SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
จัดทำโดย น.ส. รัตยา  สอนดี  รหัส 15012048 คณะ ครุศาสตร์  โปรแกรม คณิตศาสตร์
เรื่อง กระบวนการคิด
ความหมายของกระบวนการคิด
ความหมายของการกระบวนการคิด   ,[object Object]
[object Object]
แสดงสมองของมนุษย์
เหตุของการคิด
เหตุของการคิด  ต้นเหตุของการคิดคือสิ่งเร้าที่เป็นปัญหา  หรือสิ่งเร้าที่เป็นความต้องการหรือสิ่งเร้าที่ชวนสงสัย ซึ่งมี รายละเอียดดังนี้   ,[object Object],[object Object],[object Object]
3)  สิ่งเร้าที่ชวนสงสัย  เป็นสิ่งเร้าแปลก ๆ ใหม่ ๆ ที่มากระตุ้นให้สงสัย อยากรู้ ซึ่งในสภาพการณ์เดียวกัน สิ่งเร้าเดียวกัน บางคนอาจไม่อยากรู้ก็ไม่เกิดการคิด  แต่บางคนก็อยากรู้ซึ่งอาจเกิดจากบุคลิกภาพประจำตัวที่เป็นคนช่างคิด  ช่างสงสัย ทำให้ต้องการคำตอบเพื่อตอบข้อสงสัย นั้น ๆ ซึ่งลักษณะเช่นนี้ ควรได้รับการฝึกฝนและพัฒนาต่อ ๆ ไป   2)  สิ่งเร้าที่เป็นความต้องการ  เป็นความต้องการสิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิมในแง่ ต่าง ๆ เช่น ต้องการลดต้นทุนในการผลิตสินค้า ต้องการทำงานโดยใช้เวลาน้อยลงต้องการความปลอดภัยมากขึ้น จึงต้องการการคิด  ( Want to think ) มาเพื่อทำให้ความต้องการหมดไป
ผลของการคิด
ผลของการคิด  คือคำตอบหรือวิธีการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อนำไปแก้ปัญหาที่พบ หรือเพื่อให้ความต้องการ หรือความสงสัยลดลงหรือหมดไป ผลของการคิดได้แก่   ,[object Object],[object Object],[object Object],2)  แนวคิด ความรู้ ทางเลือก และสิ่งประดิษฐ์  ซึ่งเป็นสิ่งใหม่ ๆ
แสดงกระบวนการคิดของมนุษย์
ประเภทของกระบวนการคิด
[object Object],[object Object],การคิดแบ่งออกได้หลายประเภท แล้วแต่ว่าจะยึด คุณลักษณะใดเป็นหลักในการแบ่ง ในที่นี้แบ่งตาม ลักษณะทั่ว ๆ ไป ซึ่งแบ่งออกได้  2  ประเภทคือ
1.   การคิดประเภทสัมพันธ์   (Associative Thinking)  เป็นการคิดที่ไม่ มีจุดมุ่งหมาย เกิดจากสิ่งเร้ามากระตุ้นให้เกิดสัญลักษณ์ในสมองแทน เหตุการณ์หรือวัตถุต่าง ๆ เช่น   ก  .  การฝันกลางวัน   (Day Dreaming)  เป็นการคิดเพ้อฝันในขณะที่ยังตื่นอยู่ ฝันโดยรู้ตัว เช่น ขณะที่กำลังนั่งเรียนอยู่ นักศึกษาอาจคิดฝันไปว่าตนเองกำลังเดินเล่นตามชายหาด   ข  .  การฝันกลางคืน   ( Night Dreaming)  เป็นการฝันโดยไม่รู้ตัว มักเกิดในขณะหลับ เช่น  ฝันถึงเรื่องราวต่าง ๆ ซึ่ง   เมื่อตื่นขึ้นบางทีอาจจำความฝันได้หรือบางทีก็จำไม่ได้   ค  .  การคิดที่เป็นอิสระ   (Free Association)  เป็นการคิดที่ไม่มีจุดมุ่งหมาย เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะทำให้คิดถึงเรื่องอื่น ๆ ที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ
2. การคิดโดยตรงที่ใช้ในการแก้ปัญหา   ( Directed Thinking)  เป็นการคิดหาเหตุผลและมีจุดมุ่งหมาย แบ่งออกได้  2  ประเภทคือ  ก  .  การคิดเชิงวิจารณ์   (Critical Thinking)  เป็นการคิดเกี่ยวกับข้อเท็จจริงหรือสถาน การณ์ต่าง ๆ ว่าถูกหรือผิดโดยใช้เหตุผลประกอบซึ่งการให้เหตุผลนั้นมี  2  แบบคือ การคิดแบบอนุมาน (Deductive Thinking)  เป็นการคิดหาเหตุผลในการหาคำตอบจาก หลักเกณฑ์ที่มีอยู่ และ  การคิดแบบอุปมาน (InductiveThinking)  เป็นการคิดหาเหตุผลใน การสรุปหลักเกณฑ์จากข้อมูลที่สังเกตได้   ข .  การคิดสร้างสรรค์   (Creative Thinking)  หมายถึงกระบวนการคิดการกระทำผลงาน ใหม่ๆ ที่มนุษย์คิดและประดิษฐ์ขึ้น โดยทั่วไปความคิดสร้างสรรค์จะเกิดขึ้นได้สองลักษณะ คือ เกิดจากความคิดริเริ่มประดิษฐ์อะไรใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีใครคิดมาก่อน และเกิดจากการ คิดดัดแปลงสิ่งเดิมที่มีอยู่แล้วให้เป็นประโยชน์แก่มนุษย์

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie การนำเสนองาน

บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12PaChArIn27
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.ya035
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Jan Sirinoot
 
Six Thinking Hats.
Six Thinking Hats.Six Thinking Hats.
Six Thinking Hats.guest657867
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์Sansana Siritarm
 

Ähnlich wie การนำเสนองาน (20)

งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12
 
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
51105
5110551105
51105
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
Six Thinking Hats.
Six Thinking Hats.Six Thinking Hats.
Six Thinking Hats.
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
 

การนำเสนองาน

  • 1. จัดทำโดย น.ส. รัตยา สอนดี รหัส 15012048 คณะ ครุศาสตร์ โปรแกรม คณิตศาสตร์
  • 4.
  • 5.
  • 8.
  • 9. 3) สิ่งเร้าที่ชวนสงสัย เป็นสิ่งเร้าแปลก ๆ ใหม่ ๆ ที่มากระตุ้นให้สงสัย อยากรู้ ซึ่งในสภาพการณ์เดียวกัน สิ่งเร้าเดียวกัน บางคนอาจไม่อยากรู้ก็ไม่เกิดการคิด แต่บางคนก็อยากรู้ซึ่งอาจเกิดจากบุคลิกภาพประจำตัวที่เป็นคนช่างคิด ช่างสงสัย ทำให้ต้องการคำตอบเพื่อตอบข้อสงสัย นั้น ๆ ซึ่งลักษณะเช่นนี้ ควรได้รับการฝึกฝนและพัฒนาต่อ ๆ ไป 2) สิ่งเร้าที่เป็นความต้องการ เป็นความต้องการสิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิมในแง่ ต่าง ๆ เช่น ต้องการลดต้นทุนในการผลิตสินค้า ต้องการทำงานโดยใช้เวลาน้อยลงต้องการความปลอดภัยมากขึ้น จึงต้องการการคิด ( Want to think ) มาเพื่อทำให้ความต้องการหมดไป
  • 11.
  • 14.
  • 15. 1. การคิดประเภทสัมพันธ์ (Associative Thinking) เป็นการคิดที่ไม่ มีจุดมุ่งหมาย เกิดจากสิ่งเร้ามากระตุ้นให้เกิดสัญลักษณ์ในสมองแทน เหตุการณ์หรือวัตถุต่าง ๆ เช่น ก . การฝันกลางวัน (Day Dreaming) เป็นการคิดเพ้อฝันในขณะที่ยังตื่นอยู่ ฝันโดยรู้ตัว เช่น ขณะที่กำลังนั่งเรียนอยู่ นักศึกษาอาจคิดฝันไปว่าตนเองกำลังเดินเล่นตามชายหาด ข . การฝันกลางคืน ( Night Dreaming) เป็นการฝันโดยไม่รู้ตัว มักเกิดในขณะหลับ เช่น ฝันถึงเรื่องราวต่าง ๆ ซึ่ง เมื่อตื่นขึ้นบางทีอาจจำความฝันได้หรือบางทีก็จำไม่ได้ ค . การคิดที่เป็นอิสระ (Free Association) เป็นการคิดที่ไม่มีจุดมุ่งหมาย เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะทำให้คิดถึงเรื่องอื่น ๆ ที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ
  • 16. 2. การคิดโดยตรงที่ใช้ในการแก้ปัญหา ( Directed Thinking) เป็นการคิดหาเหตุผลและมีจุดมุ่งหมาย แบ่งออกได้ 2 ประเภทคือ ก . การคิดเชิงวิจารณ์ (Critical Thinking) เป็นการคิดเกี่ยวกับข้อเท็จจริงหรือสถาน การณ์ต่าง ๆ ว่าถูกหรือผิดโดยใช้เหตุผลประกอบซึ่งการให้เหตุผลนั้นมี 2 แบบคือ การคิดแบบอนุมาน (Deductive Thinking) เป็นการคิดหาเหตุผลในการหาคำตอบจาก หลักเกณฑ์ที่มีอยู่ และ การคิดแบบอุปมาน (InductiveThinking) เป็นการคิดหาเหตุผลใน การสรุปหลักเกณฑ์จากข้อมูลที่สังเกตได้ ข . การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) หมายถึงกระบวนการคิดการกระทำผลงาน ใหม่ๆ ที่มนุษย์คิดและประดิษฐ์ขึ้น โดยทั่วไปความคิดสร้างสรรค์จะเกิดขึ้นได้สองลักษณะ คือ เกิดจากความคิดริเริ่มประดิษฐ์อะไรใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีใครคิดมาก่อน และเกิดจากการ คิดดัดแปลงสิ่งเดิมที่มีอยู่แล้วให้เป็นประโยชน์แก่มนุษย์