SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
วิชา การพัฒนาความเป็นครูวิชาชีพ GD 6109
        ผู้สอน : อ.ดร.ถาวร เส้งเอียด
คณะผู้จัดทา
1. นายพชระ    มณีผล   รหัสนักศึกษา 537190055
2. นางสาว




             ป.บัณฑิตวิชาชีพครู หมู่ 2 รุน 13
                                         ่
วิวัฒนาการของการศึกษาไทย
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ
   (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411)
2. การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา
   (พ.ศ. 2412 - พ.ศ. 2474)
3. การศึกษาของไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
   (พ.ศ. 2475 - ปัจจุบน)
                       ั
การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411)

      การศึกษาสมัยนี้เป็นการศึกษาแบบสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีที่มีมากแต่เดิม
จาเป็นที่คนไทยในสมัยนั้นต้องขวนขวายหาความรู้จากผูรู้ในชุมชนต่างๆ
                                                 ้
      • บ้าน - พ่อและแม่
      • วัง – นักปราชญ์ (ขุนนาง)
      • วัด - พระ
การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411)

แบ่งออกเป็น
• การศึกษาสมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 1921)
• การศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310)
• การศึกษาสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
  (พ.ศ. 2311 –พ.ศ. 2411)
การศึกษาในสมัยสุโขทัย (พ.ศ. 1781 – พ.ศ. 1921)
รูปแบบการจัดการศึกษาในสมัยสุโขทัย แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย

• ฝ่ายอาณาจักร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนทหาร
  และ ส่วนพลเรือน
• ฝ่ายศาสนาจักร เป็นการศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เน้น
  พระพุทธศาสนาและศิลปศาสตร์
สถานศึกษาในสมัยสุโขทัย

(1) บ้าน
(2) สานักสงฆ์
(3) สานักราชบัณฑิต
(4) พระราชสานัก
วิชาที่สอนในสมัยสุโขทัย
วิชาที่สอน ไม่ได้กาหนดตายตัว พอแบ่งออกได้ดังนี้
1. วิชาความรูสามัญ สันนิษฐานว่าในช่วงต้นสุโขทัยใช้ภาษาบาลีและสันสกฤตใน
              ้
    การศึกษา ต่อมาในสมัยหลังจากที่พ่อขุนรามคาแหงได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้
    เมื่อ พ.ศ. 1826 จึงมีการเรียนภาษาไทยกัน
2. วิชาชีพ เรียนกันตามแบบอย่างบรรพบุรุษ
3. วิชาจริยศึกษา สอนให้เคารพนับถือบรรพบุรุษ การรู้จกกตัญญูรู้คุณการรักษา
                                                       ั
    ขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิม และการรู้จักทาบุญให้ทาน ถือศีลในระหว่าง
    เข้าพรรษา
4. วิชาศิลปะป้องกันตัว เป็นการสอนให้รู้จักการใช้อาวุธ การบังคับสัตว์ที่ใช้เป็น
    พาหนะในการออกศึกและตาราพิชัยยุทธ
การศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310)
รูปแบบการจัดการศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยา

1. การศึกษาวิชาสามัญ เน้นการอ่าน เขียน เรียนเลข พระโหราธิบดีได้แต่ง
   แบบเรียนภาษาไทย ชื่อ จินดามณี ถวายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
2.การศึกษาทางด้านศาสนา ชายไทยต้องบวชเรียนเขียนอ่านมาก่อน จึงมีโอกาส
   ได้เป็นข้าราชการ มีนักสอนศาสนาหรือมิชชันนารีได้จัดตั้งโรงเรียนมิชชันนารี
   เพื่อชักจูงให้ชาวไทยหันไปนับถือศาสนาคริสต์
3.การศึกษาทางด้านภาษาศาสตร์และวรรณคดี
4. การศึกษาของผู้หญิง มีการเรียนวิชาชีพ
5.การศึกษาวิชาการด้านทหาร
สถานศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยา

     ในสมัยกรุงศรีอยุธยานี้ยังคงเหมือนกับสมัยสุโขทัยที่ต่าง
ออกไป คือ มีโรงเรียนมิชชันนารี เป็นโรงเรียนที่ชาวตะวันตกได้
เข้ามาสร้างเพื่อเผยแพร่ศาสนาและขณะเดียวกันก็สอนวิชาสามัญ
ด้วย
เนื้อหาวิชาที่สอนในสมัยกรุงศรีอยุธยา

1. วิชาสามัญ มีการเรียนวิชาการอ่าน เขียน เลข ใช้แบบเรียนภาษาไทยจินดามณี
2. วิชาชีพ เรียนรู้กันในวงศ์ตระกูล สาหรับเด็กผู้ชายได้เรียนวิชาวาดเขียน แกะสลัก
   และช่างฝีมือต่าง ๆ ที่พระสงฆ์เป็นผู้สอนให้ ส่วนเด็กผู้หญิงเรียนรู้การบ้านการเรือน
   จากพ่อแม่สมัยต่อมาหลังชาติตะวันตกเข้ามาแล้วมีการเรียนวิชาชีพชั้นสูงด้วย เช่น
   ดาราศาสตร์ การทาน้าประปา การทาปืน การพาณิชย์ แพทยศาสตร์ ตารายา
   การก่อสร้าง ตาราอาหาร เป็นต้น
3. ด้านอักษรศาสตร์ มีการศึกษาด้านอักษรศาสตร์ มีวรรณคดีหลายเล่มที่เกิดขึ้น เช่น
   สมุทรโฆษคาฉันท์ และกาศรวลศรีปราชญ์ เป็นต้น อีกทั้งมีการสอนภาษาไทย บาลี
   สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และจีน
เนื้อหาวิชาที่สอนในสมัยกรุงศรีอยุธยา

 3. วิชาจริยศึกษา เน้นการศึกษาด้านพระพุทธศาสนามากขึ้น เช่นในสมัย
   พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงกวดขันในเรื่องการศึกษาหลักธรรมของ
   พระพุทธศาสนามาก มีการกาหนดให้ผชายที่เข้ารับราชการทุกคนจะต้อง
                                      ู้
   เคยบวชเรียนมาแล้ว เกิดประเพณีการอุปสมบทเมื่ออายุครบ 20 ปี
   นอกจากนี้ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ทรงให้เสรีภาพไม่กีดกันศาสนา
   ทรงอุปถัมภ์พวกสอนศาสนา เพราะทรงเห็นว่าศาสนาทุกศาสนาต่างสอน
   ให้คนเป็นคนดี
4. วิชาพลศึกษา ยังคงเหมือนสมัยสุโขทัย
การศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น
        (พ.ศ. 2311 – พ.ศ. 2411)
การจัดการศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์

• สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี เป็นระยะเก็บรวบรวมสรรพตาราจากแหล่งต่าง ๆ
  ที่รอดพ้นจากการทาลายของพม่า เน้นการทานุบารุงตาราทางศาสนา
  ศิลปะและวรรณคดี
• สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงฟื้นฟูการศึกษาด้าน
  อักษรศาสตร์ วรรณคดี มีการแต่งรามเกียรติได้เค้าโครงเรื่องมาจากอินเดีย
  เรื่อง รามายณะ ศิลปะ กฎหมาย เช่น กฎหมายตรา3ดวง และ
  หลักธรรมทางศาสนา มีการสังคายนาพระไตรปิฎก
การจัดการศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์

• สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เริมมีชาวยุโรป เช่น ชาติ
                                                ่
  โปรตุเกสเข้ามาติดต่อทางการค้ากับไทยใหม่ หลังจากเลิกราไปเมื่อประมาณ
  ปลายสมัยอยุธยา และชาติอื่น ๆ ตามเข้ามาอีกมากมาย เช่น อังกฤษ
  ฝรั่งเศส ฮอลันดา เป็นต้น เนื่องจากยุโรปมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมทาให้
  เปลี่ยนระบบการผลิตจากการใช้มือมาใช้เครื่องจักร พลังงานจากไอน้า
  สามารถผลิตสินค้าได้มากขึ้นจึงต้องหาแหล่งระบายสินค้า ในสมัยนี้ได้
  ส่งเสริมการศึกษาทั้งวิชาสามัญ โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ จริยศาสตร์ มี
  การตั้งโรงทานหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวังเป็นที่ให้การศึกษา
การจัดการศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์

• สมัยพระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว ทรงส่งเสริมการศึกษาด้าน
                           ่          ่ั
  ศาสนาเป็นพิเศษ มีการจารึกวิชาความรู้สามัญและวิชาชีพลงในแผ่นศิลา
  ประดับไว้ตามระเบียงวัดพระเชตุพนจนมีผู้กล่าวว่าเป็นมหาวิทยาลัยแห่ง
  แรกของไทย มีการใช้หนังสือไทยชื่อ ประถม ก กา และประถมมาลา
  นับเป็นแบบเรียนเล่มที่ 2 และ 3 ต่อจากจินดามณีของพระโหราธิบดี
  ต่อมานายแพทย์ ดี บี บรัดเลย์ได้นากิจการแพทย์สมัยใหม่ เช่น การ
  ผ่าตัดเข้ามารักษาคนไข้และการตังโรงพิมพ์หนังสือไทยเป็นครังแรกในปี
                                ้                         ้
  พ.ศ. 2379 โดยรับจ้างพิมพ์เอกสารทางราชการเรื่องห้ามสูบฝิ่น จานวน
  9,000 ฉบับ เมื่อปีพ.ศ. 2382
การจัดการศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์

• สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว ในสมัยนี้ชาวยุโรป และ
                                        ่ั
  อเมริกันเริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายและสอนศาสนา มีการนาวิทยาการสมัยใหม่
  เข้ามาปรับใช้ในเมืองไทยเพิ่มขึ้น และพระองค์ทรงเห็นความสาคัญของ
  การศึกษาจึงทรงจ้างนางแอนนา เอช เลียวโนเวนส์ มาสอนสมเด็จพระ
  เจ้าลูกยาเธอ เมือ พ.ศ. 2405 จนรอบรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี
                    ่
  ลักษณะการจัดการศึกษาเป็นแบบเดิมทั้งวัดและบ้าน ในส่วนวิชาชีพและ
  วิชาสามัญ มีอักษรศาสตร์ ธรรมชาติวิทยาหรือวิทยาศาสตร์
การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา
              (พ.ศ. 2412 – พ.ศ. 2474)

      มุ่งให้คนเข้ารับราชการและมีความรู้ทัดเทียมฝรั่งแต่ไม่ใช่ฝรั่ง
  แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้
• การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
• การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
• การจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ปัจจัยที่มีผลในการปฏิรูปการศึกษาครั้งนี้

1.   แนวคิดและวิทยาการต่างๆ ของชาติตะวันตก ซึ่งคณะมิชชันมารีได้นา
     วิทยาการเข้ามาเผยแพร่
2.   ภัยจากการคุมคามของประเทศมหาอานาจ
3.   ความต้องการบุคคลทีมีความรู้ความสามารถเข้ามารับราชการ
                         ่
4.   โครงสร้างของสังคมไทยได้มการเปลี่ยนแปลง โดยมีการเลิกทาสและมีการติดต่อ
                               ี
     กับต่างประเทศมากขึ้น
5.   การที่พระองค์ได้เสด็จต่างประเทศทั้งในเอเชียและยุโรป ทาให้ได้แนวความคิด
     เพื่อนามาปฏิรูปการศึกษาและใช้เป็นแนวทางพัฒนาบ้านเมือง
การจัดตั้งสถานศึกษา
• ปี พ.ศ. 2414 จัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง เพื่อฝึกคนให้เข้ารับ
  ราชการ มีพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ในขณะนั้นเป็นหลวงสาร
  ประเสริฐเป็นอาจารย์ใหญ่
• ปี พ.ศ. 2423 จัดตั้งโรงเรียนสุนันทาลัยในพระบรมมหาราชวังเป็นโรงเรียนสตรี
• ปี พ.ศ. 2424 ปรับปรุงโรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบให้เป็นโรงเรียน
  นายทหารมหาดเล็ก ต่อมาได้กลายเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนในปี พ.ศ.
  2453 และปี พ.ศ. 2459 ได้ตั้งเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดตั้งสถานศึกษา (ต่อ)
• ปี พ.ศ. 2425 จัดตั้งโรงเรียนแผนที่และในปี พ.ศ.2427 จัดตั้งโรงเรียนหลวง
  สาหรับราษฎรขึ้นตามวัดในกรุงเทพมหานครหลายแห่ง และแห่งแรก คือ
  โรงเรียนมหรรณพาราม
• ปี พ.ศ. 2432 ตั้งโรงเรียนแพทย์ขึ้น เรียกว่า โรงเรียนแพทยากร ตั้งอยู่ที่ริม
  แม่น้าหน้าโรงพยาบาลศิริราช ใช้เป็นที่สอนวิชาแพทย์แผนปัจจุบัน
การจัดตั้งสถานศึกษา (ต่อ)
• ปี พ.ศ. 2435 จัดตั้งโรงเรียนมูลศึกษาขึ้นในวัดทั่วไปทั้งในกรุงเทพมหานครและ
  หัวเมือง โดยประสงค์จะขยายการศึกษาเล่าเรียนหนังสือไทยให้แพร่หลายเป็นแบบ
  แผนยิ่งขึ้น และตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเป็นแห่งแรกที่ตาบลโรงเลี้ยงเด็ก ต่อมาย้ายไป
  อยู่ที่วัดเทพศิรินทราวาส
• ปี พ.ศ. 2437 นักเรียนฝึกหัดครูชุดแรก 3 คนสาเร็จการศึกษาได้รับ
  ประกาศนียบัตรเป็นครูสอนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
• ปี พ.ศ. 2449 ย้ายโรงเรียนฝึกหัดครู ซึ่งตั้งอยู่ทวัดเทพศิริทราวาส ไปรวมกับ
                                                  ี่
  โรงเรียนฝึกหัดครูฝั่งตะวันตก (บ้านสมเด็จเจ้าพระยา) ปรับปรุงหลักสูตรให้สูงขึ้น
  เป็น โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์สอนหลักสูตร 2 ปี รับนักเรียนที่สาเร็จมัธยมศึกษา
• ปี พ.ศ. 2456 ตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูหญิงขึ้นเป็นครั้งแรกที่โรงเรียนเบญจมราชาลัย
การบริหารการศึกษา
       เมื่อจานวนโรงเรียนเพิ่มมากขึ้นจึงจาเป็นต้องมีหน่วยงานรับผิดชอบ
การศึกษาเป็นส่วนหนึ่งต่างหาก เช่น ปี พ.ศ. 2430 ทรงโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้ง
กรมศึกษาธิการโดยโอนโรงเรียนที่สังกัดกรมทหารมหาดเล็กมาทั้งหมด ให้กรมหมื่น
ดารงราชานุภาพเป็นผู้บัญชาการอีกตาแหน่งหนึ่ง ปี พ.ศ. 2432 รวมกรม
ศึกษาธิการเข้าไปอยู่ในบังคับบัญชาของกรมธรรมการ และ ปีพ.ศ. 2435 ประกาศ
ตั้งกระทรวงธรรมการ มีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) เป็นเสนาบดี มี
หน้าที่ในการจัดการศึกษา การพยาบาล พิพิธภัณฑ์และศาสนา
การจัดแบบเรียนหลักสูตร และการสอบไล่

• ปี พ.ศ. 2414 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย
  อาจารยางกูร) เรียบเรียงแบบเรียนหลวงขึ้น 1 เล่ม ชุดมูลบรรพกิจ เพื่อใช้เป็นบท
  หลักสูตรวิชาชั้นต้น
• ปี พ.ศ. 2427 กาหนดหลักสูตรชั้นประโยคหนึ่ง โดยอนุโลมตามแบบเรียนหลวง
  หกเล่ม นับเป็นปีแรกที่จัดให้มีการสอบไล่วิชาสามัญ และมีการกาหนดหลักสูตรชั้น
  ประโยคสอง ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เกี่ยวกับวิชาสามัญศึกษา หมายถึง ความรู้ตาง ๆ ที่
                                                                       ่
  ต้องการใช้สาหรับเสมียนในราชการพลเรือนตามกระทรวงต่าง ๆ
การจัดแบบเรียนหลักสูตร และการสอบไล่ (ต่อ)

• ปี พ.ศ. 2431 กรมศึกษาธิการ จัดทาแบบเรียนเร็วใช้แทนแบบเรียนหลวงชุดเดิม
  ผู้แต่งคือ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร (กรมพระยาดารงราชานุภาพ) 1 ชุด มี 3 เล่ม
• ปี พ.ศ. 2433 ประกาศใช้พระราชบัญญัติวิชา พ.ศ. 2433 มีผลทาให้หลักสูตร
  ภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ประโยค หลักสูตรภาษาอังกฤษแบ่งออกเป็น 6 ชั้น
• ปี พ.ศ. 2434 ได้แก้ไขการสอบไล่จากเดิมปีละครั้งเป็นปีละ 2 ครั้งเพื่อไม่ให้
  นักเรียนเสียเวลานานเกินไป
การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา
(1) พระบรมราชโชบายในการปกครองประเทศ เพื่อให้ประเทศมีความ
   เจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับนานาประเทศ โดยการส่งทหารไปร่วมกับฝ่าย
   สัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 1 นอกจากนี้พระองค์ทรงสร้างความรู้สึก
   ชาตินิยมในหมู่ประชาชนชาวไทยโดยมีสาระสาคัญของอุดมการณ์ชาตินิยม
   คือ ความรักชาติ ความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และความยึดมั่นใน
   พุทธศาสนา
(2) พระองค์ทรงศึกษาวิชาการจากต่างประเทศ และเมื่อเสด็จกลับมาแล้ว
   พระองค์ได้ทรงนาเอาแบบอย่างและวิธีการที่เป็นประโยชน์มาใช้เป็นหลัก
   ในการปรับปรุงการศึกษา เช่น ทรงนาเอาวิชาลูกเสือจากประเทศอังกฤษ
   เข้ามาจัดตั้งกองเสือป่า
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา (ต่อ)
(3) ผลอันเนื่องจากการจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
   จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมือคนส่วนมากที่ได้รับการศึกษา มีความรู้และ
                             ่
   แนวคิดเกี่ยวกับการปกครองประเทศในระบอบรัฐธรรมนูญในระบบรัฐสภา
   จึงมีความปรารถนาจะเปลี่ยนแปลงการปกครองไปเป็นระบอบ
   ประชาธิปไตย
(4) ปัญหาอันเกิดจากคนล้นงานและคนละทิ้งอาชีพและถิ่นฐานเดิม มุ่งที่จะ
   หันเข้าสู่อาชีพราชการมากเกินไป
วิวัฒนาการในการจัดการศึกษา
• ปี พ.ศ. 2453 ประกาศตังโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเพื่อฝึกคนเข้ารับราชการตาม
                               ้
  กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ และต่อมาปี พ.ศ. 2459 ได้ประกาศยกฐานะ
  โรงเรียนข้าราชการพลเรือนนี้ ขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเป็น
  มหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย
• ปี พ.ศ. 2454 ตังกองลูกเสือหรือเสือป่าขึนเป็นครังแรกโครงการศึกษาพ.ศ.
                     ้                     ้     ้
  2456 และฉบับแก้ไข พ.ศ. 2458 โดยมุ่งให้ประชาชนมีความรูทางด้านการทามา
                                                             ้
  หาเลี้ยงชีพตามอัตภาพของตน พยายามที่จะเปลี่ยนค่านิยมของประชาชนไม่ให้มุ่งที่
  จะเข้ารับราชการอย่างเดียว
• ปี พ.ศ. 2459 จัดตั้งกองลูกเสือหญิงและอนุกาชาดโรงเรียนกุลสตรีวังหลังและได้
  จัดตั้งกองลูกเสือหญิงขึ้น เรียกว่า เนตรนารี
วิวัฒนาการในการจัดการศึกษา
• ปี พ.ศ. 2461 มีการปรับปรุงและขยายฝึกหัดครูขึ้นโดยโอนกลับมาขึ้นกับ
  กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเดิมเป็นแผนกหนึ่งของโรงเรียนข้าราชการพลเรือน
• ปี พ.ศ. 2461 ประกาศใช้พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ และ
• ปี พ.ศ. 2464ปรับปรุงโครงการศึกษาชาติ โดยวางโครงการศึกษาขึ้นใหม่
  เพื่อส่งเสริมให้ทามาหาเลี้ยงชีพ นอกเหนือจากทาราชการ
• ปี พ.ศ. 2464 ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษาบังคับให้เด็กทุกคนที่มีอายุ
  7 ปี บริบูรณ์หรือย่างเข้าปีที่ 8 ให้เรียนอยู่ในโรงเรียนจนถึงอายุ 14 ปี
  บริบูรณ์หรือย่างเข้าปีที่ 15 โดยไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน และมีการเรียกเก็บ
  เงินศึกษาพลีจากประชาชนคนละ 1- 3 บาทเพือนาไปใช้จ่ายในการจัด
                                                     ่
  ดาเนินการประถมศึกษา
การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา

(1) ปัญหาการเมืองที่เกิดขึ้นภายในประเทศ
(2) ปัญหาสืบเนื่องจากอิทธิพลจักรวรรดินิยมตะวันตก
(3) ปัญหาสืบเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่า
(4) ปัญหาสืบเนื่องจากการประกาศใช้กฎหมายการศึกษา คือ
   พระราชบัญญัติประถมศึกษา ทาให้การศึกษาแพร่หลายออกไป
   แต่ขาดความพร้อมทางด้านงบประมาณการศึกษา
วิวัฒนาการในการจัดการศึกษา

(1) ปี พ.ศ. 2473 ยกเลิกการเก็บเงินศึกษาพลีคนละ 1 – 3 บาท จาก
   ผู้ชายทุกคนที่มีอายุระหว่าง 16 - 60 ปี โดยใช้เงินจากกระทรวงพระ
   คลังมหาสมบัติอุดหนุนการศึกษาแทน
(2) ปี พ.ศ. 2474 ปรับปรุงกระทรวงธรรมการเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะ
   เศรษฐกิจตกต่าของประเทศ โดยยุบกรมสามัญศึกษาในตอนนั้น กระทรวง
   ธรรมการจึงมีหน่วยงานเพียง 3 หน่วยคือ กองบัญชาการ กองตรวจ
   การศึกษากรุงเทพ ฯ และกองสุขาภิบาลโรงเรียน
(3) ยกเลิกระเบียบว่าด้วยการควบคุมแบบเรียน
การศึกษาสมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ
         (พ.ศ. 2475 –ปัจจุบัน)
วิวัฒนาการในการจัดการศึกษา
(1) มีการประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็น
   ระบอบประชาธิปไตยแล้ว โดยจัดตั้งคณะกรรมการการศึกษาและทรงพระ
   กรุณาโปรดเกล้า ๆ ให้ตั้งสภาการศึกษา พ.ศ. 2475 ประกาศใช้
   แผนการศึกษาชาติ ต่อมามีการปรับปรุงการจัดการศึกษาภาคบังคับจาก 6
   ปี เหลือ 4 ปี และประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2479
(2) การมอบให้ท้องถิ่นจัดการศึกษา พ.ศ. 2476 และยกฐานะท้องถิ่นขึน ้
   เป็นเทศบาลตราพระราชบัญญัติเทศบาลขึ้น และเทศบาลได้จัดการศึกษา
   อย่างแท้จริงใน พ.ศ. 2478
(3) การปรับปรุงหน่วยงานที่มีส่วนรับผิดชอบในการจัดการศึกษา
อ้างอิง
ระบบการศึกษาไทย
http://210.1.19.168/multimedia/tun/Thai_learning/learning.html

แผนการศึกษาแห่งชาติ ( พ.ศ.2545 – 2559 )
 - ฉบับเต็ม
http://www.onec.go.th/plan/surang/s_fullplan/fullplan.pdf
 - ฉบับสรุป
http://www.onec.go.th/plan/surang/s_shortplan/shortplan.pdf
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย

More Related Content

What's hot

บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
Decode Ac
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
Decode Ac
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
kroobannakakok
 
รายงานวิจัย ทรงผมนักเรียนชาย
รายงานวิจัย ทรงผมนักเรียนชายรายงานวิจัย ทรงผมนักเรียนชาย
รายงานวิจัย ทรงผมนักเรียนชาย
Nuttapat Sukcharoen
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
krupornpana55
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
Anchalee BuddhaBucha
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
New Nan
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
ssuser456899
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีน
Phakawat Owat
 

What's hot (20)

รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
รายงานวิจัย ทรงผมนักเรียนชาย
รายงานวิจัย ทรงผมนักเรียนชายรายงานวิจัย ทรงผมนักเรียนชาย
รายงานวิจัย ทรงผมนักเรียนชาย
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีน
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 

Similar to นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
JulPcc CR
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
Arom Chumchoengkarn
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
JulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
JulPcc CR
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint2540
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
krunumc
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
Tor Jt
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
JulPcc CR
 

Similar to นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย (20)

Edu system
Edu systemEdu system
Edu system
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
26 symbols ofthailand+188
26 symbols ofthailand+18826 symbols ofthailand+188
26 symbols ofthailand+188
 
History
HistoryHistory
History
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
งานบีบี
งานบีบีงานบีบี
งานบีบี
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 

นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย

  • 1. วิชา การพัฒนาความเป็นครูวิชาชีพ GD 6109 ผู้สอน : อ.ดร.ถาวร เส้งเอียด
  • 2. คณะผู้จัดทา 1. นายพชระ มณีผล รหัสนักศึกษา 537190055 2. นางสาว ป.บัณฑิตวิชาชีพครู หมู่ 2 รุน 13 ่
  • 3. วิวัฒนาการของการศึกษาไทย 1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411) 2. การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2412 - พ.ศ. 2474) 3. การศึกษาของไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ. 2475 - ปัจจุบน) ั
  • 4. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411) การศึกษาสมัยนี้เป็นการศึกษาแบบสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีที่มีมากแต่เดิม จาเป็นที่คนไทยในสมัยนั้นต้องขวนขวายหาความรู้จากผูรู้ในชุมชนต่างๆ ้ • บ้าน - พ่อและแม่ • วัง – นักปราชญ์ (ขุนนาง) • วัด - พระ
  • 5. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411) แบ่งออกเป็น • การศึกษาสมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 1921) • การศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310) • การศึกษาสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. 2311 –พ.ศ. 2411)
  • 7. รูปแบบการจัดการศึกษาในสมัยสุโขทัย แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย • ฝ่ายอาณาจักร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนทหาร และ ส่วนพลเรือน • ฝ่ายศาสนาจักร เป็นการศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เน้น พระพุทธศาสนาและศิลปศาสตร์
  • 8. สถานศึกษาในสมัยสุโขทัย (1) บ้าน (2) สานักสงฆ์ (3) สานักราชบัณฑิต (4) พระราชสานัก
  • 9. วิชาที่สอนในสมัยสุโขทัย วิชาที่สอน ไม่ได้กาหนดตายตัว พอแบ่งออกได้ดังนี้ 1. วิชาความรูสามัญ สันนิษฐานว่าในช่วงต้นสุโขทัยใช้ภาษาบาลีและสันสกฤตใน ้ การศึกษา ต่อมาในสมัยหลังจากที่พ่อขุนรามคาแหงได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้ เมื่อ พ.ศ. 1826 จึงมีการเรียนภาษาไทยกัน 2. วิชาชีพ เรียนกันตามแบบอย่างบรรพบุรุษ 3. วิชาจริยศึกษา สอนให้เคารพนับถือบรรพบุรุษ การรู้จกกตัญญูรู้คุณการรักษา ั ขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิม และการรู้จักทาบุญให้ทาน ถือศีลในระหว่าง เข้าพรรษา 4. วิชาศิลปะป้องกันตัว เป็นการสอนให้รู้จักการใช้อาวุธ การบังคับสัตว์ที่ใช้เป็น พาหนะในการออกศึกและตาราพิชัยยุทธ
  • 11. รูปแบบการจัดการศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยา 1. การศึกษาวิชาสามัญ เน้นการอ่าน เขียน เรียนเลข พระโหราธิบดีได้แต่ง แบบเรียนภาษาไทย ชื่อ จินดามณี ถวายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช 2.การศึกษาทางด้านศาสนา ชายไทยต้องบวชเรียนเขียนอ่านมาก่อน จึงมีโอกาส ได้เป็นข้าราชการ มีนักสอนศาสนาหรือมิชชันนารีได้จัดตั้งโรงเรียนมิชชันนารี เพื่อชักจูงให้ชาวไทยหันไปนับถือศาสนาคริสต์ 3.การศึกษาทางด้านภาษาศาสตร์และวรรณคดี 4. การศึกษาของผู้หญิง มีการเรียนวิชาชีพ 5.การศึกษาวิชาการด้านทหาร
  • 12. สถานศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยา ในสมัยกรุงศรีอยุธยานี้ยังคงเหมือนกับสมัยสุโขทัยที่ต่าง ออกไป คือ มีโรงเรียนมิชชันนารี เป็นโรงเรียนที่ชาวตะวันตกได้ เข้ามาสร้างเพื่อเผยแพร่ศาสนาและขณะเดียวกันก็สอนวิชาสามัญ ด้วย
  • 13. เนื้อหาวิชาที่สอนในสมัยกรุงศรีอยุธยา 1. วิชาสามัญ มีการเรียนวิชาการอ่าน เขียน เลข ใช้แบบเรียนภาษาไทยจินดามณี 2. วิชาชีพ เรียนรู้กันในวงศ์ตระกูล สาหรับเด็กผู้ชายได้เรียนวิชาวาดเขียน แกะสลัก และช่างฝีมือต่าง ๆ ที่พระสงฆ์เป็นผู้สอนให้ ส่วนเด็กผู้หญิงเรียนรู้การบ้านการเรือน จากพ่อแม่สมัยต่อมาหลังชาติตะวันตกเข้ามาแล้วมีการเรียนวิชาชีพชั้นสูงด้วย เช่น ดาราศาสตร์ การทาน้าประปา การทาปืน การพาณิชย์ แพทยศาสตร์ ตารายา การก่อสร้าง ตาราอาหาร เป็นต้น 3. ด้านอักษรศาสตร์ มีการศึกษาด้านอักษรศาสตร์ มีวรรณคดีหลายเล่มที่เกิดขึ้น เช่น สมุทรโฆษคาฉันท์ และกาศรวลศรีปราชญ์ เป็นต้น อีกทั้งมีการสอนภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และจีน
  • 14. เนื้อหาวิชาที่สอนในสมัยกรุงศรีอยุธยา 3. วิชาจริยศึกษา เน้นการศึกษาด้านพระพุทธศาสนามากขึ้น เช่นในสมัย พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงกวดขันในเรื่องการศึกษาหลักธรรมของ พระพุทธศาสนามาก มีการกาหนดให้ผชายที่เข้ารับราชการทุกคนจะต้อง ู้ เคยบวชเรียนมาแล้ว เกิดประเพณีการอุปสมบทเมื่ออายุครบ 20 ปี นอกจากนี้ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ทรงให้เสรีภาพไม่กีดกันศาสนา ทรงอุปถัมภ์พวกสอนศาสนา เพราะทรงเห็นว่าศาสนาทุกศาสนาต่างสอน ให้คนเป็นคนดี 4. วิชาพลศึกษา ยังคงเหมือนสมัยสุโขทัย
  • 16. การจัดการศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ • สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี เป็นระยะเก็บรวบรวมสรรพตาราจากแหล่งต่าง ๆ ที่รอดพ้นจากการทาลายของพม่า เน้นการทานุบารุงตาราทางศาสนา ศิลปะและวรรณคดี • สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงฟื้นฟูการศึกษาด้าน อักษรศาสตร์ วรรณคดี มีการแต่งรามเกียรติได้เค้าโครงเรื่องมาจากอินเดีย เรื่อง รามายณะ ศิลปะ กฎหมาย เช่น กฎหมายตรา3ดวง และ หลักธรรมทางศาสนา มีการสังคายนาพระไตรปิฎก
  • 17. การจัดการศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ • สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เริมมีชาวยุโรป เช่น ชาติ ่ โปรตุเกสเข้ามาติดต่อทางการค้ากับไทยใหม่ หลังจากเลิกราไปเมื่อประมาณ ปลายสมัยอยุธยา และชาติอื่น ๆ ตามเข้ามาอีกมากมาย เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส ฮอลันดา เป็นต้น เนื่องจากยุโรปมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมทาให้ เปลี่ยนระบบการผลิตจากการใช้มือมาใช้เครื่องจักร พลังงานจากไอน้า สามารถผลิตสินค้าได้มากขึ้นจึงต้องหาแหล่งระบายสินค้า ในสมัยนี้ได้ ส่งเสริมการศึกษาทั้งวิชาสามัญ โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ จริยศาสตร์ มี การตั้งโรงทานหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวังเป็นที่ให้การศึกษา
  • 18. การจัดการศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ • สมัยพระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหว ทรงส่งเสริมการศึกษาด้าน ่ ่ั ศาสนาเป็นพิเศษ มีการจารึกวิชาความรู้สามัญและวิชาชีพลงในแผ่นศิลา ประดับไว้ตามระเบียงวัดพระเชตุพนจนมีผู้กล่าวว่าเป็นมหาวิทยาลัยแห่ง แรกของไทย มีการใช้หนังสือไทยชื่อ ประถม ก กา และประถมมาลา นับเป็นแบบเรียนเล่มที่ 2 และ 3 ต่อจากจินดามณีของพระโหราธิบดี ต่อมานายแพทย์ ดี บี บรัดเลย์ได้นากิจการแพทย์สมัยใหม่ เช่น การ ผ่าตัดเข้ามารักษาคนไข้และการตังโรงพิมพ์หนังสือไทยเป็นครังแรกในปี ้ ้ พ.ศ. 2379 โดยรับจ้างพิมพ์เอกสารทางราชการเรื่องห้ามสูบฝิ่น จานวน 9,000 ฉบับ เมื่อปีพ.ศ. 2382
  • 19. การจัดการศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ • สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว ในสมัยนี้ชาวยุโรป และ ่ั อเมริกันเริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายและสอนศาสนา มีการนาวิทยาการสมัยใหม่ เข้ามาปรับใช้ในเมืองไทยเพิ่มขึ้น และพระองค์ทรงเห็นความสาคัญของ การศึกษาจึงทรงจ้างนางแอนนา เอช เลียวโนเวนส์ มาสอนสมเด็จพระ เจ้าลูกยาเธอ เมือ พ.ศ. 2405 จนรอบรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี ่ ลักษณะการจัดการศึกษาเป็นแบบเดิมทั้งวัดและบ้าน ในส่วนวิชาชีพและ วิชาสามัญ มีอักษรศาสตร์ ธรรมชาติวิทยาหรือวิทยาศาสตร์
  • 20. การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2412 – พ.ศ. 2474) มุ่งให้คนเข้ารับราชการและมีความรู้ทัดเทียมฝรั่งแต่ไม่ใช่ฝรั่ง แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้ • การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว • การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว • การจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • 22. ปัจจัยที่มีผลในการปฏิรูปการศึกษาครั้งนี้ 1. แนวคิดและวิทยาการต่างๆ ของชาติตะวันตก ซึ่งคณะมิชชันมารีได้นา วิทยาการเข้ามาเผยแพร่ 2. ภัยจากการคุมคามของประเทศมหาอานาจ 3. ความต้องการบุคคลทีมีความรู้ความสามารถเข้ามารับราชการ ่ 4. โครงสร้างของสังคมไทยได้มการเปลี่ยนแปลง โดยมีการเลิกทาสและมีการติดต่อ ี กับต่างประเทศมากขึ้น 5. การที่พระองค์ได้เสด็จต่างประเทศทั้งในเอเชียและยุโรป ทาให้ได้แนวความคิด เพื่อนามาปฏิรูปการศึกษาและใช้เป็นแนวทางพัฒนาบ้านเมือง
  • 23. การจัดตั้งสถานศึกษา • ปี พ.ศ. 2414 จัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง เพื่อฝึกคนให้เข้ารับ ราชการ มีพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ในขณะนั้นเป็นหลวงสาร ประเสริฐเป็นอาจารย์ใหญ่ • ปี พ.ศ. 2423 จัดตั้งโรงเรียนสุนันทาลัยในพระบรมมหาราชวังเป็นโรงเรียนสตรี • ปี พ.ศ. 2424 ปรับปรุงโรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบให้เป็นโรงเรียน นายทหารมหาดเล็ก ต่อมาได้กลายเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนในปี พ.ศ. 2453 และปี พ.ศ. 2459 ได้ตั้งเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 24. การจัดตั้งสถานศึกษา (ต่อ) • ปี พ.ศ. 2425 จัดตั้งโรงเรียนแผนที่และในปี พ.ศ.2427 จัดตั้งโรงเรียนหลวง สาหรับราษฎรขึ้นตามวัดในกรุงเทพมหานครหลายแห่ง และแห่งแรก คือ โรงเรียนมหรรณพาราม • ปี พ.ศ. 2432 ตั้งโรงเรียนแพทย์ขึ้น เรียกว่า โรงเรียนแพทยากร ตั้งอยู่ที่ริม แม่น้าหน้าโรงพยาบาลศิริราช ใช้เป็นที่สอนวิชาแพทย์แผนปัจจุบัน
  • 25. การจัดตั้งสถานศึกษา (ต่อ) • ปี พ.ศ. 2435 จัดตั้งโรงเรียนมูลศึกษาขึ้นในวัดทั่วไปทั้งในกรุงเทพมหานครและ หัวเมือง โดยประสงค์จะขยายการศึกษาเล่าเรียนหนังสือไทยให้แพร่หลายเป็นแบบ แผนยิ่งขึ้น และตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเป็นแห่งแรกที่ตาบลโรงเลี้ยงเด็ก ต่อมาย้ายไป อยู่ที่วัดเทพศิรินทราวาส • ปี พ.ศ. 2437 นักเรียนฝึกหัดครูชุดแรก 3 คนสาเร็จการศึกษาได้รับ ประกาศนียบัตรเป็นครูสอนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ • ปี พ.ศ. 2449 ย้ายโรงเรียนฝึกหัดครู ซึ่งตั้งอยู่ทวัดเทพศิริทราวาส ไปรวมกับ ี่ โรงเรียนฝึกหัดครูฝั่งตะวันตก (บ้านสมเด็จเจ้าพระยา) ปรับปรุงหลักสูตรให้สูงขึ้น เป็น โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์สอนหลักสูตร 2 ปี รับนักเรียนที่สาเร็จมัธยมศึกษา • ปี พ.ศ. 2456 ตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูหญิงขึ้นเป็นครั้งแรกที่โรงเรียนเบญจมราชาลัย
  • 26. การบริหารการศึกษา เมื่อจานวนโรงเรียนเพิ่มมากขึ้นจึงจาเป็นต้องมีหน่วยงานรับผิดชอบ การศึกษาเป็นส่วนหนึ่งต่างหาก เช่น ปี พ.ศ. 2430 ทรงโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้ง กรมศึกษาธิการโดยโอนโรงเรียนที่สังกัดกรมทหารมหาดเล็กมาทั้งหมด ให้กรมหมื่น ดารงราชานุภาพเป็นผู้บัญชาการอีกตาแหน่งหนึ่ง ปี พ.ศ. 2432 รวมกรม ศึกษาธิการเข้าไปอยู่ในบังคับบัญชาของกรมธรรมการ และ ปีพ.ศ. 2435 ประกาศ ตั้งกระทรวงธรรมการ มีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) เป็นเสนาบดี มี หน้าที่ในการจัดการศึกษา การพยาบาล พิพิธภัณฑ์และศาสนา
  • 27. การจัดแบบเรียนหลักสูตร และการสอบไล่ • ปี พ.ศ. 2414 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียบเรียงแบบเรียนหลวงขึ้น 1 เล่ม ชุดมูลบรรพกิจ เพื่อใช้เป็นบท หลักสูตรวิชาชั้นต้น • ปี พ.ศ. 2427 กาหนดหลักสูตรชั้นประโยคหนึ่ง โดยอนุโลมตามแบบเรียนหลวง หกเล่ม นับเป็นปีแรกที่จัดให้มีการสอบไล่วิชาสามัญ และมีการกาหนดหลักสูตรชั้น ประโยคสอง ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เกี่ยวกับวิชาสามัญศึกษา หมายถึง ความรู้ตาง ๆ ที่ ่ ต้องการใช้สาหรับเสมียนในราชการพลเรือนตามกระทรวงต่าง ๆ
  • 28. การจัดแบบเรียนหลักสูตร และการสอบไล่ (ต่อ) • ปี พ.ศ. 2431 กรมศึกษาธิการ จัดทาแบบเรียนเร็วใช้แทนแบบเรียนหลวงชุดเดิม ผู้แต่งคือ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร (กรมพระยาดารงราชานุภาพ) 1 ชุด มี 3 เล่ม • ปี พ.ศ. 2433 ประกาศใช้พระราชบัญญัติวิชา พ.ศ. 2433 มีผลทาให้หลักสูตร ภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ประโยค หลักสูตรภาษาอังกฤษแบ่งออกเป็น 6 ชั้น • ปี พ.ศ. 2434 ได้แก้ไขการสอบไล่จากเดิมปีละครั้งเป็นปีละ 2 ครั้งเพื่อไม่ให้ นักเรียนเสียเวลานานเกินไป
  • 30. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา (1) พระบรมราชโชบายในการปกครองประเทศ เพื่อให้ประเทศมีความ เจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับนานาประเทศ โดยการส่งทหารไปร่วมกับฝ่าย สัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 1 นอกจากนี้พระองค์ทรงสร้างความรู้สึก ชาตินิยมในหมู่ประชาชนชาวไทยโดยมีสาระสาคัญของอุดมการณ์ชาตินิยม คือ ความรักชาติ ความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และความยึดมั่นใน พุทธศาสนา (2) พระองค์ทรงศึกษาวิชาการจากต่างประเทศ และเมื่อเสด็จกลับมาแล้ว พระองค์ได้ทรงนาเอาแบบอย่างและวิธีการที่เป็นประโยชน์มาใช้เป็นหลัก ในการปรับปรุงการศึกษา เช่น ทรงนาเอาวิชาลูกเสือจากประเทศอังกฤษ เข้ามาจัดตั้งกองเสือป่า
  • 31. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา (ต่อ) (3) ผลอันเนื่องจากการจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมือคนส่วนมากที่ได้รับการศึกษา มีความรู้และ ่ แนวคิดเกี่ยวกับการปกครองประเทศในระบอบรัฐธรรมนูญในระบบรัฐสภา จึงมีความปรารถนาจะเปลี่ยนแปลงการปกครองไปเป็นระบอบ ประชาธิปไตย (4) ปัญหาอันเกิดจากคนล้นงานและคนละทิ้งอาชีพและถิ่นฐานเดิม มุ่งที่จะ หันเข้าสู่อาชีพราชการมากเกินไป
  • 32. วิวัฒนาการในการจัดการศึกษา • ปี พ.ศ. 2453 ประกาศตังโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเพื่อฝึกคนเข้ารับราชการตาม ้ กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ และต่อมาปี พ.ศ. 2459 ได้ประกาศยกฐานะ โรงเรียนข้าราชการพลเรือนนี้ ขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเป็น มหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย • ปี พ.ศ. 2454 ตังกองลูกเสือหรือเสือป่าขึนเป็นครังแรกโครงการศึกษาพ.ศ. ้ ้ ้ 2456 และฉบับแก้ไข พ.ศ. 2458 โดยมุ่งให้ประชาชนมีความรูทางด้านการทามา ้ หาเลี้ยงชีพตามอัตภาพของตน พยายามที่จะเปลี่ยนค่านิยมของประชาชนไม่ให้มุ่งที่ จะเข้ารับราชการอย่างเดียว • ปี พ.ศ. 2459 จัดตั้งกองลูกเสือหญิงและอนุกาชาดโรงเรียนกุลสตรีวังหลังและได้ จัดตั้งกองลูกเสือหญิงขึ้น เรียกว่า เนตรนารี
  • 33. วิวัฒนาการในการจัดการศึกษา • ปี พ.ศ. 2461 มีการปรับปรุงและขยายฝึกหัดครูขึ้นโดยโอนกลับมาขึ้นกับ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเดิมเป็นแผนกหนึ่งของโรงเรียนข้าราชการพลเรือน • ปี พ.ศ. 2461 ประกาศใช้พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ และ • ปี พ.ศ. 2464ปรับปรุงโครงการศึกษาชาติ โดยวางโครงการศึกษาขึ้นใหม่ เพื่อส่งเสริมให้ทามาหาเลี้ยงชีพ นอกเหนือจากทาราชการ • ปี พ.ศ. 2464 ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษาบังคับให้เด็กทุกคนที่มีอายุ 7 ปี บริบูรณ์หรือย่างเข้าปีที่ 8 ให้เรียนอยู่ในโรงเรียนจนถึงอายุ 14 ปี บริบูรณ์หรือย่างเข้าปีที่ 15 โดยไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน และมีการเรียกเก็บ เงินศึกษาพลีจากประชาชนคนละ 1- 3 บาทเพือนาไปใช้จ่ายในการจัด ่ ดาเนินการประถมศึกษา
  • 35. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา (1) ปัญหาการเมืองที่เกิดขึ้นภายในประเทศ (2) ปัญหาสืบเนื่องจากอิทธิพลจักรวรรดินิยมตะวันตก (3) ปัญหาสืบเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่า (4) ปัญหาสืบเนื่องจากการประกาศใช้กฎหมายการศึกษา คือ พระราชบัญญัติประถมศึกษา ทาให้การศึกษาแพร่หลายออกไป แต่ขาดความพร้อมทางด้านงบประมาณการศึกษา
  • 36. วิวัฒนาการในการจัดการศึกษา (1) ปี พ.ศ. 2473 ยกเลิกการเก็บเงินศึกษาพลีคนละ 1 – 3 บาท จาก ผู้ชายทุกคนที่มีอายุระหว่าง 16 - 60 ปี โดยใช้เงินจากกระทรวงพระ คลังมหาสมบัติอุดหนุนการศึกษาแทน (2) ปี พ.ศ. 2474 ปรับปรุงกระทรวงธรรมการเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะ เศรษฐกิจตกต่าของประเทศ โดยยุบกรมสามัญศึกษาในตอนนั้น กระทรวง ธรรมการจึงมีหน่วยงานเพียง 3 หน่วยคือ กองบัญชาการ กองตรวจ การศึกษากรุงเทพ ฯ และกองสุขาภิบาลโรงเรียน (3) ยกเลิกระเบียบว่าด้วยการควบคุมแบบเรียน
  • 38. วิวัฒนาการในการจัดการศึกษา (1) มีการประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็น ระบอบประชาธิปไตยแล้ว โดยจัดตั้งคณะกรรมการการศึกษาและทรงพระ กรุณาโปรดเกล้า ๆ ให้ตั้งสภาการศึกษา พ.ศ. 2475 ประกาศใช้ แผนการศึกษาชาติ ต่อมามีการปรับปรุงการจัดการศึกษาภาคบังคับจาก 6 ปี เหลือ 4 ปี และประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2479 (2) การมอบให้ท้องถิ่นจัดการศึกษา พ.ศ. 2476 และยกฐานะท้องถิ่นขึน ้ เป็นเทศบาลตราพระราชบัญญัติเทศบาลขึ้น และเทศบาลได้จัดการศึกษา อย่างแท้จริงใน พ.ศ. 2478 (3) การปรับปรุงหน่วยงานที่มีส่วนรับผิดชอบในการจัดการศึกษา
  • 39. อ้างอิง ระบบการศึกษาไทย http://210.1.19.168/multimedia/tun/Thai_learning/learning.html แผนการศึกษาแห่งชาติ ( พ.ศ.2545 – 2559 ) - ฉบับเต็ม http://www.onec.go.th/plan/surang/s_fullplan/fullplan.pdf - ฉบับสรุป http://www.onec.go.th/plan/surang/s_shortplan/shortplan.pdf