งค่าพื้นฐาน
• การบริหารจัดการไฟล์
• เครื่องมือ navigation
• การติดตั้งซอฟต์แวร์
1.คาสั่งพื้นฐาน
• การสร้าง Shortcuts
• การใช้คาสั่ง Reviewing
• การใช้คาสั่ง Cut/Copy/Paste
• การใช้คาสั่งมุมมอง (Views)
2. การใช้โปรแกรม Word Processing
• การจัดรูปแบบ (Formatting)
• การจัดเค้าโครง (Layout)
• การจัดการตัวอักษร (Fonts)
• การสั่งพิมพ์ (Printing)
• การสร้างตาราง (Tables)
• ประโยชน์ ของโปรแกรม MS Word
3. การใช้โปรแกรม Spreadsheet
• พื้นฐานการทางานในโปรแกรม
• การแทรก การลบ ข้อมูลใน Worksheets
• การแก้ไขข้อมูลที่อยู่ในเซล
• การใช้ฟังก์ชัน หรือ ฟอร์มูล่า
• การสร้างแผนภูมิ (Charts)
• การจัดรูปแบบ และการจัดการข้อมูล
• การสร้างตาราง (Tables)
4. การใช้โปรแกรม Database
การรับรองระดับมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล
ระดับที่ 1 เข้าถึงและตระหนักดิจิทัล
(Computing Fundamental)
การรับรองระดับมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล
ระดับที่ 2 การรู้ดิจิทัลขั้นพื้นฐาน
(Key Application)
• การแก้ไขปัญหา
4. การสารองและการกู้คืนข้อมูล
5. การแชร์ไฟล์
6. เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง
• ภาพรวม (Concepts)
• ประโยชน์ของเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง
• เทคโนโลยี Web apps
7. ความปลอดภัย
• Credentials
• Browsing
• โปรแกรม Anti-virus
• Firewalls
• การใช้งานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e Commerce)
อย่างปลอดภัย
• ภาพรวมพื้นฐานในเรื่องฐานข้อมูล
• ข้อมูลคาอธิบายข้อมูล (Metadata)
5. การใช้โปรแกรม Presentation
• ประเภทของไฟล์
• การใช้คาสั่งมุมมอง (View)
• การจัดการสไลด์
• การใส่ Effect
• การใช้คาสั่ง Animations
• การใช้คาสั่ง Design
6. แอพพลิเคชั่นที่เป็นที่นิยม App Culture
• ประเภทการใช้งาน
• การดาวน์โหลดแอปมาใช้งาน
7.การแก้ไขภาพ (Graphic Modification)
6.5 การได้รับใบรับรอง
 ต้องมีเกณฑ์การสอบผ่านแต่ละระดับร้อยละ 70
 ผู้ประเมินที่สอบผ่านจะได้รับใบรับรอง และใบประกาศนียบัตร 2 หน่วยงาน ดังนี้
 ใบรับรองความรู้ (Credential) ระดับมาตรฐานสากล
 สอบผ่านระดับที่ 1 จะได้รับใบรับรอง Computing Fundament
 สอบผ่านระดับที่ 2 จะได้รับใบรับรอง Key Application
 ประกาศนียบัตรของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)
 กรณีสอบผ่านตั้งแต่ระดับที่ 1 เป็นต้นไป
ตัวอย่างใบรับรองความรู้ (Credential)
โมดูล Computing Fundamental
ตัวอย่างใบรับรองความรู้ (Credential)
โมดูล Key Application
ประกาศนียบัตรมาตรฐานสมรรถนะการใช้
ดิจิทัล (Digital Literacy)
7. เป้าหมายโครงการฯ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา และหลักฐานการขอรับการสนับสนุน
7.1 เป้าหมายโครงการ
บริษัท เออาร์ไอที จากัด ดาเนินการจัดประเมินสมรรถนะด้าน Digital Literacy ด้วยเครื่องมือมาตรฐานสากล
IC3 Digital Literacy Certification ในโมดูล Computing Fundamental และโมดูล Key Application ใหักับ
นักเรียน นักศึกษา
7.2 กลุ่มเป้าหมาย
 นักเรียน หรือ นักศึกษา
 สถาบันการศึกษาละไม่เกิน 100 คน
7.3 หลักฐานการขอรับการสนับสนุน
 สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน และสาเนาบัตรนักเรียน หรือ นักศึกษา
หมายเหตุ ผู้สมัครเข้ารับการทดสอบจะต้องมีเอกสารสาเนาทั้ง 2 ส่วน จึงจะมีสิทธิขอรับการสนับสนุนได้
8. วิธีการเข้าร่วมโครงการ
8.1 หน้าที่ของ สถาบันการศึกษา
1) สถาบันการศึกษา ส่งหนังสือแสดงเจตจานงในการจัดประเมินสมรรถนะด้าน Digital Literacy (ตามตัวอย่าง)
มายังบริษัทฯ
2) สถาบันการศึกษา ทาการระบุวัน เวลา และรูปแบบในการจัดประเมินฯ
3) สถาบันการศึกษา จัดเตรียมห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ให้เพียงพอต่อจานวนนักเรียน หรือนักศึกษา ที่เข้ารับการประเมินฯ
4) สถาบันการศึกษา นานักเรียน หรือนักศึกษา ลงทะเบียนในระบบของบริษัทฯ รวมถึงจัดเตรียมเอกสาร
สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน สาเนาบัตรนักเรียน หรือบัตรนักศึกษา โดยจัดส่งเป็นไฟล์มายังบริษัทฯ
8.2 หน้าที่ของ บริษัท เออาร์ไอที จากัด
1) บริษัทฯ จัดส่งวิทยากร และเจ้าหน้าที่ เพื่อเตรียมความพร้อมของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการประเมินก่อนการจัด
ประเมินล่วงหน้า 1 วัน
2) บริษัทฯ จัดส่งวิทยากร ให้เพียงพอต่อการประเมินของนักเรียน หรือนักศึกษา ระยะเวลา 1 วัน (แนะนาการสอบ
ครึ่งวัน และทาการสอบครึ่งวัน)
3) บริษัทฯ ดาเนินการจัดส่งผลการประเมินฯ ของนักเรียน หรือนักศึกษา ให้ทางสถาบันการศึกษา หลังจากเสร็จสิ้น
การประเมินฯ ประมาณ 2 สัปดาห์
9. ค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมโครงการ
โครงการการทดสอบสมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) ด้วยข้อสอบมาตรฐานสากล
IC3 Digital Literacy Certification ในโมดูล Computing Fundamental และ โดมูล Key Application เป็นโครงการ
ที่ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจาก สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) สถาบันการศึกษาไม่เสียค่าใช้จ่ายในการ
เข้าร่วมโครงการฯ
10. รายละเอียดเพิ่มเติม
1) สถาบันการศึกษาที่สนใจเข้าร่วมโครงการสามารถเลือกได้ว่าต้องการประเมินสมรรถนะด้าน Digital Literacy
ดังนี้
 ประเมินแบบไม่มีค่าใช้จ่าย โมดูล Computing Fundamental, Key Application
ระยะเวลา 1 วัน
(แนะนาการสอบครึ่งวัน และทาการสอบครึ่งวัน)
หมายเหตุ : อาหารว่าง และอาหารกลางวันของนักเรียน หรือนักศึกษา เป็นความรับผิดชอบของทางสถาบันการศึกษา
11. ผู้รับผิดชอบโครงการ
บริษัท เออาร์ไอที จากัด
เลขที่ 900/2 อาคารเอสวีโอเอ ชั้น 5 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120
โทร 02 682 6350 ต่อ 543 - 544 เว็บไซต์ www.arit.co.th
12. ผู้ดูแลโครงการ
นายศาสตรา นะรารัมย์
โทร 087-444-5526
E-mail sastran@ar.co.th Line : sastranararam

More Related Content

Featured

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

รายละเอียดการสอบประเมิน Digital Literacy

  • 1. โครงการ การจัดการประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐาน สมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) ด้วยเครื่องมือคอมพิวเตอร์สากล (IC3 Digital Literacy Certification) สนับสนุนโครงการ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) บริหารโครงการโดย บริษัท เออาร์ไอที จากัด
  • 2. 1. ที่มาและความสาคัญ ตามที่ รัฐบาลได้วางแผนแม่บท ยุทธศาสตร์ และมาตรการทั้งด้านเศรษฐกิจ กฎหมายและโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้บรรลุ วิสัยทัศน์ชาติ แต่ทุกอย่างจะไม่สามารถบรรลุผลสาเร็จ เช่น การพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม 4.0 เศรษฐกิจ 4.0 และประเทศไทย 4.0 ได้ หากไม่เริ่มจากการพัฒนาคนให้พร้อมรับความท้าทายในหลายมิติและสามารถสนับสนุนการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ของประเทศในทุกด้าน โดยระบบคุณวุฒิวิชาชีพเป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาทุนมนุษย์ตามยุทธศาสตร์ชาติด้านการ เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในสังคม รวมถึงการสร้างความ เข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน บริษัท เออาร์ไอที จากัด ได้รับมอบหมายจาก สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) ให้ดาเนินการจัดประเมิน สมรรถนะด้าน Digital Literacy ด้วยเครื่องมือระดับมาตรฐานสากลโดยการใช้ชุดข้อสอบ IC3 Digital Literacy Certification ในโมดูล Computing Fundamental และโมดูล Key Application ให้กับนักเรียน นักศึกษา โดยไม่มีค่าใช้จ่าย เพื่อเป็นการ สร้างโอกาสในการเข้าถึงเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานสากล สร้างความรู้และทักษะด้าน Digital Literacy เพื่อเตรียมความพร้อม ให้กับกลุ่มเป้าหมายก้าวเข้าสู่ THAILAND 4.0 อย่างมีคุณภาพต่อไป 2. ความสาคัญของการมีสมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล 2.1 เพื่อการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้สอดคล้องกับการขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่ THAILAND 4.0 ตามนโยบายของ รัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ตามแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สาหรับการพัฒนาความสามารถด้าน การใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) 2.2 เพิ่มสมรรถนะในอาชีพที่มีผลให้บุคคลนาไปประยุกต์ใช้เพื่อการประกอบอาชีพในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ ได้ในทุกภาค ส่วนทั้ง ภาครัฐ นักเรียน นักศึกษา ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป 2.3 เพื่อพัฒนากาลังแรงงานของประเทศในการส่งเสริมให้ประเทศไทยเข้าสู่ THAILAND 4.0 3. มาตรฐานสมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล สมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัลของบุคคลภายใต้โครงการฯ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ กลุ่มที่ 1 ทักษะขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ผู้ที่ผ่านการทดสอบเกี่ยวกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ การใช้งานอินเทอร์เน็ต และการใช้ งานเพื่อความปลอดภัย โดยเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ดิจิทัล การใช้งานอุปกรณ์ไอทีและติดต่อสื่อสารบนสื่อ อินเทอร์เน็ต รวมทั้งรู้จักและเข้าใช้บริการพื้นฐานและทาธุรกรรมออนไลน์ขั้นต้นได้ กลุ่มที่ 2 ทักษะขั้นต้นสาหรับการทางาน ได้แก่ ผู้ที่ผ่านการทดสอบเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมประมวลผลคา การใช้ โปรแกรมตารางคานวณ และการใช้โปรแกรมนาเสนอโดยเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้งานเครื่องมือด้านดิจิทัลหรือ แอปพลิเคชันขั้นต้นสาหรับการทางาน
  • 3. 4. การรับรองระดับมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล ระดับที่ 1 การเข้าสู่มาตรฐานสมรรถนะความสามารถ ด้านการใช้ดิจิทัล ที่มีทักษะขั้นพื้นฐาน โดยผู้เข้ารับการทดสอบได้ ผ่านการทดสอบตามที่กาหนดในกลุ่มที่ 1 ระดับที่ 2 การเข้าสู่มาตรฐานสมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัลที่มีทักษะขั้นต้นสาหรับการทางาน โดยผู้เข้ารับ การทดสอบได้ผ่านการทดสอบตามที่กาหนดในกลุ่มที่ 1 และ กลุ่มที่ 2 5. การทดสอบสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล กลุ่มที่ 1 ผู้เข้ารับการทดสอบต้องผ่านการทดสอบ ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้  การทดสอบเกี่ยวกับการใช้งานฮาร์ดแวร์ งานระบบปฏิบัติการ การจัดการข้อมูล การสารองข้อมูล การใช้งาน อุปกรณ์เคลื่อนที่ และการใช้งานคลาวด์คอมพิวติ้ง  การใช้งานเว็บบราวเซอร์สืบค้นข้อมูล การใช้งานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การใช้งานปฏิทิน การใช้งานสื่อ สังคม การใช้งานโปรแกรมการสื่อสาร และการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์  การใช้บัญชีรายชื่อบุคคล การป้องกันภัยคุกคาม การป้องกันมัลแวร์ การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย และ การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างถูกต้อง กลุ่มที่ 2 ผู้เข้ารับการทดสอบต้องผ่านการทดสอบ ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้  การทดสอบเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมประมวลผลคาการจัดการงานเอกสารการจัดรูปแบบข้อความ การ จัดการกับย่อหน้าในเอกสาร การแทรกวัตถุลงบนงานเอกสาร การจัดรูปแบบเอกสารและการพิมพ์เอกสาร รวมทั้งการตรวจทานงานเอกสาร  การใช้งานโปรแกรมตารางคานวณ การจัดการตารางคานวณ การปรับแต่งข้อมูลในแผ่นงาน การจัดรูปแบบ ข้อมูลในแผ่นงาน การพิมพ์แผ่นงานการใช้สูตรฟังก์ชันเพื่อการคานวณการแทรกวัตถุลงบนแผ่นงานรวมทั้ง การป้องกันแผ่นงาน  การใช้งานโปรแกรมงานนาเสนอการจัดการงานนาเสนอ การใช้งานข้อความบนสไลด์ การแทรกวัตถุลงบน งานนาเสนอ การกาหนดการเคลื่อนไหว 6. เครื่องมือประเมินความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล : IC3 Digital Literacy Certification 6.1 IC3 Digital Literacy Certification คือ ประกาศนียบัตรรับรองความรู้ ความสามารถ ในการใช้คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน ประกอบด้วย ด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์, ด้านโปรแกรมสานักงานสาเร็จรูป และด้านเครือข่าย กับ อินเทอร์เน็ตพื้นฐาน ซึ่งเป็นทักษะที่มีความจาเป็น และเป็นพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน ประกาศนียบัตร IC3 ได้รับการรับรองมาตรฐานจากองค์กรที่มีความน่าเชื่อถือ และเป็นประกาศนียบัตรพื้นฐานสู่ การสอบใบประกาศนียบัตรเฉพาะด้านในระดับสูงต่อไป  ลิงค์ข้อมูล IC3 Digital Literacy Certification จากหน่วยงานต่างประเทศ เพิ่มเติม : https://certiport.pearsonvue.com/Certifications/IC3/Digital-Literacy-Certification/Overview  ลิงค์ข้อมูล IC3 Digital Literacy Certification จากหน่วยงานในประเทศ เพิ่มเติม : https://www.arit.co.th/th/certificate/ic3
  • 4. 6.2 การรับรองมาตรฐาน IC3 Digital Literacy Certification : IC3 Digital Literacy Certification ถูกกาหนด มาตรฐานที่เป็น Neutral Vendor Standard จากองค์กรที่กาหนดมาตรฐานด้านความรู้พื้นฐานด้านดิจิตอลอย่าง เป็นสากลหลากหลายองค์กร ได้แก่ องค์กรที่รับรอง ภารกิจและหน้าที่ขององค์กร American Council On Education เป็นหน่วยงานที่ประสานงาน หลักทั้งหมดของสถาบันอุดมศึกษา ที่เป็นตัวแทนของวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัย กว่า 1,600 แห่ง และมากกว่า 200 สมาคม ที่เกี่ยวข้องทั่ว ประเทศ พยายามที่จะเป็นผู้นาและทาให้เท่าเทียมกันในประเด็นเรื่อง การศึกษา และอิทธิพลในเรื่องนโยบายสาธารณะผ่านการสนับสนุนวิจัย และการริเริ่มโครงการ The Global Digital Literacy Council คือ องค์กรที่พัฒนาและ กาหนดมาตรฐานความรู้พื้นฐานทางด้านดิจิตอลในระดับโลกอย่างเป็น สากล มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการสร้างความมั่นใจในมาตรฐานความรู้ การรายงานข้อมูลข่าวสารของโลกดิจิตอลว่า มีความสอดคล้องกับองค์กร การศึกษา การพัฒนาแรงงาน รัฐบาลและบุคคลหรือไม่ CompTIA เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรขนาดใหญ่ ระดับสากล และ ได้รับความไว้วางใจจากผู้เชี่ยวชาญด้าน ICT และบริษัททั่วโลก เป็นผู้นา ในด้านมาตรฐานสากล และเป็นผู้ให้การรับรองทักษะด้าน ICT ที่เป็น กลาง ไม่อิงผลิตภัณฑ์ และมีมาตรฐาน ISO 17024 ISTE100 เป็นองค์กรระดับมืออาชีพที่ไม่แสวงหาผลกาไรที่มุ่งมั่นส่งเสริม ในการใช้งานที่เหมาะสมของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุน และ ปรับปรุงการเรียนรู้ การเรียนการสอน รวมถึงการบริหาร และการจัดการ ด้านการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา และการศึกษาของครูผู้สอน National Coalition of Certification Centers (NC3) เครือข่ายที่มี ความร่วมมือกับ พันธมิตรในอุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษาต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้ผู้คนตระหนักถึงความสาคัญของการใช้งานเทคโนโลยี โดย เครือข่าย NC3 ตระหนักถึงความสาคัญของความรู้ดิจิตอลในการทางาน และให้การยอมรับ IC3 Digital Literacy ว่าจะผู้ผ่านการรับรองจาก IC3 เป็นผู้ที่มีประสิทธิภาพ และสร้างผลลัพธ์ในการทางานได้ดีมากขึ้น SkillsUSA เป็นหน่วยงานที่ดาเนินการจัดการแข่งขันทักษะทางด้าน วิชาชีพขั้นพื้นฐานที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีการแข่งขันครอบคลุมทุก สายอาชีพกว่า 99 กลุ่มอาชีพ โดยมีนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันมากกว่า 350,000 คน ในทุกๆปี และสาหรับสายวิชาชีพทางด้านไอที SkillUSA ได้
  • 5. องค์กรที่รับรอง ภารกิจและหน้าที่ขององค์กร ให้การรับรองว่า IC3 คือประกาศนียบัตรขั้นพื้นฐานที่เหมาะสาหรับวัด มาตรฐานทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์ 6.3 IC3 Digital Literacy Certification ภายใต้โครงการฯ ประกอบไปด้วยองค์ความรู้ 2 ด้าน ได้แก่  เข้าถึงและตระหนักดิจิทัล (Computing Fundamentals) : ทดสอบความรู้ด้านคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ทั้ง ด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการ การใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง และความ ปลอดภัย  การรู้ดิจิทัลขั้นพื้นฐาน (Key Applications) : ทดสอบความรู้ด้านการใช้งานโปรแกรมสาเร็จรูป ได้แก่ Word Processing, Spreadsheet, Presentation, Database และการใช้แอพพลิเคชั่นที่เป็นที่นิยม 6.4 วัตถุประสงค์การสอบมาตรฐานสากล IC3 Digital Literacy Certification โมดูล Computing Fundament และโมดูล Key Application มีเนื้อหาการสอบ ดังนี้ การรับรองระดับมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล ระดับที่ 1 เข้าถึงและตระหนักดิจิทัล (Computing Fundamental) การรับรองระดับมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล ระดับที่ 2 การรู้ดิจิทัลขั้นพื้นฐาน (Key Application) 1. อุปกรณ์เคลื่อนที่ • การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ • การใช้งาน Voicemail • การส่งและประโยชน์ของ SMS • การแจ้งเตือน (Notifications) 2. ฮาร์ดแวร์ • ประเภทของอุปกรณ์ต่าง ๆ • อุปกรณ์เก็บข้อมูล • อุปกรณ์เครือข่าย • การเชื่อมต่อแบบ Wi-Fi • Platforms • ความเข้ากันได้ของอุปกรณ์ • อินเทอร์เน็ต • การตั้งค่าอุปกรณ์ 3. สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ (OS) และการอัพเดต • การตั้งค่าพื้นฐาน • การบริหารจัดการไฟล์ • เครื่องมือ navigation • การติดตั้งซอฟต์แวร์ 1.คาสั่งพื้นฐาน • การสร้าง Shortcuts • การใช้คาสั่ง Reviewing • การใช้คาสั่ง Cut/Copy/Paste • การใช้คาสั่งมุมมอง (Views) 2. การใช้โปรแกรม Word Processing • การจัดรูปแบบ (Formatting) • การจัดเค้าโครง (Layout) • การจัดการตัวอักษร (Fonts) • การสั่งพิมพ์ (Printing) • การสร้างตาราง (Tables) • ประโยชน์ ของโปรแกรม MS Word 3. การใช้โปรแกรม Spreadsheet • พื้นฐานการทางานในโปรแกรม • การแทรก การลบ ข้อมูลใน Worksheets • การแก้ไขข้อมูลที่อยู่ในเซล • การใช้ฟังก์ชัน หรือ ฟอร์มูล่า • การสร้างแผนภูมิ (Charts) • การจัดรูปแบบ และการจัดการข้อมูล • การสร้างตาราง (Tables) 4. การใช้โปรแกรม Database
  • 6. การรับรองระดับมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล ระดับที่ 1 เข้าถึงและตระหนักดิจิทัล (Computing Fundamental) การรับรองระดับมาตรฐานสมรรถนะการใช้ดิจิทัล ระดับที่ 2 การรู้ดิจิทัลขั้นพื้นฐาน (Key Application) • การแก้ไขปัญหา 4. การสารองและการกู้คืนข้อมูล 5. การแชร์ไฟล์ 6. เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง • ภาพรวม (Concepts) • ประโยชน์ของเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง • เทคโนโลยี Web apps 7. ความปลอดภัย • Credentials • Browsing • โปรแกรม Anti-virus • Firewalls • การใช้งานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e Commerce) อย่างปลอดภัย • ภาพรวมพื้นฐานในเรื่องฐานข้อมูล • ข้อมูลคาอธิบายข้อมูล (Metadata) 5. การใช้โปรแกรม Presentation • ประเภทของไฟล์ • การใช้คาสั่งมุมมอง (View) • การจัดการสไลด์ • การใส่ Effect • การใช้คาสั่ง Animations • การใช้คาสั่ง Design 6. แอพพลิเคชั่นที่เป็นที่นิยม App Culture • ประเภทการใช้งาน • การดาวน์โหลดแอปมาใช้งาน 7.การแก้ไขภาพ (Graphic Modification)
  • 7. 6.5 การได้รับใบรับรอง  ต้องมีเกณฑ์การสอบผ่านแต่ละระดับร้อยละ 70  ผู้ประเมินที่สอบผ่านจะได้รับใบรับรอง และใบประกาศนียบัตร 2 หน่วยงาน ดังนี้  ใบรับรองความรู้ (Credential) ระดับมาตรฐานสากล  สอบผ่านระดับที่ 1 จะได้รับใบรับรอง Computing Fundament  สอบผ่านระดับที่ 2 จะได้รับใบรับรอง Key Application  ประกาศนียบัตรของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)  กรณีสอบผ่านตั้งแต่ระดับที่ 1 เป็นต้นไป ตัวอย่างใบรับรองความรู้ (Credential) โมดูล Computing Fundamental ตัวอย่างใบรับรองความรู้ (Credential) โมดูล Key Application ประกาศนียบัตรมาตรฐานสมรรถนะการใช้ ดิจิทัล (Digital Literacy) 7. เป้าหมายโครงการฯ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา และหลักฐานการขอรับการสนับสนุน 7.1 เป้าหมายโครงการ บริษัท เออาร์ไอที จากัด ดาเนินการจัดประเมินสมรรถนะด้าน Digital Literacy ด้วยเครื่องมือมาตรฐานสากล IC3 Digital Literacy Certification ในโมดูล Computing Fundamental และโมดูล Key Application ใหักับ นักเรียน นักศึกษา 7.2 กลุ่มเป้าหมาย  นักเรียน หรือ นักศึกษา  สถาบันการศึกษาละไม่เกิน 100 คน 7.3 หลักฐานการขอรับการสนับสนุน  สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน และสาเนาบัตรนักเรียน หรือ นักศึกษา หมายเหตุ ผู้สมัครเข้ารับการทดสอบจะต้องมีเอกสารสาเนาทั้ง 2 ส่วน จึงจะมีสิทธิขอรับการสนับสนุนได้
  • 8. 8. วิธีการเข้าร่วมโครงการ 8.1 หน้าที่ของ สถาบันการศึกษา 1) สถาบันการศึกษา ส่งหนังสือแสดงเจตจานงในการจัดประเมินสมรรถนะด้าน Digital Literacy (ตามตัวอย่าง) มายังบริษัทฯ 2) สถาบันการศึกษา ทาการระบุวัน เวลา และรูปแบบในการจัดประเมินฯ 3) สถาบันการศึกษา จัดเตรียมห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ให้เพียงพอต่อจานวนนักเรียน หรือนักศึกษา ที่เข้ารับการประเมินฯ 4) สถาบันการศึกษา นานักเรียน หรือนักศึกษา ลงทะเบียนในระบบของบริษัทฯ รวมถึงจัดเตรียมเอกสาร สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน สาเนาบัตรนักเรียน หรือบัตรนักศึกษา โดยจัดส่งเป็นไฟล์มายังบริษัทฯ 8.2 หน้าที่ของ บริษัท เออาร์ไอที จากัด 1) บริษัทฯ จัดส่งวิทยากร และเจ้าหน้าที่ เพื่อเตรียมความพร้อมของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการประเมินก่อนการจัด ประเมินล่วงหน้า 1 วัน 2) บริษัทฯ จัดส่งวิทยากร ให้เพียงพอต่อการประเมินของนักเรียน หรือนักศึกษา ระยะเวลา 1 วัน (แนะนาการสอบ ครึ่งวัน และทาการสอบครึ่งวัน) 3) บริษัทฯ ดาเนินการจัดส่งผลการประเมินฯ ของนักเรียน หรือนักศึกษา ให้ทางสถาบันการศึกษา หลังจากเสร็จสิ้น การประเมินฯ ประมาณ 2 สัปดาห์ 9. ค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมโครงการ โครงการการทดสอบสมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) ด้วยข้อสอบมาตรฐานสากล IC3 Digital Literacy Certification ในโมดูล Computing Fundamental และ โดมูล Key Application เป็นโครงการ ที่ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจาก สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) สถาบันการศึกษาไม่เสียค่าใช้จ่ายในการ เข้าร่วมโครงการฯ 10. รายละเอียดเพิ่มเติม 1) สถาบันการศึกษาที่สนใจเข้าร่วมโครงการสามารถเลือกได้ว่าต้องการประเมินสมรรถนะด้าน Digital Literacy ดังนี้  ประเมินแบบไม่มีค่าใช้จ่าย โมดูล Computing Fundamental, Key Application ระยะเวลา 1 วัน (แนะนาการสอบครึ่งวัน และทาการสอบครึ่งวัน) หมายเหตุ : อาหารว่าง และอาหารกลางวันของนักเรียน หรือนักศึกษา เป็นความรับผิดชอบของทางสถาบันการศึกษา
  • 9. 11. ผู้รับผิดชอบโครงการ บริษัท เออาร์ไอที จากัด เลขที่ 900/2 อาคารเอสวีโอเอ ชั้น 5 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร 02 682 6350 ต่อ 543 - 544 เว็บไซต์ www.arit.co.th 12. ผู้ดูแลโครงการ นายศาสตรา นะรารัมย์ โทร 087-444-5526 E-mail sastran@ar.co.th Line : sastranararam