SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 59
รายวิชา ENV 2103 สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
สุทธิวัฒน์ บุญเลิศ
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม
• แนวคิดในการพัฒนา
• การพัฒนาในยุคต่าง ๆ
• การพัฒนาทางเศรษฐกิจและ
อุตสาหกรรม
• ผลกระทบจากการพัฒนาต่อสิ่ง
แวดล้อมและคุณภาพชีวิต
หัวข้อการศึกษา
•การดำาเนินการเพื่อก่อให้เกิดความ
เปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
•มีแผนหรือ กรอบสำาหรับใช้เป็น
แนวทางปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
( การพัฒนาเศรษฐกิจ, การพัฒนาการ
เกษตร, การพัฒนาชนบท ฯลฯ)
การพัฒนา
• ความเจริญซึ่งนับเป็นความก้าวหน้าที่จะ
เกิดขึ้นแก่สังคมและประชาชน
• ความทันสมัย = การเปลี่ยนแปลงจาก
สังคมแบบเก่าไปสู่สังคมก้าวหน้า
การพัฒนา
• สภาวะที่เศรษฐกิจของประเทศหนึ่งๆ
สามารถทำาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวม
ประชาชาติ (GNP) เพิ่มสูงขึ้นและ
สามารถรักษาระดับนั้นไว้ได้
• เป็นสภาวะที่ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่
การพัฒนา
• การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิตและ
การจ้างงาน
ลดสัดส่วนของภาคเกษตรกรรม เพิ่ม
สัดส่วนภาคอุตสาหกรรมและบริการ
การพัฒนา
การพัฒนา
สรุป
การพัฒนา คือ การ
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
ผลที่เกิดจากการพัฒนา
• เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
(ทางบวก)
•
กรณีตัวอย่างการพัฒนาด้านการ
คมนาคมขนส่ง
1.แนวคิดที่เน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ
2.แนวคิดที่เน้นความจำาเป็นพื้นฐาน
(Basic needs)
3.แนวคิดที่เน้นความสำาคัญของระบบ
นิเวศ
1. แนวคิดที่เน้นการเติบโต
ทางเศรษฐกิจ
 ให้ความสำาคัญแก่อุตสาหกรรมซึ่งถือว่าเป็น
ภาคเศรษฐกิจก้าวหน้า
 มองว่าการเกษตรเป็นภาคเศรษฐกิจล้าหลัง
 ทางที่จะเร่งพัฒนาเศรษฐกิจได้ต้องเร่ง
2. แนวคิดที่เน้นความจำาเป็นพื้น
ฐาน (Basic needs)
 มุ่งให้คนจนได้รับความจำาเป็นพื้นฐานใน
ชีวิต
 การมีรายได้จากการทำางานและ การได้
 ข้อบกพร่องของแนวคิดที่ 1 (เน้นการ
เติบโตทางเศรษฐกิจ) : ละเลยการกระจาย
รายได้และความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดี
ขึ้น
ของระบบนิเวศ
และความสามารถในการ
รองรับ (carrying capacity)
ระบบนิเวศมีความเกี่ยวพันกันอย่างแนบ
แน่น และส่งผลกระทบถึงกันและกันไม่ทาง
ของระบบนิเวศ
และความสามารถในการ
รองรับ (carrying capacity)
ต้องมีการควบคุมการเติบโตของประชากร
มิเช่นนั้นประชากรอาจจะมีมากเกินความ
สามารถที่สิ่งแวดล้อมจะรองรับได้
4. แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
แนวทางการพัฒนาแบบอื่น ๆ สร้างปัญหา
และ นำาไปสู่ความ
ไม่ยั่งยืนของสังคมและสิ่งแวดล้อม
4. แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
กระบวนการพัฒนาควรประกอบด้วย 3
ขั้นตอน คือ
- การกำาหนดวิสัยทัศน์ของการพัฒนา
- การสร้างความร่วมมือ
ถูกกำาหนดขึ้นในการประชุมสิ่งแวดล้อม
โลก Earth Summit
ที่ประชุมได้ร่วมกันทำาแผนปฏิบัติการเพื่อ
ศตวรรษที่ 21 เรียกว่าแผนปฏิบัติการ 21
(Agenda 21)
สาระสำาคัญคือ คน ต้องเป็นศูนย์กลาง
ของการพัฒนาที่ยั่งยืนและคนต้องมี
ชีวิตที่แข็งแรง มีประสิทธิภาพ และ
4. แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
• การพัฒนาในอดีต
•เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุด:
ประเทศต่างๆในโลกที่ยากจน
ต่างมีนโยบายเศรษฐกิจที่
ให้ความสำาคัญสูงสุดในเรื่อง
ของการพัฒนา
การพัฒนาในยุคต่างๆ
•“ยุทธศาสตร์ของการเจริญเติบโต”
(Growth strategy)
 การขยายตัวการผลิตของชาติ
 ขึ้นอยู่กับการเพิ่มประสิทธิภาพของ
ปัจจัยการผลิต
(เช่น ทุนและแรงงาน)
การพัฒนาในอดีต
การพัฒนาของ
ประเทศไทย
•มีสภาพเศรษฐกิจแบบตามมีตามเกิด
•รายได้ของประเทศขึ้นอยู่กับการส่ง
ออกข้าว, ไม้สัก, ยางพารา (ได้มาจาก
ธรรมชาติ)
•ประชาชนกระจายอยู่กันทั่วไปตาม
ชนบทและตามพื้นที่ที่มีที่ดินในการ
เพาะปลูก มีนำ้าไว้กินไว้ใช้ในการ
ประกอบอาชีพและบริโภคในครัวเรือน
ยุคก่อนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ
•ตัวเมืองหรือ ส่วนราชการ จะเป็นชุมชน
สำาคัญทั้งในด้านการบริการและ ธุรกิจการ
ค้า
•การขนส่งของจังหวัดต่างๆ การ
สาธารณูปโภค การแพทย์
สาธารณสุข และการศึกษาจึงมีอยู่อย่าง
จำากัด
ยุคก่อนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ
•เฉพาะในกรุงเทพเท่านั้นที่จะมี
สาธารณูปโภคและ ความสะดวกสบาย
•ไทยล้าหลัง (ด้อยพัฒนา) เมื่อเปรียบเทียบ
โดยมาตรฐานของยุโรปและอเมริกา
ยุคก่อนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ
ยุคก่อนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติไทยต้องการพ้น
จากการด้อยพัฒนา
ไทยต้องการพ้น
จากการด้อยพัฒนา
• การลงทุนด้านสาธารณูปโภค
• การเพิ่มรายได้
• การจัดการศึกษาให้ทั่วถึง
• การดูแลสุขภาพอนามัยของประชาเงินเงิน
ขอความช่วยเหลือจากต่าง
ประเทศ
ขอความช่วยเหลือจากต่าง
ประเทศ
•ต่างประเทศจะให้การช่วยเหลือ ก็ต่อเมื่อ
มีการเสนอโครงการและแผนการที่
แน่นอนชัดเจน
 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
•ต้องเป็นไปตามโครงสร้างและความ
พอใจของประเทศที่จะให้ความช่วย
เหลือ
ยุคก่อนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ
•แผนพัฒนาที่ใช้ = ข้อเสนอแนะและ
มาตรฐานการพัฒนาของประเทศตะวัน
ตก
•แผนพัฒนาทำาขึ้นโดยข้าราชการที่ไป
เรียนมาจากประเทศตะวันตก
•แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่
1 (พ.ศ. 2505-2509) = อยู่บน
รากฐานของวิถีชีวิตและองค์ประกอบที่มี
อยู่ตามแบบตะวันตก
ยุคก่อนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติสังคมแห่งชาติ
แผนฯ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504 –
2509)
ยุคทองของการวางแผนเศรษฐกิจ (เป็น
แผนฉบับเดียวที่มีระยะเวลา 6 ปี)
 “วางแผนจากส่วนกลางแบบ จากบนลง
”ล่าง
ใช้แนวคิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
(Development with growth)
แผนฯ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504 –
2509)
เน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
(คมนาคมขนส่ง, โทรคมนาคม, เขื่อนเพื่อ
ชลประทาน,ไฟฟ้า) เพื่อสนับสนุนให้เกิด
การลงทุนของภาคเอกชน และเพิ่มผลผลิต
สาขาเกษตรและอุตสาหกรรม
มุ่งยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชน
(รายได้)
ปรับปรุงการบริหารงานทุกด้านให้มี
ประสิทธิภาพ
แผนฯ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504 –
2509)
สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ
1
1. เศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยู่กับภาค
เกษตร
2. เศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ย 8.7 % ต่อปี
(เป้าหมาย 5%)
รายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ้น มูลค่าการส่งออก
ขยายตัวรวดเร็ว
3. อัตราเพิ่มของประชากรสูงขึ้น (3% ต่อปี)
แผนฯ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 – 2514)
ยุคทองของการพัฒนา
 แนวคิดการวางแผนพัฒนารายสาขา และ
ขยายขอบเขตแผนครอบคลุมการพัฒนา
รัฐวิสาหกิจ
 ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานต่อเนื่องจาก
แผนฯ 1
 พัฒนาชนบทเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง และ
กระจายผลการพัฒนา
 ส่งเสริมเอกชนให้มีบทบาทร่วมในการ
พัฒนาประเทศ
แผนฯ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 – 2514)
ยุคทองของการพัฒนา
สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วง
แผนฯ 2
1.ปัญหาความแตกต่างด้านรายได้ มีช่องว่าง
รายได้เพิ่มขึ้น
2.เศรษฐกิจขยายตัว 7.2% ต่อปี ตำ่ากว่าเป้า
หมาย
3. เศรษฐกิจถดถอยหลังจากขยายตัวมาเป็น
10 ปี
แผนฯ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515 – 2519)
การพัฒนาสังคมควบคู่เศรษฐกิจ
มีการวางแผนพัฒนาสังคมและวัตถุประสงค์
การพัฒนาที่หลากหลาย (Growth + Social
fairness + Income distribution)
 กระจายการพัฒนาสู่ภูมิภาค เร่งรัดพัฒนา
ภาคและชนบท
แผนฯ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515 – 2519)
การพัฒนาสังคมควบคู่เศรษฐกิจ
เน้นการเพิ่มผลผลิตการเกษตร เพิ่มรายได้
ประชาชนในชนบท
เพื่อลดความต่างของรายได้
 สร้างความเท่าเทียมในการใช้ประโยชน์
จากบริการของรัฐ โดยเฉพาะด้านการ
ศึกษาและสาธารณสุข
แผนฯ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515 – 2519)
การพัฒนาสังคมควบคู่เศรษฐกิจ
สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ
3
ปัญหาการกระจายรายได้ และความไม่เท่า
เทียมในการเข้าถึงบริการรัฐมีความรุนแรง
เศรษฐกิจขยายตัว 6.5 % ราคานำ้ามันเพิ่ม
ขึ้น 4 เท่า (วิกฤตินำ้ามันครั้งแรก)
แผนฯ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515 – 2519)
การพัฒนาสังคมควบคู่เศรษฐกิจ
สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ
3
 อัตราเงินเฟ้อสูงถึง 15.5% (ปี 16) =
เศรษฐกิจซบเซาช่วงหลังแผน 3
 การเมืองมีความผันผวนเปลี่ยนแปลงรัฐบาล
บ่อยครั้ง เศรษฐกิจโลกตกตำ่า นำ้ามันแพง
 ราคาสินค้าเกษตรตกตำ่า, การว่างงานเพิ่ม
ขึ้น
แผนฯ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520 – 2524)
เร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม
 พัฒนาต่อเนื่องจากแผนฯ 3 : ยึดถือความ
มั่นคงปลอดภัยของชาติเป็นพื้นฐานของการ
พัฒนา
 เร่งฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของ
ประเทศให้มั่นคง
 เสริมสร้างสวัสดิภาพทางสังคมแก่คนในชาติ
> การขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็นหลัก
แผนฯ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520 – 2524) เร่ง
ฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม
สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ
4
 ยุคการเมืองรุนแรง พรรคคอมมิวนิสต์
ขยายตัว
 การพัฒนาด้านประสิทธิภาพการผลิต
ภาคเกษตรตำ่า
 เศรษฐกิจขยายตัว 7.4% เงินเฟ้อสูงถึง
11.7% และขาดดุลการค้า
แผนฯ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525 – 2529)
การแก้ไขปัญหาและปรับสู่ การพัฒนายุค
ใหม่
วางแผนโดยยึดหลักภูมิภาคและพื้นที่
 กำาหนดพื้นที่เป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาความ
ยากจน เพื่อความมั่นคง และพื้นที่รองรับ
อุตสาหกรรม
เน้นการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจมากกว่า
การมุ่งขยายอัตราความเจริญทางเศรษฐกิจ
แผนฯ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525 –
2529)
การแก้ไขปัญหาและปรับสู่ การ
พัฒนายุคใหม่
 พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนความ
สมดุล
 พัฒนาการแปลงแผนไปสู่ภาคปฏิบัติ
 เพิ่มบทบาทและระดมความร่วมมือจาก
แผนฯ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525 – 2529)
การแก้ไขปัญหาและปรับสู่ การพัฒนายุค
ใหม่
สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ
5
แผนพัฒนาชนบท เพื่อแก้ไขปัญหา
ยากจนในชนบท
แผนพัฒนาเชิงรุก, แผนพัฒนาเพื่อความ
มั่นคง
 เศรษฐกิจขยายตัวต่าเทียบกับช่วงแผนฯ ที่
แผนฯ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530 – 2534)
การจัดทำาแผนสู่ระดับกระทรวง
 กำาหนดขอบเขตและวิธีการใช้แผนฯ ที่
ชัดเจน (ระยะสั้น กลาง ยาว และแผนปฏิบัติ
ระดับกระทรวง)
 เพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาประเทศทั้ง
ด้านทรัพยากรมนุษย์ พัฒนาวิทยาศาสตร์และ
การบริหารจัดการ
 ปรับปรุงระบบการผลิตและการตลาด
 ยกระดับคุณภาพปัจจัยพื้นฐานเพื่อลดต้นทุน
แผนฯ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530 – 2534)
การจัดทำาแผนสู่ระดับกระทรวง
สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 6
 หนี้ต่างประเทศลดลง ทุนสำารองเพิ่มขึ้น
 เศรษฐกิจฟื้นตัวและ ขยายตัว 10.9% ต่อปี
(สูงสุดในรอบ 25 ปี ที่ผ่านมา)
 การจ้างงานภาคอุตสาหกรรม/บริการเพิ่ม
ขึ้น
 ปัญหาความเหลื่อมลำ้ารายได้ระหว่างกลุ่มครัว
เรือน และชนบทกับเมืองมากขึ้น
แผนฯ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535 – 2539)
การพัฒนาที่ยั่งยืน
เริ่มแนวคิด “ ”การพัฒนาที่ยั่งยืน
(Sustainable Development)
มุ่งสู่เศรษฐกิจมีเสถียรภาพ รักษาอัตราการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กระจายการพัฒนาสู่
ภูมิภาคและชนบท และพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่ง
แวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ
พัฒนาเศรษฐกิจสู่เศรษฐกิจด่านหน้าในภูมิภาค
และยกระดับสู่ระดับนานาชาติ
แผนฯ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535 – 2539)
การพัฒนาที่ยั่งยืน
สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ
7
 รายได้ต่อหัวเพิ่มถึง 28 เท่าจากแผนฯ
1 เป็น 77,000 บาท
 เศรษฐกิจขยายตัว 8.1% ต่อปี เงินเฟ้อเฉลี่ย
4.8 %
 ทุนสารองสูงถึง USD 38,700 ล้าน
เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืนเศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน
ช่วงปลายแผนฯ 7 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ วิกฤ
เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืนเศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน
ช่วงปลายแผนฯ 7 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ วิกฤ
ทบทวนผลการพัฒนา
แผนฯ 1-7
แผนฯ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544)
คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
เน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา และใช้การ
พัฒนาเศรษฐกิจเป็นเครื่องมือ
ปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดทาแผนใหม่เป็นแบบ
“ ”จากล่างขึ้นบน บูรณาการแบบองค์รวม ไม่
พัฒนาแยกส่วน
ภาคประชาชนมีส่วนร่วมพัฒนา
แปลงแผนสู่ปฏิบัติ โดยยึดหลักการพื้นที่ ภารกิจ
และการมีส่วนร่วม
แผนฯ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544)
คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ
8
วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540
ปัญหาสถาบันการเงิน
หนี้ต่างประเทศและหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้น
มีเครือข่ายการพัฒนาร่วมกับภาครัฐ
มุ่งเน้นการพัฒนาแบบองค์รวมมุ่งเน้นการพัฒนาแบบองค์รวม
รวางรากฐานการมีส่วนร่วมของประชาชนรวางรากฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน
มุ่งเน้นการพัฒนาแบบองค์รวมมุ่งเน้นการพัฒนาแบบองค์รวม
รวางรากฐานการมีส่วนร่วมของประชาชนรวางรากฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน
การปรับแผนฯ 8
แผนฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549)
อัญเชิญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาต่อเนื่องจาก
แผนฯ 8
มุ่งการพัฒนาที่สมดุลคน สังคม เศรษฐกิจ
และสิ่งแวดล้อม
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
บริหารจัดการที่ดี ในทุกระดับ
แผนฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549)
อัญเชิญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ
9
นำาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
คุณภาพชีวิตดีขึ้น ทั้งด้านสุขภาพ ยาเสพ
ติด และการกระจายรายได้
แผนฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 –
2554)
เครือข่ายภาคีทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมทุกขั้น
ตอน
เน้นการปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียง
 ยึดกระบวนการพัฒนาต่อเนื่องจากแผนฯ 8
และ แผนฯ 9 มุ่งสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน
แผนฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 –
2554)
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความอยู่เย็นเป็นสุข
เพิ่มขึ้น ได้แก่
เศรษฐกิจที่เข้มแข็งและเป็นธรรม
ชุมชนมีความมั่น คงและเกื้อกูลกัน
สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศมีความ
สมดุลมากขึ้น
คนไทยมีสุขภาวะและความอบอุ่นใน
แผนฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555
– 2559)
ตามวิสัยทัศน์ 3 พันธกิจ 3
วัตถุประสงค์ 4 เป้าหมายหลัก และ
7 ยุทธศาสตร์ ตามการศึกษาจาก
บริบทตลอดจนจุดแข็ง จุดอ่อน
โอกาสและภัยคุกคามของ
ประเทศไทย
ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม
วิเคราะห์ผลกระทบด้านบวก
และด้านลบ
จากการพัฒนาระบบการ
คมนาคมขนส่ง
ของประเทศไทย
ให้นักศึกษาแบ่งฝ่ายทำาการ
โต้วาทีในญัตติ
“การพัฒนาทำาให้คุณภาพชีวิต
มนุษย์
ในยุคปัจจุบันดีขึ้น”

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกMuntana Pannil
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน Jariya Jaiyot
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccskrurutsamee
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8Varin D' Reno
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกguest694cc9f
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60Krittalak Chawat
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 

Was ist angesagt? (20)

ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
แผ่นพับสรุปวิจัยในชั้นเรียน
 
T
TT
T
 
Copy of 00000564 1 20121226-145401
Copy of 00000564 1 20121226-145401Copy of 00000564 1 20121226-145401
Copy of 00000564 1 20121226-145401
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลกประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 

Andere mochten auch

การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืนWatcharin Chongkonsatit
 
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1Thongin Waidee
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 

Andere mochten auch (8)

การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 

Ähnlich wie บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development planechanok
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11Ch Khankluay
 
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11Ong-art Chanprasithchai
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Silpakorn University
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandPattie Pattie
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case StudiesHealth Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case StudiesThira Woratanarat
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)chorchamp
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทยการพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทยDr.Choen Krainara
 
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯPannatut Pakphichai
 

Ähnlich wie บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development plane
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11
 
แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11
 
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case StudiesHealth Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
 
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทยการพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
 
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 

Mehr von Green Greenz

ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลGreen Greenz
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงGreen Greenz
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศGreen Greenz
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำGreen Greenz
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศGreen Greenz
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2Green Greenz
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1Green Greenz
 

Mehr von Green Greenz (7)

ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูล
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียง
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำ
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 

บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

Hinweis der Redaktion

  1. การดำเนินการเพื่อก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น มักมีแผนหรือกรอบหรือสำหรับใช้เป็นแนว ทางปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เช่น การพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาการเกษตร และการพัฒนาชนบท เป็นต้น
  2. การดำเนินการเพื่อก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น มักมีแผนหรือกรอบหรือสำหรับใช้เป็นแนว ทางปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เช่น การพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาการเกษตร และการพัฒนาชนบท เป็นต้น
  3. เนื่องจากเห็นว่าการเน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ ละเลยการกระจายรายได้และความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น เป็นข้อบกพร่องของแนวคิดที่หนึ่ง ยุทธศาสตร์การพัฒนาจึงมุ่งให้คนจนได้รับความจำเป็นพื้นฐานในชีวิต การมีรายได้จากการทำงาน และการได้รับการบริการของรัฐอย่างทั่วถึง
  4. ซึ่งเป็นขีดจำกัดของสิ่งแวดล้อม และเห็นว่าระบบนิเวศมีความเกี่ยวพันกันอย่างแนบแน่น และส่งผลกระทบถึงกันและกันไม่ทางตรงก็ทางอ้อม และจะต้องมีการควบคุมการเติบโตของประชากร มิเช่นนั้นประชากรอาจจะมีมากเกินความสามารถที่สิ่งแวดล้อมจะรองรับได้
  5. เป็นแนวคิดใหม่ที่สุด หลังจากที่แนวทางการพัฒนาแบบอื่น ๆ ได้สร้างปัญหาและนำไปสู่ความไม่ยั่งยืนของสังคมและสิ่งแวดล้อม แนวทางใหม่ที่เห็นว่ากระบวนการพัฒนาควรประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ - การกำหนดวิสัยทัศน์ของการพัฒนา - การสร้างความร่วมมือ - การทำแผนปฏิบัติการ เพื่อให้สามารถนำวิสัยทัศน์ที่กำหนดไปสู่การปฏิบัติ
  6. แนวทางใหม่ที่เห็นว่ากระบวนการพัฒนาควรประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ - การกำหนดวิสัยทัศน์ของการพัฒนา - การสร้างความร่วมมือ - การทำแผนปฏิบัติการ เพื่อให้สามารถนำวิสัยทัศน์ที่กำหนดไปสู่การปฏิบัติ
  7. คำว่า “การพัฒนา” ในที่นี้หมายถึงการส่งเสริมให้รายได้ประชาชาติขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกๆปีอย่างต่อเนื่อง “ยุทธศาสตร์ของการเจริญเติบโต” (Growth strategy) จึงเป็นการขยายตัวการผลิตของชาติ ซึ่งขึ้นอยู่กับการเพิ่มประสิทธิภาพของปัจจัยการผลิต (เช่น ทุนและแรงงาน) และการระดมทุน(การสะสมทุน) ในอัตราที่สูง
  8. การที่จะได้รับความช่วยเหลือจากต่างประเทศได้ก็จำเป็นต้องมีการเสนอโครงการและแผนการที่แน่นอนชัดเจน ซึ่งเป็นที่มาของความจำเป็นที่จะต้องมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก โครงการและแผนงานที่จะขอความช่วยเหลือ จะต้องเป็นไปตามโครงสร้างและความพอใจของประเทศที่จะให้ความช่วยเหลือ =มาตรฐานของการพัฒนาที่มีอยู่ของประเทศที่ให้ความช่วยเหลือเหล่านั้น
  9. วางแผนจากส่วนกลางแบบ “จากบนลงล่าง” ใช้แนวคิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Development with growth) โดยเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (คมนาคมขนส่ง โทรคมนาคม เขื่อนเพื่อชลประทานและไฟฟ้า รวมทั้งสาธารณูปการ-Project-oriented approach) เพื่อสนับสนุนให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชน และเพิ่มผลผลิตสาขาเกษตรและอุตสาหกรรม มุ่งยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชน (รายได้) ปรับปรุงการบริหารงานทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ
  10. วางแผนจากส่วนกลางแบบ “จากบนลงล่าง” ใช้แนวคิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Development with growth) โดยเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (คมนาคมขนส่ง โทรคมนาคม เขื่อนเพื่อชลประทานและไฟฟ้า รวมทั้งสาธารณูปการ-Project-oriented approach) เพื่อสนับสนุนให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชน และเพิ่มผลผลิตสาขาเกษตรและอุตสาหกรรม มุ่งยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชน (รายได้) ปรับปรุงการบริหารงานทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ
  11. แผนฯ 1 1.เศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยู่กับภาคเกษตร ข้าว ยางพารา ไม้สัก ดีบุก 2.เศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ย 8.7 % ต่อปี (เป้าหมาย 5%) รายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ้น มูลค่าการส่งออกขยายตัวรวดเร็ว ดุลการชาระเงินเกินดุล ทุนสารองสูงถึง 924 ล้านเหรียญ สรอ. และดาเนินโครงการเขื่อนเจ้าพระยา และก่อสร้างเขื่อนภูมิพล 3.อัตราเพิ่มของประชากรสูงขึ้น ประมาณร้อยละ 3 ต่อปี
  12. แผนฯ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 – 2514) แนวคิดการวางแผนพัฒนารายสาขา และขยายขอบเขตแผนครอบคลุมการพัฒนารัฐวิสาหกิจและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานต่อเนื่องจากแผนฯ 1 พัฒนาชนบทเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง และกระจายผลการพัฒนา ส่งเสริมเอกชนให้มีบทบาทร่วมในการพัฒนาประเทศ
  13. ยังคงให้ความสำคัญต่อภาคก้าวหน้า คือ ภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง และเน้นการลงทุนในกรุงเทพฯ ซึ่งในขณะนั้นเริ่มเติบโตอย่างทิ้งห่างเมืองอื่น ๆ ในแง่ประชากรและเศรษฐกิจที่เติบโตขึ้น เริ่มเกิดปัญหาในเมืองหลวง มีการอพยพแรงงานจากภาคต่าง ๆ เข้าไปในกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นแหล่งจ้างงานใหญ่ที่สุดของประเทศเริ่มมีการตั้งถิ่นฐานของคนจนเมืองในรูปของชุมชนแออัด แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 – 2514) แนวทางพัฒนา ยึดแนวทางแผน 1 โดยขยายขอบเขตของแผนให้ครอบคลุม ถึงการพัฒนาของรัฐ โดยสมบูรณ์กระจายให้บังเกิดผลไปทั่ว ประเทศ เน้นเขตทุรกันดารและห่างไกลความเจริญ และมี โครงการ พิเศษนอกเหนือไปจากหน้าที่ปกติของกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ เช่น โครงการพัฒนาภาค โครงการเร่งรัด พัฒนาชนบทและโครงการช่วยเหลือชาวนา ฯลฯ
  14. พัฒนาต่อเนื่องจากแผนฯ 3 โดยยึดถือความมั่นคงปลอดภัยของชาติเป็นพื้นฐานของการพัฒนา แนวคิดการพัฒนาระหว่างสาขาร่วมกัน (Inter-sectoral planning) เร่งฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศให้มั่นคง เช่น การผลิตสินค้าเพื่อทดแทนการนาเข้า ปรับปรุงนโยบายการควบคุมราคาสินค้าและเร่งรัดการส่งออก เน้นเสริมสร้างสวัสดิภาพทางสังคมแก่คนในชาติมากกว่าเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็นหลัก
  15. สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนฯ 5 1.แผนพัฒนาชนบท เพื่อแก้ไขปัญหายากจนในชนบท 2.แผนพัฒนาเชิงรุก เช่น การพัฒนาพื้นที่ ESB การริเริ่ม กรอ. 3.แผนพัฒนาเพื่อความมั่นคง เช่น หมู่บ้านอาสาและพัฒนาป้องกันตนเอง 4. เศรษฐกิจขยายตัวต่าเทียบกับช่วงแผนฯ ที่ผ่านมา เพียงร้อยละ 5.4 ต่อปี 5. รัฐบาลสามารถกระจายบริการสังคมได้กว้างขวางมากขึ้น เช่น โรงพยาบาลประจาอาเภอ
  16. แผนฉบับที่ 11 นั้น เน้นการ "ตั้งรับ" มากกว่า "รุก" โดยเน้นการป้องกันปัญหาจากวิกฤตการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เพราะเราเพิ่งผ่านวิกฤตการณ์เศรษฐกิจโลก และวิกฤตการณ์ทางการเมืองภายในประเทศมาหมาดๆ การเน้น "ภูมิคุ้มกัน" นั้นเป็นเพียงเป้าหมายขั้นต่าเหมือนคนที่ปลอดโรค เพราะมีภูมิต้านทานโรค แต่ไม่ได้บอกว่าสุขภาพแข็งแรงมีกาลังวังชาดีเพียงไร เชื่อว่าพวกเราไม่ได้ต้องการเพียงให้ประชาชนพอมีกินประชาชนควรจะ "กินดีอยู่ดี" และมี "คุณภาพชีวิต" ที่ดีขึ้นกว่าเดิม อีกนัยหนึ่ง ผลโดยรวมประเทศไม่ควรมีสถานะเพียงเกณฑ์เฉลี่ยของประเทศอาเซียนด้วยกันหรือ เพียงแต่ดีกว่า พม่า ลาว กัมพูชา บ้าง แต่เราควรจะตั้งเป้าหมายให้ประเทศไทยมีความ "มั่งคั่ง" อยู่ในชั้นแนวหน้าของอาเซียน ที่จะแข่งขันกับประเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร์ได้ และตัวอย่างที่ดีๆ ของประเทศนอกอาเซียนอื่นๆ เช่น เกาหลี และจีน เป็นต้น
  17. การโต้วาที การโต้วาที คือการที่มีคนทั้ง 2 ฝ่ายตอบโต้กันมีทั้งฝ่ายเสนอและฝ่ายค้านและมีเรื่องที่จะต้องโต้กันเช่น ยาดีกว่าสมุนไพร เป็นต้นการโต้วาทีนี้จะมีเวลาให้แต่ละฝ่ายได้พูดถ้าเกินเวลาก็ต้องปรับแพ้เมื่อสิ้นสุดการโต้วาทีก็จะตัดสินว่าฝ่ายไหนโต้ได้ดีที่สุดก็จะเป็นผู้ชนะสิ่งนี้คือสิ่งที่สำคัญที่สุดในการโต้วาที  บทความนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ความหมายของการพูดโต้วาที การพูดโต้วาที คือการที่บุคคลสองฝ่ายใช้ศิลปะการพูดหรือวาทศิลป์พูดโต้คารม หรือถกเถียงกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ประกอบด้วย การโต้วาทีจัดเป็นการอภิปรายอย่างหนึ่ง โต้วาที หมายถึง การแสดงความคิดเห็นเพื่อเอาชนะความคิดเห็นของอีกฝ่าย การโต้วาทีจึงเป็นการเอาชนะกันด้วย "เหตุผลของวาที" คณะผู้เสนอฝ่ายหนึ่ง คณะผู้คัดค้านฝ่ายหนึ่ง และมีประธานเป็นผู้รักษาระเบียบของคู่โต้วาที ผู้พูดแต่ละฝ่ายจะใช้คำพูดโต้แย้งกันอย่างมีระเบียบ ตามหัวข้อที่กำหนดโดยพยายามใช้วาทศิลป์ในการพูด ใช้หลักการและหลักฐานต่างๆ เพื่อคัดค้านโต้แย้ง หรือหักล้างกันอย่างมีเหตุผล ถ้าฝ่ายใดมีคารมดีกว่า มีเหตุผลดีกว่า มีหลักฐานดีกว่า ฝ่ายนั้นก็เป็นฝ่ายชนะ ดประสงค์ของการโต้วาทีที่แท้จริงคือ การใช้วาทศิลป์เพื่อเอาชนะกันด้วยเหตุผล จุดมุ่งหมายของการโต้วาทีมี 4 ประการ คือ โต้เพื่อหาข้อเท็จจริง เป็นการโต้แย้งด้วยหลักวิชาการ เพื่อค้นหาความจริงและความถูกต้องของสิ่งที่โต้วาที โต้เพื่อลัทธิ ไม่มุ่งข้อเท็จจริง มักเป็นไปอย่างรุนแรงและจริงจัง โต้เพื่อเอาชนะศัตรู เช่น การโต้วาทีระหว่างฝ่ายโจทก์และฝ่ายจำเลยในศาล เป็นต้น และ โต้เพื่อแสดงความคิดเห็นอย่างมีแบบแผน เป็นการโต้วาทีที่ต้องดำเนินตามระเบียบการโต้วาทีอย่างเคร่งครัด การจัดการโต้วาที ฝ่ายเสนอจะนั่งทางขวามือของผู้ดำเนินการโต้วาที ฝ่ายค้านจะนั่งทางซ้าย โดยหัวหน้าฝ่ายทั้งสองฝ่ายจะนั่งที่นั่งแรก เวลาที่ใช้ในการโต้วาที มี 4 แบบ 533 644 755 และ 866 ตัวเลขตัวแรก คือ เวลาที่คิดเป็นนาทีที่หัวหน้าฝ่ายแต่ละฝ่ายใช้พูดในตอนต้น ตัวเลขตัวกลาง คือ เวลาที่คิดเป็นนาทีที่ผู้สนับสนุนแต่ละคนใช้พูด ตัวเลขตัวท้าย คือ เวลาที่คิดเป็นนาทีที่หัวหน้าฝ่ายแต่ละฝ่ายใช้สรุป ลักษณะสำคัญของการโต้วาที เป็นการเสนอเหตุผลหรือแนวความคิดของตนเอง เป็นการหักล้างเหตุผลหรือแนวความคิดของฝ่ายตรงข้าม เป็นการพูดที่ต้องใช้ปฏิภาณไหวพริบอย่างมาก เป็นการพูดที่ออกท่าออกทางประกอบมากเป็นพิเศษ เป็นการพูดที่ต้องมีความพร้อมอย่างมาก เพราะต้องเตรียมคำพูดให้ขบขัน สุภาพ แหลมคมและกระชับ ประโยชน์ของการโต้วาที การโต้วาทีมีประโยชน์ทั้งต่อผู้ฟังและผู้โต้ดังนี้ ประโยชน์ต่อผู้ฟัง เกิดความเข้าใจในหลักการ เหตุผล หรือแนวคิด ได้เรียนรู้วิธีแสดงเหตุผลแบบต่าง ๆ จากผู้โต้วาที เกิดประสบการณ์ที่แปลกใหม่ มีโอกาสเรียนรู้การใช้ถ้อยคำสำนวนมากขึ้น รู้จักพิจารณาเหตุผล เสริมสร้างระบอบประชาธิปไตย ประโยชน์ต่อผู้โต้วาที เกิดการปรับปรุงแนวความคิดให้ลึกซึ้งมากขึ้น เกิดความชำนาญในการพูด รอบรู้ในหลักวิชา ได้ฝึกใช้ปฏิภาณไหวพริบในการแก้ปัญหา กล้าแสดงออกอย่างถูกทาง ได้ฝึกมารยาทการเป็นผู้พูด และผู้ฟังที่ดี รู้วิธีการเสนอแนวคิดของตนไปยังบุคคลอื่น องค์ประกอบของการโต้วาที องค์ประกอบของการโต้วาทีมี 5 ประการ คือ ญัตติ ประธานในการโต้วาที ผู้โต้วาที กรรมการ และผู้ฟัง เวลาที่ใช้ในการโต้วาทีมี 4 แบบคือ 533 644 755 866 ตัวเลขตัวแรกเป็นเวลาที่หัวหน้าฝ่ายทั้งสองฝ่ายใช้พูดช่วงแรก ตัวเลขตัวกลางเป็นเวลาของผู้สนับสนุนทั้ง 4 คน และตัวเลขตัวท้ายเป็นเวลาของหัวหน้าฝ่ายใช้สรุป 1.ญัตติ หรือหัวข้อเรื่องที่ใช้ในการโต้วาที เป็นการเสนอความคิด เห็นที่ขัดแย้งกันในเรื่องเดียวกัน การเลือกญัตติควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1.1 ควรเป็นญัตติที่คนทั่วไปสนใจ 1.2 มีประโยชน์ต่อผู้โต้วาทีและคนฟัง 1.3 เป็นญัตติที่ทั้งสองฝ่ายสามารถหาเหตุผลมาหักล้างกันได้ไม่เป็นภัยต่อสังคม ลักษณะของญัตติที่ดี 1.1 เป็นญัตติที่มีข้อความไม่ตายตัว สามารถคัดค้านได้ หรือไม่ใช่ข้อความที่เป็นจริง เช่นโรคเอดส์รักษาไม่หาย 1.2 เป็นญัตติที่ก่อให้เกิดความคิดได้หลายทางที่ก่อให้เกิดความคิดเห็นได้หลายทาง ทั้งในแง่ที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วย เช่น "ผู้หญิงไม่ควรเป็นนักปกครอง" "ข้าวขึ้นราคาชาวนามั่งมี" "ควรสอนเพศศึกษาในโรงเรียนมัธยม" เป็นต้น 1.3 เป็นญัตติที่คนส่วนใหญ่สนใจ 1.4 เป็นญัตติที่ช่วยให้ผู้ฟังได้รับประโยชน์ มีสาระและช่วยผู้ฟังเกิดความคิดที่กว้างขวางขึ้นกว่าเดิม 1.5 เป็นญัตติที่ไม่ก่อให้เกิดความแตกแยก หรือลบหลู่สถาบันใด ๆ เช่น รักกันหนาต้องพากันหนี ตัวอย่างญัตติ - ผู้ชายร้ายกว่าผู้หญิง - รวยน้ำใจมีค่ากว่ารวยเงิน - ความสวยความหล่อเป็นต่อคารม 2. คณะบุคคลที่ดำเนินการโต้วาที 2.1 ประธานในการโต้วาที (หรือผู้ดำเนินการโต้วาที) มีหน้าที่กล่าวเปิดการโต้วาที ประกาศญัตติ ระเบียบการโต้ให้ผู้โต้และผู้ฟังได้ทราบ กล่าวแนะนำผู้โต้ทั้งสองฝ่าย เชิญผู้โต้ขึ้นโต้ตามลำดับ ประธานควรระวังในเรื่องต่อไปนี้ ต้องวางตัวเป็นกลาง ไม่เผลอกล่าวสนับสนุนผู้โต้วาทีคนใดคนหนึ่งเป็นอันขาด ต้องพูดให้น้อยที่สุด เพราะผู้ฟังเน้นมาฟังผู้โต้วาทีมากกว่า ต้องเตรียมตัวมาเป็นอย่างดี ทั้งเรื่องกำหนดการ ข้อมูลเกี่ยวกับญัตติ กรรมการ และผู้โต้วาที 2.2 ผู้โต้วาที ซึ่งประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย คือ -ฝ่ายเสนอ ประกอบด้วย หัวหน้าและผู้สนับสนุน 2 - 3 คน -ฝ่ายค้าน ประกอบด้วย หัวหน้าและผู้สนับสนุน 2 - 3 คน 2.3 กรรมการตัดสิน มักจะเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ มีความเข้าใจในกระบวนการโต้วาทีและเชื่อถือได้ กรรมการมีหน้าที่ให้คะแนน ปกติมักมีจำนวนเป็นคี่ ประมาณ 3-5 คน ในการโต้วาทีที่ไม่เป็นทางการ เพื่อความสนุกสนานหรือเชื่อมความสามัคคี มักให้ผู้ดำเนินการขอเสียงปรบมือจากผู้ฟัง โดยตัดสินจาก ประเด็นในการโต้ เหตุผล การหักล้าง วาทศิลป์ มารยาท คือท่าทาง เนื้อหาที่พูด การใช้ถ้อยคำ และการตรงต่อเวลา ส่วนประกอบอื่น ๆ เช่นน้ำเสียง วิธีพูด และท่าทาง 3. ผู้ฟัง ควรรู้จักพิจารณาถ้อยคำที่โต้ ตอนใดผู้โต้วาทีพูดดีเป็นที่ประทับใจควรปรบมือให้ กระบวนการโต้วาที ก่อนการโต้วาที 1.เลือกญัตติ 2.กำหนดวัน เวลา และสถานที่ 3.พิจารณาบุคคลที่จะโต้วาทีทั้งสองฝ่าย กำหนดบุคคลที่จะทำหน้าที่ประธาน และกรรมการ 4.ประชาสัมพันธ์ 5.เตรียมสถานที่ โดยทั่วไปนิยมจัดเวทีดังนี้ ดำเนินการโต้วาที -ประธานหรือผู้ดำเนินการจะเป็นผู้กล่าวเปิดการโต้วาที ประกาศญัตติ ระเบียบการโต้ และแนะนำผู้โต้ทั้งสองฝ่ายให้ผู้ฟังรู้จัก -ประธานหรือผู้ดำเนินการโต้วาทีจะเชิญผู้โต้ขึ้นพูดทีละคนตามลำดับ โดยหัวหน้าฝ่ายเสนอจะเป็นผู้พูดก่อน คนต่อมาคือหัวหน้าฝ่ายค้าน หลังจากนั้นจะเป็นผู้สนับสนุนฝ่าเสนอและผู้สนับสนุนฝ่ายค้านตามลำดับ ผู้โต้วาทีทั้งสองฝ่ายควรยึดหลักการโต้วาที ดังนี้ ฝ่ายเสนอ ฝ่ายค้าน หัวหน้าฝ่ายเสนอ -กล่าวทักทายผู้ฟัง -เสนอญัตติ -แปรญัตติหรือให้คำนิยามหรือให้ความหมาย ขอบเขตของญัตติ -ให้เหุผลสนับสนุนญัตติ -อธิบายรายละเอียดข้อปลีกย่อย -ยกตัวอย่าง อุทาหรณ์ กล่าวคำพังเพยประกอบการสนับสนุน -เน้นสรุปประเด็น ผู้สนับสนุนฝ่ายเสนอ -กล่าวทักทายผู้ฟัง -อธิบายสนับสนุนหัวหน้าฝ่ายเสนอ -อธิบายข้อเสนอด้วยการหาเหตุผลเพิ่มเติม -โต้แย้งฝ่ายค้านเป็นประเด็นๆ -เน้นสรุปประเด็นสำคัญ หัวหน้าฝ่ายค้าน -กล่าวทักทายผู้ฟัง -พยายามชี้แจงให้เห็นข้อบกพร่องในการให้เหตุผลของฝ่ายเสนอ -โต้แย้งเป็นประเด็นโดยยกเหตุผลประกอบ -ชี้ให้เห็นข้อเท็จจริงเพื่อหักล้างให้เห็นว่าไม่เป็นไปตามญัตติ -เสนอแนะความคิดเห็นของฝ่ายตน -เน้นสรุปประเด็นสำคัญ ผู้สนับสนุนฝ่ายค้าน -กล่าวทักทายผู้ฟัง -หาเหตุผลข้อเท็จจริงสนับสนุนหัวหน้า -พูดโต้แย้งข้อเสนอของผู้สนับสนุนฝ่ายเสนอ --นำข้อมูลสถิติ คำคม ข้อเท็จจริงมายืนยัน -เน้นสรุปประเด็นสำคัญ ทคนิคการโต้วาที เทคนิคการโต้วาที คือ การป้องกัน หมายถึง การป้องกันญัตติด้วยการหาเหตุผลมาล้อมรั้วสาระของญัตติ การโจมตี การกล่าวซ้ำเติม หรือกล่าวหาฝ่ายตรงข้ามว่าไร้เหตุผล การต่อต้าน การหักล้างเหตุผลการโจมตีของฝ่ายตรงข้ามที่กล่าวโจมตีฝ่ายตน การค้านอย่างมีศิลปะ การค้านจะทำได้ 3 วิธี คือ ค้านญัตติ เป็นการค้านตัวญัตติหรือสาระของญัตติว่าไม่ถูกต้อง ค้านเหตุผล เป็นการค้านเหตุผลที่อีกฝ่ายเสนอมา ค้านข้ออ้างอิง เป็นการค้านข้ออ้างอิงที่อีกฝ่ายเสนอมา 1. ในการโต้แย้งแสดงคารม ควรใช้ความรู้ต่างๆ มาประกอบเสมอ 2.การแสดงความคิดเห็น ไม่ว่าจะเป็นการเสนอหรือการค้าน ควรเสนอข้อมูลและข้อเท็จจริงต่างๆ ให้มีเหตุผลน่าเชื่อถือ 3. ควรมีศิลปะในการใช้ภาษาที่จะจูงใจให้ผู้ฟังมีความเห็นคล้อยตาม เห็นดีเห็นงามกับข้อคิดเห็น ข้อมูลต่างๆ ที่เสนอไป 4. การกล่าวคัดค้าน กล่าวแก้ ควรทำให้แนบเนียน จนผู้ฟังเห็นว่าเหตุผลของฝ่ายตรงข้ามใช้การไม่ได้ หรือเชื่อถือไม่ได้ 5. ในขณะที่ฝ่ายตรงข้ามเสนอประเด็น ควรฟังอย่างตั้งใจ แล้วจับประเด็นสำคัญๆ ไว้เพื่อกล่าวแก้และพยายามรวบรวมเรื่องที่จะกล่าวโจมตีมากๆ 6. ควรใช้ถ้อยคำภาษาที่สุภาพ โดยคำนึงถึงวัฒนธรรมอันดีงามด้วย ไม่ควรพูดเสียดสีกันในเรื่องส่วนตัว 7.ใช้คำพูดที่เหมาะสม สั้น กะทัดรัด เข้าใจได้ในทันทีโดยไม่ต้องตีความ 8. ในขณะพูด ควรแสดงท่วงที กิริยา ท่าทาง และสีหน้าประกอบการพูด 9. การโต้วาทีไม่จำเป็นต้องขึงขังอย่างเอาจริงเอาจัง เพราะการโต้วาที มักจัดขึ้นเพื่อความสนุกสนาน หรือจัดขึ้นเพื่อเป็นเกียรติของงาน 10. ขณะพูด ควรควบคุมอารมณ์ให้ดี อย่าเผลอโกรธหรือแสดงอารมณ์เสีย เพราะจะเป็นจุดอ่อนให้ถูกโจมตี 11. เมื่อเสร็จสิ้นการโต้วาทีแล้ว เรื่องต่างๆที่ว่ากล่าวกันควรเลิกกันไป 12. หากมีการตัดสินให้แพ้ ควรวางสีหน้ายิ้มแย้ม อย่าแสดงอาการไม่พอใจ ข้อแนะนำ คุณสมบัติของนักโต้วาที 1. มีความรู้ ข้อมูล ข้อเท็จจริง ที่เกี่ยวข้องกับญัตติอย่างดี 2. มีมารยาทในการพูด -ไม่เอ่ยนามจริงของผู้โต้วาที แต่จะเรียกตำแหน่งแทน -ไม่พูดส่อเสียด หรือกระทบกระแทกผู้อื่น -ไม่นำเรื่องส่วนตัวของอีกฝ่ายหนึ่งมาโจมตี -ไม่พูดหยาบคาย -ไม่ใช้อารมณ์ในการพูด เช่น ทุบโต๊ะ ชี้หน้าฝ่ายตรงข้าม - ตรงต่อเวลา 3. มีวาทศิลป์ในการพูด มีศิลปะในการใช้ถ้อยคำภาษา และลีลาในการพูดที่ดึงดูดความสนใจของผู้ฟังได้ดี 4. มีไหวพริบ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี 5. มีเหตุผลที่สามารถจูงใจให้ผู้ฟังคล้อยตามสิ่งตนยกอ้างได้ 6. รู้หลักจิตวิทยา และนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม ข้อแนะนำสำหรับผู้โต้วาที ผู้โต้วาทีควรเป็นผู้รอบรู้ในด้านต่างๆ ผู้โต้วาทีควรมีเวลาเตรียมตัวมากพอสมควร ผู้โต้วาทีควรพูดอยู่ในประเด็น ผู้โต้ต้องมีสติ ไม่เผลอพูดสนับสนุนฝ่ายตรงข้าม ผู้โต้วาทีต้องมีวาทศิลป์ ผู้โต้วาทีต้องมีอารมณ์ขัน ผู้โต้วาทีควรคำนึงถึงผลเสียหายที่จะเกิดขึ้นต่อส่วนรวม ผู้โต้วาทีจะต้องระมัดระวังเรื่องมารยาทให้มาก ผู้โต้วาทีต้องคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม