SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
เคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ หมายถึง การเคลื่อนที่ที่มีแนวการ
เคลื่อนที่เป็นวิถีโค้ง เป็นการเคลื่อนที่ที่ไม่มีแรงต้านจากอากาศ
หรือมีน้อยมากจนไม่ต้องนามาคิด การเคลื่อนที่แบบโพรเจค
ไทล์เป็นการเคลื่อนที่ใน 2 มิติ คือ มีการเคลื่อนที่ทั้งในแนว
ระดับและแนวดิ่ง ดังรูป
y
x
u
uy= u sin 
ux= u cos 
จุดสูงสุด
vy= 0
sx
sy

มีรูปแบบการเคลื่อนที่อยู่ 3 ลักษณะ
- แบบพื้นดินสู่พื้นดิน
- แบบพื้นดินสู่อากาศ
- แบบอากาศสู่พื้นดิน
การพิจารณาลักษณะการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
ต้องแบ่งเป็น 2 มิติ คือ ตามแนวระดับ (แกน x )
และตามแนวดิ่ง (แกน y)
 การเคลื่อนที่ในแนวระดับ (แกน x ) เป็นการ
เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวเพราะไม่มีแรงลัพธ์ใน
แนวระดับมากระทา ทาให้มีความเร่งเป็นศูนย์
 การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง(แกน y) เป็นการเคลื่อนที
ด้วยความเร่งคงตัว g (g=10m/s2)
ลักษณะการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ แบบทั่วไปๆ
1.มีเฉพาะความเร็วต้นในแนวระดับเพียงแนวเดียว ดังรูป ก
2.มีความเร็วต้นทั้งแนวระดับและแนวดิ่ง ดังรูป ข และ ค
รูป ก
ux
uy
u
รูป ครูป ข
uy
ux
u


การคานวณหาปริมาณต่างๆ ของการเคลื่อนที่ เหมือนดังที่กล่าวมาข้างต้น
รูป ก ay = g , uy = 0
รูป ข ay = g , ux = ucos , uy = usin
รูป ค ay = - g , ux = ucos , uy = usin
การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
ตามแนวระดับ(แกน x )
• ux= u cos 
• ux= vx
• a = 0
ตามแนวดิ่ง (แกน y)
• uy= u sin 
• ที่จุดสูงสุดความเร็ว
แนวดิ่งเป็น 0
• a = g = 10 m/s2
สมการการเคลื่อนที่ความเร่งคงตัว
2
2 2
2
1
2
2
v u at
u v
s t
s ut at
v u as
 
 
  
 
 
 
การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
การคานวณ
แนวระดับ
(แกน x )
• ux= u cos 
• ux= vx
• a = 0
2
2 2
2
1
2
2
v u at
u v
s t
s ut at
v u as
 
 
  
 
 
 
sx = การกระจัดแนวราบ
(m)
ux= vx = u cos 
= ความเร็วแนวราบ
(m/s)
t = เวลา (s)
sx = uxt
การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
การคานวณ
แนวดิ่ง (แกน y)
• uy= u sin 
• ที่จุดสูงสุด
ความเร็วแนวดิ่ง
เป็น 0
• a = g = 10
m/s2
sy = การกระจัดแนวดิ่ง(m)
uy= u sin  = ความเร็วต้นแนวดิ่ง (m/s)
vy = ความเร็วปลายแนวดิ่ง (m/s)
g = ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงโลก
(10m/s2)
t = เวลา (s)
yyy
yy
yy
y
yy
gsuv
gtuv
t
vu
s
gttus
2
2
2
1
22
2







 


การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
1. เขียนรูปการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ และปริมาณการเคลื่อนที่
2. แยกความเร็วของวัตถุที่จุดเริ่มต้นออกเป็น 2 แกน คือ
แนวราบ ux= u cos 
แนวดิ่งuy= u sin 
3. สาหรับการเคลื่อนที่แบ่งเป็น 2 กรณี คือ
กรณีที่ 1 ไม่มีความเร่งในแนวราบเป็นศูนย์
กรณีที่ 2 มีความเร่งในแนวดิ่งเป็นความเร่งโลก (g)
4. หาเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง t แล้ว จากสมการ
5. เวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง t เท่ากับเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ใน
แนวราบ
6. คานวณหาค่าปริมาณที่ต้องการ
21
2
s ut gt 
ขั้นตอนการคานวณ
ฝึกทักษะการตีความหมายจากโจทย์โดยการวาดรูป
1. ก้อนหินก้อนหนึ่งถูก
ขว้างออกจากหน้าผาใน
แนวระดับ ด้วยความเร็ว
ต้น 10 เมตร/วินาที ก้อน
หินตกถึงพื้นดินในเวลา 8
วินาที ก้อนหินจะตกห่าง
จากจุดขว้างในแนวระดับ
เท่าใด (80 m)
2. ลูกบอลลูกหนึ่งกลิ้งลง
มาจากโต๊ะซึ่งสูง 1.25
เมตร ถ้าลูกบอลตก
กระทบพื้นตรงจุดที่ห่าง
จากขอบโต๊ะตามแนว
ระดับ 4.0 m ความเร็ว
ของลูกบอลขณะหลุดจาก
ขอบโต๊ะมีค่าเท่าใด(8
m/s)
3. ขว้างวัตถุจากหน้าผา
สูง 500 เมตร โดยขว้าง
ออกไปในแนวระดับด้วย
ความเร็วต้น 20 เมตร/
วินาที นานเท่าไรก้อนหิน
จึงจะตกถึงพื้น และตกห่าง
จากจุดขว้างในแนวระดับ
เท่าไร (10 s,200 m)
4. ลูกกอล์ฟถูกตี
ด้วยความเร็วต้น 75
m/s ทามุม 37 กับ
แนวระดับบนดาดฟ้า
ตึกสูง 50 เมตร
อยากทราบว่าลูก
กอล์ฟตกห่างจากจุด
ที่ตีในแนวระดับกี่
เมตร(600 m)
ตัวอย่าง ลูกแก้วกลิ้งออกจากขอบโต๊ะซึ่งสูง 1.8 เมตร
ลูกแก้วต้องมีความเร็วเท่าใดจึงจะทาให้ตกห่างจากโต๊ะ
เท่ากับความสูงของโต๊ะพอดี
วิธีทา 1.เขียนรูปการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ และปริมาณ
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
y
x
จุดสูงสุด uy= 0
ux = u
Sx =1.8 m
sy=1.8 m
การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
2. แยกความเร็วของวัตถุที่จุดเริ่มต้นออกเป็น 2 แกน คือ
แนวราบ ux= u cos 0 = u
แนวดิ่ง uy= u sin 0 = 0
3. สาหรับการเคลื่อนที่แบ่งเป็น 2 กรณี คือ
กรณีที่ 1 ไม่มีความเร่งในแนวราบเป็นศูนย์ sx = uxt
1.8 = uxt
กรณีที่ 2 มีความเร่งในแนวดิ่งเป็นความเร่งโลก (g)
4. หาเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง t แล้ว จากสมการ
1.8 = 0(t) + 10(t2)/2
1.8 = 5t2
t2 = 1.8/5 = 0.36
t = 0.6 s
5. เวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง t เท่ากับเวลาที่วัตถุ
เคลื่อนที่ในแนวราบ
การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
21
2
s ut gt 
gsuv
gtuts
t
vu
s
gtuv
2
2
1
2
22
2







 


6. คานวณหาค่าปริมาณที่ต้องการ
จาก sx= uxt
1.8 = uxt
1.8 = ux (0.6)
ux = 1.8/0.6
ux = 3 m/s
ตอบ ลูกแก้วต้องมีความเร็ว 3 m/s จึงจะทาให้ตก
ห่างจากโต๊ะเท่ากับความสูงของโต๊ะพอดี
การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
ในการซ้อมช่วยชีวิตกลางทะเล เครื่องบินที่บินในแนวราบ
ด้วยความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทิ้งแพยางให้แก่
ผู้ประสบภัย โดยขณะที่ทิ้งนั้นเครื่องอยู่ตรงกับผู้ประสบภัย
พอดี ถ้าบินอยู่ในระดับความสูง 4,500 เมตร ผู้ประสบภัย
ต้องว่ายน้าเป็นระยะทางเท่าใดจึงจะถึงแพยาง
ขว้างก้อนหินมวล 0.5 กิโลกรัม ด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อ
วินาที ในแนวราบ จากหน้าผาสูงจากรระดับน้าทะเล 50
เมตร ความเร็วของก้อนหินขณะกระทบน้ามีค่าเท่าใด
นักกีฬาคนหนึ่งขว้างลูกบอลขึ้นด้วยความเร็ว 20 เมตร/
วินาที เป็นมุม 60 องศากับแนวระดับ เขาต้องวิ่งด้วย
ความเร็วเท่าใด จึงจะไปรับลูกบอลที่ขว้างได้ก่อนตกถึงพื้น
แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่แบบโพเจคไทล์
เฉลย แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
ในการซ้อมช่วยชีวิตกลางทะเล เครื่องบินที่บินในแนวราบด้วย
ความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทิ้งแพยางให้แก่ผู้ประสบภัย โดย
ขณะที่ทิ้งนั้นเครื่องอยู่ตรงกับผู้ประสบภัยพอดี ถ้าบินอยู่ในระดับ
ความสูง 4,500 เมตร ผู้ประสบภัยต้องว่ายน้าเป็นระยะทางเท่าใดจึง
จะถึงแพยาง
วิธีทา
Ux = 72 km/hr
= 72103 m
60  60 s
= 2  10 m/s
Sx = 4,500 m
Sx = uxt
Sx =(20)t
21
2
y ys u t gt 
4,500 = (0)t+(10)t2 /2
4,500 = 5t2
t2 = 4,500/5
= 900
t = 30 s
Sx =(20)t = 20  30 = 600 m
Sx
เฉลย แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
ขว้างก้อนหินมวล 0.5 กิโลกรัม ด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อ
วินาที ในแนวราบ จากหน้าผาสูงจากระดับน้าทะเล 50
เมตร ความเร็วของก้อนหินขณะกระทบน้ามีค่าเท่าใด
วิธีทา
U = 10 m/s
sy = 50 m
vy
vx
v
ux= u cos 0
= 10 (1)
ux = 10 m/s
ux = vx = 10 m/s
uy= u sin 0
= 10 (0)
uy = 0 m/s
gsuv
gtuts
t
vu
s
gtuv
2
2
1
2
22
2







 


vy
2=uy
2+2gs
= 02+2(10)(50)
vy
2 = 1,000 m/s
v =(vx
2+v2
y)1/2
= (100+1,000)1/2
= 10(11)1/2 m/s
v =(vx
2+v2
y)1/2
เฉลย แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
 ต่อ
U = 10 m/s
sy = 50 m
vy
vx
v
เฉลย แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
นักกีฬาคนหนึ่งขว้างลูกบอลขึ้นด้วยความเร็ว 20 เมตร/
วินาที เป็นมุม 60 องศากับแนวระดับ เขาต้องวิ่งด้วย
ความเร็วเท่าใด จึงจะไปรับลูกบอลที่ขว้างได้ก่อนตกถึงพื้น
วิธีทา
2
1
u = 20 m/s
ux = u cos 60
uy = u sin 60
ux = u cos 60
= 20 
= 10 m/s
uy = u sin 60
= 20
= m/s
2
3
310
ts
tus
x
xx
10

เฉลย แบบฝึกหัด การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
 
320
3210



x
x
xx
s
s
tus
 
 
32
5
310
05310
53100
53100
10
2
1
3100
2
1
2
2
2






t
t
tt
tt
tt
gttus yy
ts
tus
x
xx
10

เพราะฉะนั้นต้องใช้ความเร็ว = 10 m/s
32
320
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสChanthawan Suwanhitathorn
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 

Was ist angesagt? (20)

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 

Ähnlich wie การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์

การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตkalita123
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนChakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนChakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนpumarin20012
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วLai Pong
 
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนthanakit553
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่Tutor Ferry
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆApinya Phuadsing
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆApinya Phuadsing
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01tuiye
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุนApinya Phuadsing
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]Worrachet Boonyong
 

Ähnlich wie การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ (20)

การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
การเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ตการเคลื่อน ครูอาร์ต
การเคลื่อน ครูอาร์ต
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
P07
P07P07
P07
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
 
Test phy1
Test phy1Test phy1
Test phy1
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
 
เรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่7การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
Brands physics
Brands physicsBrands physics
Brands physics
 
โหลดPdf
โหลดPdfโหลดPdf
โหลดPdf
 

Mehr von เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham

ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 

Mehr von เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham (10)

เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรีใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
 
ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์