SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
intro >>>
‘วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี’ เปนปจจัยสําคัญในการขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจ
และการพัฒนาสังคมอยางยั่งยืน ในการวิเคราะหสถานภาพดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระดับประเทศนั้น จําเปนตองใช ‘ดัชนีวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี’ เปนเครื่องมือสําคัญในการ
ชี้วัดระดับความกาวหนา พัฒนาการและขีดความสามารถในการแขงขันดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีของประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศตางๆ ดังนั้นเพื่อใหงายตอความเขาใจของ
สาธารณชนทั่วไป สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม
แหงชาติ (สวทน.) ซึ่งเปนฝายเลขานุการ คณะอนุกรรมการจัดทําดัชนีวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีของประเทศ จึงดําเนินการจัดทําหนังสือ ‘ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทย
อยูตรงไหน?’ เพื่อวัตถุประสงคใหประชาชนทั่วไปไดรับทราบบทบาทและความสําคัญของ
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย
เนื้อหาของหนังสือฉบับนี้ ประกอบดวยขอมูล 7 ประเภท ไดแก ความสามารถในการ
แขงขันดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ของประเทศ การวิจัยและพัฒนา
บุคลากรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดุลการชําระเงินทางเทคโนโลยี สิทธิบัตร ผลงาน
ตีพิมพดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และศักยภาพไอซีทีไทย
สวทน. หวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือ ‘ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทย
อยูตรงไหน?’ นี้ จะเปนประโยชนตอประชาชนทั่วไปที่สนใจความกาวหนาดานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีของประเทศตอไป
CONTENTS
บทที่ 1 ความสามารถในการแขงขัน
ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และนวัตกรรม (วทน.)
ของประเทศ
บทที่ 2 การวิจัยและพัฒนา
บทที่ 3 บุคลากรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 4 ดุลการชำระเงินทางเทคโนโลยี
บทที่ 5 สิทธิบัตร
บทที่ 6 ผลงานตีพิมพดาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 7 ศักยภาพไอซีทีไทย
2
8
16
24
30
36
42
Competitiveness
in Science,
Technology
& Innovation
ดัชนีประเทศไทย
บทที่
1ความสามารถในการแขงขัน
ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม (วทน.) ของประเทศ
ความสามารถในการแขงขันของประเทศ ถือเปนดัชนีชี้วัดที่
นิยมใชเปรียบเทียบศักยภาพและความสามารถในแตละดาน
ของประเทศตางๆ ทั่วโลก ปจจุบันมีหนวยงานชั้นนำหลาย
แหงรับหนาที่จัดอันดับความสามารถในการแขงขันระดับ
ประเทศ
2
ที่มา: IMD, World Competitiveness Yearbook 2008-2012
ผลการจัดอันดับโดย IMD
ในรายงาน The World Competitiveness Year-
book ของสถาบันการจัดการนานาชาติ (International
Institute for Management Development: IMD) ระหวาง
ป 2554-2555 จัดอันดับความสามารถในการแขงขันของ
ประเทศแถบเอเชียแปซิฟกไวดังตอไปนี้
IMD เปนสถาบันดานการบริหารธุรกิจประเภทไม
แสวงหากําไร ตั้งอยูที่เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอรแลนด
ทําการเผยแพรผลการจัดอันดับความสามารถในการแขงขัน
ของประเทศตางๆ มาตั้งแตป 2532 โดยรายงานประจําป
2554-2555 IMD จัดอันดับความสามารถในการแขงขันของ
ประเทศตางๆ ทั้งสิ้น 59 ประเทศ
2554 2555
1. ฮองกง
3. สิงคโปร
6. ไตหวัน
16. มาเลเซีย
19. จีน
22. เกาหลีใต
26. ญี่ปุน
27. ไทย
1. ฮองกง
4. สิงคโปร
7. ไตหวัน
14. มาเลเซีย
22. เกาหลีใต
23. จีน
27. ญี่ปุน
30. ไทย
ป 2555 ประเทศไทยมีความสามารถในการแขงขันโดยรวม
เปนอันดับที่ 30 ลดลงจากป 2554 ที่อยูในอันดับที่ 27
4 ปจจัยหลักในการจัดอันดับของ IMD
อันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศไทย 5 ปหลังสุด (ป 2551-2555)
สมรรถนะทางเศรษฐกิจ
อันดับโดยรวม
2551 2552 2553 2554 2555
ประสิทธิภาพของภาครัฐ
ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ
โครงสรางพื้นฐาน
โครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยี
โครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตร
ที่มา: IMD, World Competitiveness Yearbook 2008-2012
กราฟแสดงอันดับของประเทศไทยใน IMD ป 2551-2555
อันดับที่ 1
อันดับสุดทาย
55 ประเทศ 57ประเทศ 58 ประเทศ 59 ประเทศ 59 ประเทศ
3
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
ประเทศเดียวในแถบ
เอเชียที่ไดรับการจัด
อันดับสูงขึ้นคือ มาเลเซีย
จากอันดับที่ 16 เปนอันดับที่ 14
ผลการจัดอันดับโดย WEF
ระดับความสามารถในการแขงขันของประเทศนั้นๆ อาจสะทอนถึงระดับการ
พัฒนาเศรษฐกิจได จะเห็นไดจากผลการจัดอันดับความสามารถในการแขงขันของ
ประเทศตางๆ ทั่วโลกโดยเวทีเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum: WEF) ใน
รายงาน The Global Competitiveness Report สรุปเปนดัชนีความสามารถในการ
แขงขันรวม (Global Competitiveness Index: GCI) แสดงใหเห็นวา ประเทศที่ระดับ
การพัฒนาทางเศรษฐกิจสูง มีรายไดในรูปของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศตอประชากร
สูง ก็มีแนวโนมที่จะมีระดับความสามารถในการแขงขันโดยรวมสูงตามไปดวย
เกณฑการพิจารณาที่เกี่ยวของกับดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีชี้ใหเห็นวา
ความสามารถในการแขงขันของไทยอยูในเกณฑต่ําลง อาทิ
1. ดานโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตร
จํานวนสิทธิบัตรที่ยื่นขอภายในประเทศตอ
จํานวนประชากร ลดลง 18 อันดับ
จํานวนสิทธิบัตรที่ยื่นขอภายในประเทศ
ลดลง 13 อันดับ
2. ดานโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยี
ความปลอดภัยจากภัยคุกคาม
ทางโลกไซเบอร ลดลง 5 อันดับ
แรงงานที่มีทักษะดานเทคโนโลยี
สารสนเทศ ลดลง 4 อันดับ
อัตราคาบริการโทรศัพทพื้นฐาน
ลดลง 4 อันดับ
ประเทศในแถบเอเชีย
สวนใหญมีอันดับลดลง
สองประเทศที่คงอันดับเดิมคือ
ฮองกง และเกาหลีใต
อยูที่อันดับ 1 และอันดับ 22
>_<
ที่มา:WorldEconomicForum(WEF)ความสัมพันธของอันดับในดัชนีความสามารถในการแขงขันรวม
(Global Competitiveness Index: GCI) และระดับการพัฒนา
เศรษฐกิจ
ความสัมพันธของระดับความสามารถทางนวัตกรรม
กับระดับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
Global Competitiveness Index: GCI
GDP per capita
Innovation (Scale 1-7, 7-best)
2.52.0 3.0 3.5 4.0 4.5 5.0 5.5 6.0
0
20,000
40,000
60,000
80,000
100,000
120,000
21 3 4 5 6 7
WEF เปนองคกรไมแสวงผลกําไร ตั้งอยูใน
เจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด ทุกปจะจัดการ
ประชุมขึ้นที่ดาวอสและเผยแพรผลการจัด
อันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศ
ตางๆ ผาน ดัชนีความสามารถในการ
แขงขันรวม (Global Competitiveness
Index: GCI) โดยรายงานประจําป 2012-2013
WEF จัดอันดับความสามารถในการแขงขันของ
144 ประเทศทั่วโลก
4
คา GCI ประเทศไทย
ดัชนีความสามารถในการแขงขันรวม (Global Competitiveness Index: GCI)
เมื่อพิจารณาปจจัยหลักที่นํามาใชใน
การจัดอันดับความสามารถในการ
แขงขัน ซึ่งประกอบไปดวย
38 39
1 1
33333 3333333
2555-2556 2545-2555
จะเห็นวา ปจจัยนวัตกรรมและศักยภาพทางธุรกิจ นับเปนจุดออนที่สุดของประเทศไทย จากอันดับที่ต่ํากวา
ปจจัยหลักดานอื่นๆ และลดลงจากปกอนหนา 4 อันดับ นอกจากนั้น อันดับยังคงลดลงอยางตอเนื่องทุกป
อั น ดั บ
2554-2555 2555-2556
ปจจัยพื้นฐาน 46 45
ปจจัยยกระดับประสิทธิภาพ 43 47
ความพรอมดานเทคโนโลยี 84 84
ปจจัยนวัตกรรมและศักยภาพทางธุรกิจ 51 55
นวัตกรรม 54 68
ขอสังเกต
ปจจัยหลายตัวของประเทศไทยยังอยูในอันดับทายๆ อาทิ
• สัดสวนแบนดวิดธ
อินเทอรเน็ตระหวางประเทศตอ
จำนวนผูใชอินเทอรเน็ต
ไทยอยูในอันดับ 84 มีสัดสวน
10.62 กิโลไบตตอวินาที
(Kb/s) ตอคน
อันดับ 1 ฮองกง มีสัดสวน
964.62 กิโลไบตตอวินาที
(Kb/s) ตอคน Thailand
10.62 KB/s
Hongkong
964.62 KB/s
• สัดสวนการใช
อินเทอรเน็ตของ
ประชากรประเทศไทย
อยูในอันดับ 94 มีผู
ใช 23.70%
อันดับ 1 ไอซแลนด
มีผูใช 95.02%
@#)(*%@#
.... #$%
*%#%@^%
*%#%@^%
@#)(: ) @!##$
. . .
5
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
องคการสหประชาชาติ (United Na-
tions: UN) โดย สํานักงานโครงการ
พัฒนาแหงสหประชาชาติ (United
Nations Development Programme:
UNDP) ไดจัดทํา ดัชนี การ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย
(Human Development
Index: HDI) เผยแพรเปนประจํา
ทุกป เพื่อเปนการวัดระดับคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนในประเทศสมาชิก
ทั่วโลก
ผลการจัดอันดับโดย UNDP
การจัดอันดับขององคการสหประชาชาติ ออกมาในรูปของดัชนีการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย (Human Development Index: HDI) เพื่อวัดระดับ
คุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศสมาชิก
ปจจัยที่นํามาพิจารณาในการจัดทํา HDI ประกอบดวย
1. ปจจัยดานสุขภาพ วัดจากอายุคาดหมายเฉลี่ย
2. ปจจัยดานการศึกษา วัดจากจํานวนปเฉลี่ยที่ไดเขารับการศึกษา
ของประชากรอายุ 25 ปขึ้นไป และจํานวนปที่คาดหมายวาจะไดรับการ
ศึกษาของประชากรอายุ 5 ป ซึ่งเปนวัยที่กําลังจะเขารับการศึกษา
3. ปจจัยดานมาตรฐานการครองชีพ วัดจากรายไดประชาชาติตอหัว
(Gross national income [GNI] per capita)
คาดัชนีการพัฒนามนุษย
ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก
ที่มา: United Nations Development Programme (UNDP)
HDI
ป 2554
HDI ระดับสูงมาก
HDI ระดับสูง
HDI ปานกลาง
HDI ต่ำ
ญี่ปุน (0.901)
ฮองกง (0.898)
เกาหลีใต (0.897)
สิงคโปร (0.866)
บรูไน (0.838)
มาเลเซีย (0.761)
จีน (0.687)
ไทย (0.682)
ฟลิปปนส (0.644)
อินโดนีเซีย (0.617)
เวียดนาม (0.0593)
อินเดีย (0.547)
ลาว (0.524)
กัมพูชา (0.523)
พมา (0.483)
6
เมื่อวิเคราะหความสามารถในการแขงขันดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และนวัตกรรม (วทน.) ของประเทศไทยโดยเปรียบเทียบกับประเทศ
อื่นๆ จากการจัดอันดับของทั้ง IMD และ WEF จะเห็นวายังอยูใน
อันดับที่ไมดีนัก ทั้งนี้เนื่องจากปริมาณการลงทุนดานการวิจัยและ
พัฒนาของประเทศไทยยังมีนอย รวมทั้งการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
ซึ่งเปนปจจัยสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนา วทน. ของประเทศไทย
ยังอยูในระดับปานกลาง
อยางไรก็ตาม แนวโนมที่ดีคือ ปจจุบันรัฐบาลไทยมีนโยบาย
และทิศทางการพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่
ชัดเจนมากขึ้น โดยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2555 ให
ความเปนชอบกับนโยบายและแผนดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมแหงชาติ (พ.ศ. 2555-2564) ซึ่งพัฒนาขึ้นจากแนวคิดของ
การใช วทน. เปนเครื่องมือในการพัฒนาประเทศไทย ภายใตวิสัยทัศน
‘นวัตกรรมเขียวเพื่อสังคมดีมีคุณภาพและเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ’
สรุป
7
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
Research
and
Development
R&D
ดัชนีประเทศไทย
บทที่
2การวิจัยและพัฒนา
ความรูและความกาวหนาทางเทคโนโลยีถือเปนหนึ่ง
ในกลไกที่จะเขามาขับเคลื่อนใหประเทศมีภูมิคุมกัน
จากกระแสโลกาภิวัตน ชวยใหเศรษฐกิจเติบโตอยาง
มีเสถียรภาพและเพิ่มศักยภาพในการแขงขันกับนานา
ประเทศอยางยั่งยืน การทำวิจัยและพัฒนาเพื่อสราง
และตอยอดองคความรูใหทันสมัยตลอดเวลาจึงเปน
สิ่งที่เราควรใหความสำคัญในลำดับตนๆ
8
สถานการณการลงทุนดาน R&D ทั่วโลก
การทําวิจัยและพัฒนาของทั้งโลกขยายตัวขึ้นมากชวงป 2539-2550 อันเปนผลมา
จากรอบการเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะการขยายตัวดานการทําวิจัยและพัฒนาใน
ภูมิภาคเอเชีย นําโดย จีน เกาหลีใต และ อินเดีย
25
30
35
40
2002 2007
north america
37.7
30.2
27.1
34.9
32.2
27.4 europe
asia
สัดสวนของ GERD ในแตละภูมิภาคตอ GERD โลก ป 2545 และ 2550 (%)
จีน เพิ่มขึ้น รอยละ 3.9
ขณะที่ประเทศทางฝงยุโรป
อเมริกาเหนือ และญี่ปุน
ผูนําดานการวิจัยและพัฒนา
เริ่มชะลอการลงทุนลง
สัดสวนของ
GERD ในประเทศ / GERD โลก
เกาหลีใต เพิ่มขึ้น รอยละ 0.8
อินเดีย เพิ่มขึ้น รอยละ 0.6
(จากรอยละ 5 เปนรอยละ 8.9)
ภูมิภาคเอเชียครองสวนแบงของ GERD ตอ GERD โลก
เพิ่มขึ้นจาก 27% เปน 32%
คา GERD และ GERD/GDP
ถือเปนตัวชี้วัดสําคัญของการวิจัยและพัฒนาของประเทศตางๆ
GERD คือ คาใชจายการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา (Gross do-
mestic expenditure on R&D) มีหนวยเปนดอลลารสหรัฐ
GERD/GDP คือ สัดสวนของคาใชจายลงทุนดานการวิจัยและ
พัฒนาตอผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GERD as a percent-
age of GDP)
นับวา ‘ชองวาง’ ของการทําวิจัยและพัฒนา
ในประเทศพัฒนาแลวและประเทศกําลัง
พัฒนาลดลง
ป 2545 การทําวิจัยและพัฒนาทั่วโลก
เกิดขึ้นในประเทศที่พัฒนาแลว 83%
ป 2550 ลดลงเหลือ 76%
ASIA
ที่มา: UNESCO Science Report 2010
9
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
มีจํานวนนักวิจัยรวมกัน
3 ใน 4
ของจํานวนนักวิจัยทั่วโลก
ปญหาการกระจุกตัวของ R&D
ในระดับประเทศ การทําวิจัยและพัฒนาก็ยังกระจุกตัวอยูเฉพาะในบางพื้นที่ของประเทศ อาทิ
การทําวิจัยและพัฒนา
ยังกระจุกตัวอยูเฉพาะใน
5 เขตพื้นที่หลัก ไดแก
จีน สหภาพยุโรป ญี่ปุน
รัสเซีย และ สหรัฐ
ประชากรรวมประมาณ
1 ใน 3
ของประชากรโลก
และมีคาใชจายลงทุนดานการวิจัยและ
พัฒนารวมกันเทากับ 3 ใน 4 ของคาใชจาย
ลงทุนดานการวิจัยและพัฒนาทั่วโลก
รอยละ 40 ของคาใชจายลงทุนดาน R&D ในบราซิล
เกิดขึ้นในเมือง Sao Paulo
รอยละ 51 ของคาใชจายลงทุนดาน R&D ในแอฟริกาใต
เกิดขึ้นในจังหวัด Gauteng
ไมตองแปลกใจ เพราะทางตอนเหนือของรัฐแคลิฟอรเนีย คือ Silicon
Valley ศูนยกลางเทคโนโลยีและนวัตกรรมโลก ที่ตั้งสํานักงานใหญของ
บริษัทชั้นนํา อาทิ แอปเปล กูเกิล รวมถึงเฟซบุค และทวิตเตอร
รอยละ 59 ของคาใชจายลงทุนดาน R&D ในสหรัฐอเมริกา
เกิดขึ้นใน 10 รัฐจาก 50 รัฐ
และคาใชจายรอยละ 20 เกิดขึ้นในรัฐแคลิฟอรเนียเพียงรัฐเดียว
ที่มา: UNESCO Science Report 2010
10
ภาพรวม R&D โลก
10 ประเทศที่มีการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา (R&D) สูงสุดทั่วโลก
สหรัฐอเมริกา*
ญี่ปุน*
จีน*
เยอรมนี
ฝรั่งเศส
เกาหลีใต*
สหราชอาณาจักร
รัสเซีย
แคนาดา
อิตาลี
0
50,000
100,000
150,000
200,000
250,000
300,000
350,000
400,000
งบดาน R&D
(ลานดอลลารสหรัฐ) * ขอมูลป 2551
ที่มา: UNESCO Institute for Statistics, Global Investment in R&D,
UIS Fact Sheet, August 2011, No.15.
จากขอมูลขององคการการศึกษา วิทยาศาสตร
และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (United Nations
Educational, Scientific, and Cultural Organization:
UNESCO) ใน UNESCO Science Report 2010
แสดงภาพรวมของการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา
ของโลกไวดังตอไปนี้
อเมริกาเหนือ
2.6%
คาเฉลี่ยของ GERD/GDP ทั่วโลก ป 2550
ที่มา: UNESCO Science Report 2010
คาบสมุทรแปซิฟก
(รวมนิวซีแลนดและออสเตรเลีย)
1.9%
ยุโรป
1.6%
เอเชีย
1.6%
ละตินอเมริกา
และแคริบเบียน
0.6%
ประเทศไทย
0.21%
แอฟริกา
0.4%
11
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
ภาพรวม R&D ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก
เกาหลีใต
คาใชจาย R&D ในภาคเอกชน
คา GERD/GDP
(%)
คาใชจาย R&D ในภาคอื่นๆ
3.56%
3.36%
2.94%
2.28%
2.24%
1.70%
1.32% 0.84%
0.80% 0.79%
0.24%
0.10%
ญี่ปุน ไตหวัน ออสเตรเลีย สิงคโปร จีน นิวซีแลนด มาเลเซีย อินเดีย ฮองกง ไทย ฟลิปปนส
สัดสวนคาใชจายลงทุนดานการวิจัยและพัฒนาตอผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ
และสัดสวนระหวางภาคเอกชนและภาคอื่นๆ ของประเทศในเอเชียแปซิฟก
ป 2552
ที่มา: IMD, World Competitiveness Yearbook 2012
รวบรวมโดย สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร
เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.)
12
การลงทุน R&D ในประเทศไทย
5 อันดับอุตสาหกรรมไทย
คาใชจาย R&D สูงที่สุด
คาเฉลี่ยของ GERD/GDP ประเทศไทย ป 2542-2552 อยูที่ รอยละ 0.24 ของ GDP
2542 2552
ที่มา:
1. สํานักงานคณะกรรมการวิจัย
แหงชาติ (วช.)
2. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.)
3. สํานักงานคณะกรรมการนโยบาย
วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม
แหงชาติ (สวทน.)
ภาคเอกชน ภาคเอกชน
ภาครัฐบาล (และสถาบันการศึกษา
หนวยงานไมคากำไร รัฐวิสาหกิจ)
ภาครัฐบาล (และสถาบันการศึกษา
หนวยงานไมคากำไร รัฐวิสาหกิจ)
5,554 ลานบาท 9,336 ลานบาท
6,342 ลานบาท 13,319 ลานบาท
ประเทศที่การทําวิจัยและพัฒนา
ขยายตัวขึ้นอยางมาก ไดแก ญี่ปุน
เกาหลีใต จีน และสิงคโปร
การลงทุนทําวิจัยและพัฒนา
สวนใหญของประเทศมาจาก
ภาคเอกชน มากกวารอยละ 60
ขณะที่ประเทศไทย
การลงทุนดังกลาวคอนขางคงที่
โดยเปนการลงทุนจาก
ภาคเอกชน รอยละ 40
ปโตรเลียม
หมายเหตุ: ขอมูล ป 2009
ที่มา: สํานักงานคณะ
กรรมการนโยบาย
วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.)
สารเคมีและเคมีภัณฑ
1,269 ลานบาท
849 ลานบาท
887 ลานบาท
เครื่องใชไฟฟา
อาหารและเครื่องดื่ม
2,374 ลานบาท
1,357 ลานบาท
เครื่องจักรและอุปกรณ
13
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
บุคลากรดานการวิจัยและพัฒนา
ป 2553
เกาหลีใต
บุคลากรดาน R&D ในภาคเอกชน
บุคลากรดาน R&D
ตอประชากร 1,000 คน
บุคลากรดาน R&D ในภาคอื่นๆ
9.10 7.29 6.89
6.78 6.58 6.31
3.43 1.90 0.95
0.78 0.19
ญี่ปุน*ไตหวัน
ออสเตรเลีย**
สิงคโปร
จีน
นิวซีแลนด*
มาเลเซีย
ฮองกง ไทย*
ฟลิปปนส*
หมายเหตุ:
* ขอมูลป 2551
** ขอมูลป 2552
ที่มา: IMD, World Competitiveness Yearbook 2012
รวบรวมโดย สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.)
14
ตั้งแตป 2544-2552 สัดสวนการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา
หรือ GERD (Gross Expenditures on R&D) ตอ GDP ของ
ประเทศไทยคอนขางต่ํา เฉลี่ยรอยละ 0.24 ของ GDP และยัง
ไมมีแนวโนมวาจะเพิ่มขึ้น
สําหรับประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีการขยายตัวของการ
ทําวิจัยและพัฒนาอยางมากไดแก ญี่ปุน เกาหลีใต จีน และ
สิงคโปร และสวนใหญเปนการขยายตัวที่เกิดขึ้นในภาคเอกชน
โดยการลงทุนทําวิจัยและพัฒนาสวนใหญของประเทศเหลานี้
มาจากภาคเอกชนมากกวารอยละ 60 ขณะที่ประเทศไทยนั้น
เปนการลงทุนจากภาคเอกชนเพียงรอยละ 40
ขณะที่สัดสวนบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาที่ทํางาน
เต็มเวลาของไทย อยูที่ 0.95 คนตอประชากร 1,000 คน เมื่อ
เทียบกับไตหวัน เกาหลีใต และสิงคโปร จะพบวาประเทศไทย
มีสัดสวนต่ํากวาราว 7-10 เทา และประเทศไทยยังมีบุคลากร
ในภาคเอกชนประมาณรอยละ 20 เทานั้น
สรุป
15
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
HUman
resources
in Science &
Technology
ดัชนีประเทศไทย
บทที่
3บุคลากรดานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี
16
PART 1 เฟรชชี่ไทย
จํานวนนักศึกษาใหมในสาขาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในป 2554นับวา
ยังมีสัดสวนนอยเมื่อเทียบกับสาขาสังคมศาสตร โดยเฉพาะในระดับปริญญาตรีและ
สูงกวาปริญญาตรี สถานการณดังกลาวจึงอาจสื่อนัยของจํานวนอุปทานบุคลากรดาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ยังไมเพียงพอในการสรางรากฐานที่แข็งแกรงรองรับการ
พัฒนาประเทศไปสูสังคมเศรษฐกิจดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดอยางยั่งยืน
บุคลากรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ถือเปนกำลังสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศไปสูเศรษฐกิจสังคมฐานความรู การพัฒนาบุคลากรดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีถือเปนแรงหนุนที่สำคัญประการหนึ่งในการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของ
ประเทศ เพื่อเปนรากฐานในการขับเคลื่อนประเทศ โดยเฉพาะการกาวสูการรวมกลุมเศรษฐกิจ
อาเซียน (AEC) ซึ่งประเทศไทยตองเรงเตรียมความพรอมในการแขงขันกับคูแขงรอบขางที่
ตางก็ไดเปรียบตนทุนคาแรง โดยใหความสำคัญกับการผลิตบุคลากรดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีที่มีคุณภาพในปริมาณที่เพียงพอ เพื่อเปนกำลังสำคัญในการเสริมสรางขีดความ
สามารถในการแขงขันของไทยไดอยางยั่งยืน
17
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
จำนวนผูเขาศึกษาใหมและจบการศึกษาทุกระดับการศึกษา ตั้งแตป 2550-2554
238,386 245,195 261,659 256,437
558,709
312,307
นักศึกษาเขาใหม
(คน)
ผูสำเร็จการศึกษา
(คน)
2550 2551 2552 2553 2554
Science &
Technology
Social science
& Humanity
557,796
307,168
440,153
319,091
496,375
253,939
529,652
-
352,905 338,164 314,273 343,650 354,603
-
จำนวนนักศึกษาใหมในสาขาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปรียบเทียบกับสายสังคมศาสตร ในป 2554
Science &
Technology
Social science
& Humanity
Higher
than
Bachelor
Bachelor
Lower
than
Bachelor
40% 60%
26% 74%
32% 68%
57% 43%
15,788 ¤¹ 46,022 ¤¹
169,538 ¤¹ 353,999 ¤¹
169,277 ¤¹ 129,631 ¤¹
หมายเหตุ: % เปรียบเทียบในระดับการศึกษาเดียวกัน
18
จำนวนนักศึกษาเขาใหมในสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แยกตามระดับการศึกษาและแยกคณะ
Agriculture
Engineering
Health and Welfare
Industry
Information &
Communication
Technology
Fisheries
Science
Agriculture
Engineering
Health and Welfare
Science
Agriculture
Engineering
Health and Welfare
Science
2007
2007
2007
2007
2007
2007
2008
2008
2008
2008
2008
2008
2009
2009
2009
2009
2009
2009
2010
2010
2010
2010
2010
2010
2011
2011
2011
นักศึกษาเขาใหม
นักศึกษาเขาใหม
นักศึกษาเขาใหม
ผูสำเร็จการศึกษา
ผูสำเร็จการศึกษา
ผูสำเร็จการศึกษา
Bachelor
Lower
than
Bachelor
Higher
than
Bachelor
ที่มา: 1.สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
2. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
3.สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ประมวลผล: สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.)
19
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
PART 2 สถานภาพกำลังแรงงานในประเทศไทย ป 2554
ระดับของแรงงาน
Low
skilled
workers
การศึกษาระดับ
ม.ตน หรือต่ํากวา
33%
Social science
& Humanity
67%
PH.D 5%
Master 25%
Bachelor 70%
Medium skilled
workers
การศึกษาระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลายหรือ ปวช. และ ปวส.
Knowledge
workers
มีการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีขึ้นไป
กําลังแรงงานของประเทศไทยในป 2554 39 ลานคน
แตมีเพียง 3 ลานคน ที่เปนแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดานวิทยาศาสตร 9%
71%
18%
Science &
Technology
ในแตละปประเทศไทยมีกําลังแรงงานดานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีสวนใหญอยูในระดับต่ํากวาปริญญาตรี ในสวน
ผูมีงานทําดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในกลุมที่สําเร็จการ
ศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป มีแนวโนมที่จะมาจากผูสําเร็จการ
ศึกษาในสาขาอื่นเพิ่มขึ้น ขณะที่สัดสวนผูมีงานทําที่จบไมตรง
สาขาในกลุมระดับต่ํากวาปริญญาตรีแทบไมเปลี่ยนแปลง สวน
หนึ่งอาจเปนเพราะสาขาวิชาในระดับปริญญาตรีขึ้นไปที่มีหลาก
หลายสาขาในปจจุบัน สามารถนํามาประยุกตใชกับการทํางาน
ในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีได
11%
20
แรงงานดาน
วิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีในป 2560
จากการศึกษาของมูลนิธิสถาบันวิจัย
เพื่อการพัฒนาประเทศไทยในอีก 5
ปขางหนา (ป 2556-2560) แนวโนม
ความตองการผูสําเร็จการศึกษาดาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีดังนี้
ปวช. และ ปวส.
คาดวาผูสําเร็จการศึกษาและพรอม
เขาสูตลาดแรงงาน 30,435 คน
แตความตองการแรงงานของตลาด
50,789 คน
ปริญญาโท
คาดวาผูสําเร็จการศึกษาและพรอม
เขาสูตลาดแรงงาน 9,743 คน
แตความตองการแรงงานของตลาด
25,873 คน
ที่มา: จากรายงานการวิจัย เรื่อง โครงการ
ศึกษาความตองการกําลังคนเพื่อวางแผน
การผลิต และพัฒนากําลังคนของประเทศ
โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา
ประเทศไทย (2553)
สําหรับจํานวนผูที่ทํางานดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ยังจําแนกเปนผูที่ทํางานตรงสาขา
วิชากับไมตรงสาขาวิชา ดังนี้
กำลังแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีป 2550-2554 จำแนกตามสถานภาพแรงงาน
กำลังแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีคือใคร
กําลังแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คือผูสําเร็จการศึกษาตั้งแตระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ขึ้นไปในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดแก วิทยาศาสตร
ธรรมชาติ (Natural science) วิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยี (Engineering and technology)
วิทยาศาสตรการแพทย (Medical science) และเกษตรศาสตร (Agricultural science)
และผูที่ไมไดสําเร็จการศึกษาในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แตปฏิบัติงานในตําแหนง
ที่ตองการบุคลากรที่จบการศึกษาในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตั้งแตระดับ ปวช. ขึ้นไป เชน
ผูประกอบอาชีพและชางเทคนิคดานฟสิกส คณิตศาสตร วิศวกรรมศาสตร และวิทยาศาสตรเกี่ยว
กับสิ่งมีชีวิตและสุขภาพ รวมทั้งผูประกอบอาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
0
1
2
3
2550 2551 2552 2553 2554
1.60
1.04
0.05
1.77
1.10
0.06
1.87
1.26
0.06
1.88 1.99
1.30
0.06
ลานคน
1.28
0.04
ผูที่ทำงานดานวิทยาศาสตร
ผูที่จบดานวิทยาศาสตรแตไมทำงานดานนี้
ผูที่จบดานวิทยาศาสตรแตวางงาน
2550 2551 2552 2553 2554
0.41
1.19
0.51
1.26
0.54
1.33
0.52
1.36
0.54
1.45
ผูที่ทำงานตรงสาขาวิชา
ผูที่ทำงานไมตรงสาขาวิชา
0
0.5
1.0
1.5
ลานคน
ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ
รวบรวมโดยสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร
เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.)
21
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
บางคนจบดานวิทยาศาสตร แตไมไดทํางานดานวิทยาศาสตร แลวพวกเขาไปไหน
ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ
รวบรวมโดยสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร
เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.)
*นายแบบและนางแบบ รวมถึง
พนังงานขายและพนักงานสาธิต
สินคาดวย
กำลังแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป 2551-2554 จำแนกตามชวงอายุ
15-19 20-29 30-39 40-49
2554
2553
2552
2551
50-59
50%
25%
0%
28%
นายแบบและนางแบบ*
เสมียนสำนักงาน
ผูประกอบวิชาชีพดานการสอน
ผูปฏิบัติการขับเคลื่อน
ยานยนตและเครื่องจักร
พนักงานบริการ
ดานการปองกันภัย
ผูจัดการทั่วไป
ผูปฏิบัติงานในธุรกิจดาน
ความสามารถทางฝมือ
ผูจัดการบริษัท
การขายและการบริการ
ผูปฏิบัติงานดานการเกษตร
และประมงในเชิงเศรษฐกิจ
22
จํานวนนักศึกษาเขาใหมในสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย ใน
ปการศึกษา 2554 คิดเปนสัดสวนเพียงรอยละ 40 ของจํานวนนักศึกษาเขา
ใหมทั้งหมด ขณะที่จํานวนผูสําเร็จการศึกษาในสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ของประเทศไทย ในปการศึกษา 2553 คิดเปนสัดสวนรอยละ 50 ของจํานวน
ผูสําเร็จการศึกษาทั้งหมด
สวนกําลังแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรวมทั้งหมดมีจํานวน
3.31 ลานคน จําแนกเปนผูมีงานทําในสัดสวนรอยละ 99 ขณะที่ผูวางงานซึ่งมี
สัดสวนรอยละ 1.2 หากพิจารณาผูมีงานทําทั้งหมดทางดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีในระดับที่ปริญญาตรีขึ้นไป พบวา ผูสําเร็จการศึกษาจากสาขาอื่นๆ
ที่ไมใชสาขาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีสัดสวนเพิ่มขึ้น จากความหลาก
หลายของสาขาวิชาในระดับปริญญาตรีขึ้นไปที่มีมากขึ้นในปจจุบัน
นอกจากนี้ ผูสําเร็จการศึกษาในสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสวนหนึ่ง
ก็ไมไดเขาสูตลาดแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูสําเร็จการศึกษาใน
สายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ประกอบอาชีพอื่นมีแนวโนมจะหันไปประกอบ
อาชีพที่ใชความสามารถทางฝมือในดานอื่นๆ แทนการเปนนายแบบและนางแบบ
เพิ่มขึ้น
สรุป
23
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
Technology
Balance
of Payments
ดัชนีประเทศไทย
บทที่
4ดุลการชำระเงิน
ทางเทคโนโลยี
ดุลการชําระเงินทางเทคโนโลยี คือ ดัชนีชี้วัดที่สะท้อน
ถึงสถานะของประเทศวาเปนผูรับหรือผูถายทอด
เทคโนโลยี ถ้าดุลการชําระเงินทางเทคโนโลยีเป็นบวก
แสดงวาประเทศมีความสามารถในการผลิตความรู
และเทคโนโลยีในเกณฑ์ดี แต่ถ้าดุลการชําระเงินทาง
เทคโนโลยีติดลบ หมายความวาประเทศยังมีความสามารถ
ในการผลิตความรูและเทคโนโลยีอยางจำกัด
24
ดุลการชำระเงินทางเทคโนโลยีคืออะไร
ดุลการชําระเงินทางเทคโนโลยีคือ ยอดสุทธิที่เกิดจากการเปรียบเทียบ
รายรับและรายจายที่เกิดจากการทําธุรกรรมที่เกี่ยวของกับการคาขายความรู
ทางเทคนิคหรือการใหบริการทางเทคโนโลยีระหวางประเทศ
1รายจายคาธรรมเนียมทางเทคโนโลยี - ดัชนีสะทอนระดับการพึ่งพิง
หรือความตองการใชเทคโนโลยีที่นําเขาจากตางประเทศ
2รายรับคาธรรมเนียมทางเทคโนโลยี – ดัชนีสะทอนขีดความ
สามารถของประเทศในการพัฒนาเทคโนโลยีที่สามารถแขงขันไดในระดับ
นานาชาติ ปลายทางคือ รายไดจากการสงออกเทคโนโลยี
อะไรคือธุรกรรม
เทคโนโลยีระหวางประเทศ
ธนาคารแหงประเทศไทยรวบรวมขอมูลและจําแนก
ธุรกรรมเทคโนโลยีได 2 ประเภท
1 คารอยัลตี้และคาธรรมเนียมใบอนุญาต (Roy-
alty and license fees) หมายถึง คาธรรมเนียมการ
อนุญาตใหใชสินทรัพยที่ไมมีตัวตนและไมใชสินทรัพย
ทางการเงิน และอนุญาตใหใชสิ่งของตนฉบับ อาทิ
เครื่องหมายการคา ลิขสิทธิ์ เทคนิคและการออกแบบ
สิทธิในการผลิตและสัมปทานการจําหนายตนฉบับ
หนังสือและภาพยนตร เปนตน
2คาที่ปรึกษาและการใหบริการทางเทคนิค (Con-
sulting and technical service fees) คือ คาตอบแทน
ที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ คาใหบริการความรูทางวิชาการ
และคาใหบริการความชวยเหลือทางเทคนิค เชน คาให
บริการความชวยเหลือในการติดตั้งเครื่องจักรในโรงงาน
เปนตน
25
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
ประเทศไทยขาดทุนหรือกำไร
ป 2554 ประเทศไทยมีมูลคารายจายทางเทคโนโลยี 236,380 ลานบาท สวนรายรับ
ทางเทคโนโลยีมีเพียง 74,602 ลานบาท เทากับประเทศไทยขาดดุลถึง 161,778 ลานบาท
และเปนการขาดดุลที่มีอัตราเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง
การขาดดุลรอยัลตี้และ
คาธรรมเนียมใบอนุญาต
89,662 ลานบาท
การขาดดุลคาที่ปรึกษา
และการใหบริการทางเทคนิค
72,116 ลานบาท
-10
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
0
50,000
100,000
150,000
200,000
250,000
2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554
Receipts growth
Payments growth
% GROWTHลานบาท
Total Payments
Total Receipts
• รายรับและรายจายทางเทคโนโลยีของไทยสวนใหญจะเปนดานคาที่ปรึกษาและการให
บริการทางเทคนิค โดยเฉพาะรายจายดานคาที่ปรึกษาและการใหบริการทางเทคนิค
ยังคงมีสัดสวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สวนรายรับทางเทคโนโลยียังคอนขางต่ํา
• รายรับคารอยัลตี้และคาธรรมเนียมใบอนุญาตที่มีสัดสวนสูงและเพิ่มขึ้นมาก สวนใหญ
อยูในกลุมอุตสาหกรรมเครื่องมือสื่อสาร และธุรกิจการจัดจําหนาย (คาสงและคาปลีก)
• รายรับคาที่ปรึกษาและใหบริการทางเทคนิคที่มีสัดสวนสูงและเพิ่มขึ้น สวนใหญอยูใน
ธุรกิจงานสถาปตยกรรมและวิศวกรรม และการจัดทําโปรแกรมคอมพิวเตอร
ป 2554 รายรับจากคารอยัลตี้และคา
ธรรมเนียมใบอนุญาตของประเทศไทย
สวนใหญมาจากกลุมประเทศอาเซียน
เปนหลัก คือ รอยละ 77
ราย จาย คา รอยัล ตี้ และ คา
ธรรมเนียมใบอนุญาตของประเทศไทย
ในป 2554 สวนใหญเปนรายจายให
ญี่ปุนเปนหลัก (รอยละ 68 และยังมี
ทิศทางปรับเพิ่มขึ้น) แสดงวาไทยยังตอง
พึ่งญี่ปุนในดานเทคโนโลยีคอนขางมาก
ซึ่งเปนไปตามทิศทางการลงทุนทางตรง
ในอุตสาหกรรมหลักๆ ของไทย โดย
เฉพาะอุตสาหกรรมสงออกที่เนนแขงขัน
ดานเทคโนโลยี ซึ่งสวนใหญจะเปนกลุม
ทุนจากญี่ปุน เชน อุตสาหกรรมยานยนต
หรืออุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส
ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย
คํานวณโดย สํานักงานคณะกรรมการนโยบาย
วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.)
26
กระเปาเงินของ
ประเทศไทย
เปนอยางไร
ป 2549-2553 รายรับของไทยเพิ่มขึ้นในอัตรา
คอนขางสูงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ โดย
เฉพาะประเทศพัฒนาแลว
อัตราการเติบโตของรายรับของไทยยังคง
เปนรองอินโดนีเซียและจีน แตรายจายคารอยัลตี้
และคาธรรมเนียมใบอนุญาตของไทย กลับมีอัตรา
การเพิ่มที่ต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการเพิ่มขึ้น
โดยเฉลี่ยของทั้งประเทศพัฒนาแลว ประเทศกําลัง
พัฒนาและของโลก
ธุรกิจอุตสาหกรรมที่ไทยขาดดุลการคา
ทางเทคโนโลยีสูงสุด 5 อันดับแรก
ยานยนตและชิ้นสวน งานสถาปตยกรรม
และวิศวกรรม
ผลิตภัณฑปโตรเลียม อิเล็กทรอนิกส
ธุรกิจพลังงาน
(น้ำมันดิบและกาซธรรมชาติ)
35
30
25
20
15
10
5
0
0 5 10 15 20 25 30-5
THAILAND
INDONESIA
CHINA
BRAZIL
FINLAND
GERMANY
FRANCE
BELGIUM
DENMARK
NETHERLAND
SWEDEN
UK
WORLD
CAMBODIA
AUSTRIA
SPAIN CHILE
SOUTH AFRICA
NEW ZEALAND
INDIA
การขยายตัวของรายจาย
เกินดุลในป 2553
ขาดดุลในป 2553
การขยายตัวของรายรับ
KOREA
TAIWAN
SINGAPORE
DEVELOPING
DEVELOPED
การขยายตัวของ
รายรับรายจายคารอยัลตี้และ
คาธรรมเนียมใบอนุญาตโดยเฉลี่ย
ของประเทศกําลังพัฒนาสูงกวาอัตราการ
ขยายตัวของรายรับรายจายของประเทศ
พัฒนาแลวและของโลก แสดงวาประเทศ
กําลังพัฒนามีการขยายตัวของกิจกรรม
การแลกเปลี่ยนทางเทคโนโลยีสูงกวา
กลุมประเทศอื่นๆ
ที่มา: UNCTAD และธนาคารแหงประเทศไทย
คํานวณโดย สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร
เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.)
27
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
ที่มา: UNCTAD และ สํานักงานคณะกรรมการนโยบาย
วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.)
ขาดดุลแลวอันตรายไหม
เมื่อเทียบสัดสวนการขาดดุลชําระเงินทางเทคโนโลยี โดยรวมของไทยนับวาสูงเมื่อ
เทียบกับหลายประเทศในเอเชีย เชน ไตหวัน เกาหลีใต มาเลเซีย ฮองกง อินเดีย
อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และจีน ขณะที่ประเทศพัฒนาแลวอยางสหรัฐอเมริกา
อังกฤษ เยอรมนี และญี่ปุน ยังเกินดุลรอยละ 0.6, 0.3, 0.1 และ 0.1 ตอจีดีพี
ตามลําดับ
แตการขาดดุลทางเทคโนโลยีเปนปรากฏการณทั่วไปของประเทศกําลัง
พัฒนาที่ตองนําเขาองคความรูและเทคโนโลยีจากภายนอกเขามาเพื่อปรับปรุง
ประสิทธิภาพการผลิตสําหรับภาคอุตสาหกรรม-7
-6
-5
-4
-3
-2
-1
0
1
INDONESIA
MALAYSIA
SINGAPORE
UK
USA
ดุลชำระงเิน
ทางเทคโนโลยี
(%GDP)
2001
2010
THAILAND
รายจาย
ดุลการชำระเงิน
รายรับ
-25,000
-20,000
-15,000
-10,000
-5,000
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
35,000
รายรับ-รายจายคาที่ปรึกษาของประเทศไทย ป 2554
ลานบาท
JAPAN USA SINGAPORE HONG KONG SOUTH KOREA ASEAN
• รายรับจากคาที่ปรึกษาและการให
บริการทางเทคนิคของประเทศไทย
ในป 2554 สวนใหญมาจากญี่ปุน
และอาเซียน โดยเฉพาะตลาด
ญี่ปุน เพิ่มขึ้นรอยละ 20 จาก
รอยละ 17 ในป 2552
• ป 2554 ไทยจายคาที่ปรึกษา
และการใหบริการทางเทคนิคให
กับประเทศในเอเชีย เชน อาเซียน
และญี่ปุน ในสัดสวนสูงรอยละ
18-25
• ระดับการพึ่งพิงของไทยในการใชบริการที่
ปรึกษาและบริการทางเทคนิคจากประเทศ
พัฒนาแลวอยางญี่ปุน และสหรัฐอเมริกา
ปรับตัวลดลง แตหันไปใชบริการเสือใน
เอเชีย เชน สิงคโปร และฮองกง เพิ่มขึ้น
• ป 2553 ประเทศไทยขาดดุลการชําระเงินทาง
เทคโนโลยีรอยละ 1.5 ตอ GDP และเมื่อเทียบ
กับชวง 10 ปกอน พบวา สัดสวนการขาดดุลดาน
คารอยัลตี้และคาธรรมเนียมใบอนุญาตตอ GDP ยัง
ไมเปลี่ยนแปลง แตการขาดดุลดานคาที่ปรึกษาและ
การใหบริการทางเทคนิคปรับเพิ่มขึ้น
ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย
28
การขาดดุลการชําระเงินทางเทคโนโลยีเปนเรื่องปกติในประเทศกําลัง
พัฒนา แตเมื่อพิจารณาโดยเปรียบเทียบจะพบวาการขยายตัวของ
รายรับรายจายทางเทคโนโลยีของประเทศกําลังพัฒนา โดยเฉพาะ
รายรับรายจายคารอยัลตี้และใบอนุญาต มีแนวโนมเติบโตสูงกวา
ประเทศพัฒนาแลว แสดงใหเห็นถึงพลวัตการปรับตัวของประเทศ
กําลังพัฒนา เชน ไทย จีน บราซิล และอินโดนิเซีย ที่แมจะยังอยูใน
สถานะผูรับเทคโนโลยีจากภายนอก แตก็มีแนวโนมที่ดีจากรายรับ
ของการสงออกความรูทางเทคโนโลยีที่ขยายตัวในอัตราสูงกวา
คาเฉลี่ยของโลก
สิ่งที่ควรพิจารณาคือ การพัฒนาแนวทางที่จะใชความรูทาง
เทคโนโลยีที่นําเขาจากตางประเทศใหเกิดประโยชนสูงสุด และมุง
ใหเกิดการแพรกระจายของความรูทางเทคโนโลยีที่นําเขาจากตาง
ประเทศอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหผูประกอบการในประเทศ
สามารถตอยอดและพัฒนาความรูดังกลาว ไปสูการยกระดับการ
พัฒนาทางเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมภายในประเทศ โดยมีเปา
หมายใหประเทศปรับเปลี่ยนสถานะจากผูรับทางเทคโนโลยีเปนผูสง
ออกทางเทคโนโลยีในที่สุด
สรุป
29
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
Patent
ดัชนีประเทศไทย
บทที่
5สิทธิบัตร
สิทธิบัตร (Patent) เปนทรัพยสินทางปญญาที่มีบทบาท
สำคัญตอการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ทำใหผลการคิดคน
เทคโนโลยีไมสูญหายไป มีการพัฒนาตอยอดเทคโนโลยี
จากที่ผูอื่นคิดคนไว คลังขอมูลสิทธิบัตรจึงเปนขุมทรัพย
ทางปญญาที่มีคามากมายมหาศาล
30
สิทธิบัตรคืออะไร
ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522
ไดใหคํานิยามของ “สิทธิบัตร” (Patent) วาหมายถึง
“หนังสือสําคัญที่ออกใหเพื่อคุมครองการประดิษฐ
(Invention) หรือการออกแบบผลิตภัณฑ (Product
design)” สิทธิบัตรจึงแบงออกเปน 2 ประเภท
1 การประดิษฐ(Invention) หมายถึง การคิดคนหรือ
คิดทําขึ้นอันเปนผลใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑหรือกรรมวิธี
ใดขึ้นใหม หรือการกระทําใดๆ ที่ทําใหดีขึ้น เชน กลไก
ของกลองถายรูป เครื่องยนต ยารักษาโรค หรือการ
คิดคนกรรมวิธีในการผลิตสิ่งของ ซึ่งสามารถนําไปใช
ประโยชนในทางอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกร
รม และหัตถกรรมได เชน วิธีการในการผลิตสินคา วิธี
การในการถนอมพืชผักผลไมไมใหเนาเสียเร็ว
สิทธิบัตรประเภทนี้มีอายุการคุมครอง 20 ป
นับตั้งแตวันที่ยื่นขอรับสิทธิบัตร
2 การออกแบบผลิตภัณฑ (Product
design) หมายถึง การออกแบบรูปรางของ
ผลิตภัณฑ หรือองคประกอบของลวดลาย
หรือสีของผลิตภัณฑ อันมีลักษณะพิเศษ
สําหรับผลิตภัณฑซึ่งสามารถใชเปนแบบสําหรับ
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม รวมทั้งหัตถกรรมได
เชน การออกแบบแกวน้ําใหมีรูปรางเหมือน
รองเทา
สิทธิบัตรประเภทนี้มีอายุการคุมครอง 10 ป นับ
ตั้งแตวันที่ยื่นขอรับสิทธิบัตร
31
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
สิทธิบัตรในประเทศไทย ป 2554
สิทธิบัตรการประดิษฐของคนไทย
แตไดรับการจดทะเบียน
รวมทั้งสิ้น
2,153 รายการ
ยื่นขอสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ
66%
คนไทย 2,513 รายการ
คนตางชาติ 1,276 รายการ
ยื่นขอสิทธิบัตรการประดิษฐ
34%
คนไทย 856 รายการ
คนตางชาติ 1,128 รายการ
จดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ
58%
คนไทย 677 รายการ
คนตางชาติ 576 รายการ
จดสิทธิบัตรการประดิษฐ
42%
คนไทย 49 รายการ
คนตางชาติ 851 รายการ
ทั้งหมด
5,773
รายการ
สิทธิบัตรการประดิษฐสามารถจําแนกตาม
การจัดจําแนกสิทธิบัตรระหวางประเทศ
(IPC) ขององคการทรัพยสินทางปญญาโลก
(The World Intellectual Property Orga-
nization: WIPO) ไดเปน 8 หมวดหลัก คือ
1 สิ่งจําเปนในการดํารงชีวิตของมนุษย (Hu-
man necessities) เชน เกษตรกรรม ปาไม
การลาสัตว การอบยาสูบ เครื่องนุงหม
2 การดําเนินงาน การปฏิบัติงาน การขนสง
(Performing; Operations; Transporting)
เชน กระบวนการทางฟสิกสหรือเคมี การ
ทําความสะอาด การตัด การพิมพ งานศิลปะ
ตกแตง ยานพาหนะ
3 เคมี และโลหะวิทยา (Chemistry; Met-
allurgy) เชน อินทรียเคมี อนินทรียเคมี
การบําบัดน้ํา แกว กระจก ซีเมนต ชีวเคมี
อุตสาหกรรมปโตรเลียม น้ํามันพืชหรือสัตว
อุตสาหกรรมน้ําตาล
4 สิ่งทอและกระดาษ (Textiles; Paper)
เชน การปนดาย การทอ การถัก การเย็บ
ปกถักรอย การผลิตกระดาษ
5 การกอสรางอยางถาวร (Fixed con-
structions) เชน การสรางถนน รางรถไฟ
สะพาน วิศวกรรมไฮโดรลิก ทอน้ําทิ้ง บอ
บําบัดน้ํา การกอสราง การล็อคกุญแจ
เครื่องเจาะเหมืองแร
6 วิศวกรรมเครื่องกล การทําใหเกิดแสง
สวาง การทําใหเกิดความรอน อาวุธ ระเบิด
(Mechanical engineering; Lighting; Heat-
ing; Weapons; Blasting) เชน เครื่องจักร
กล เกียร การจัดเก็บ-จายกาซและของเหลว
7 ฟสิกส (Physics) เชน การวัด การทดสอบ
อุปกรณตรวจสอบ การสงสัญญาณจักษุ
อุปกรณดนตรี การเก็บขอมูล
8 ไฟฟา (Electricity) เชน การผลิต การแปลง
การจายพลังงานไฟฟา วงจรไฟฟา
ที่มา: กรมทรัพยสินทางปญญา
32
อันดับ 1 เฟอรนิเจอร
สิทธิบัตรการออกแบบของคนไทย
World Intellectual Property Organization: WIPO แบงสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑออกเปน 32 ประเภท
แตหมวดที่คนไทยไดรับสิทธิบัตรมากที่สุด
ในป 2554 ไดแก
อันดับ 1
สิ่งจําเปนในการดํารงชีวิตของมนุษย
อันดับ 2
หมวดวิศวกรรมเครื่องกล
อันดับ 3
หมวดการดําเนินงาน
การปฏิบัติงาน การขนสง
35%
22%
20%
23%
17%
ในการยื่นคําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ
โดยคนไทยในป 2554 จํานวนทั้งสิ้น
856 รายการ หมวดที่มีการยื่นคําขอมาก
ที่สุดคือ
อันดับ 1
สิ่งจำเปนในการดำรงชีวิตของมนุษย
อันดับ 2
เคมี และโลหะวิทยา
หมวดสิ่งทอและกระดาษ
มีการยื่นขอสิทธิบัตรนอยที่สุด
24%
19%
1%
การไดรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑของ
คนไทย ในป 2554 มี 677 รายการ
9% 10%
อันดับ 2 เครื่องมือและเครื่องโลหะ
8.5%
อันดับ 3 หีบหอและภาชนะ
สำหรับการขนสงหรือการขนยายสินคา
มีการยื่นคําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐโดยคนไทยในป 2554
จํานวนทั้งสิ้น 856 รายการ หมวดที่มีการยื่นคําขอมากที่สุดคือ
อันดับ 1 ของใชในบาน
อันดับ 2 หีบหอและภาชนะสำหรับ
การขนสงหรือการขนยายสินคา
9%
อันดับ 3 อาคารและอุปกรณการกอสราง
ที่มา: กรมทรัพยสินทางปญญา
33
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
หนวยงานใดยื่นคำขอและไดรับสิทธิบัตรมากที่สุด
ในป 2554 การยื่นคําขอสิทธิบัตรโดยหนวยงานตางๆ ของประเทศไทย มีทั้งหมด 2,022
รายการ และไดรับการจดทะเบียนสิทธิบัตรจํานวน 413 รายการ รอยละ 73 สวนใหญเปนสิทธิบัตร
ที่ยื่นคําขอโดยนิติบุคคล ซึ่งมีการยื่นคําขอเปนสัดสวนรอยละ 73 และไดรับจดทะเบียนเปนสัดสวน
รอยละ 92 ของจํานวนที่ไดรับจดทะเบียนทั้งหมด รองลงมาไดแก สถาบันการศึกษา (ยื่นคําขอรอย
ละ 16 ไดรับจดทะเบียนรอยละ 6) ในขณะที่หนวยงานของรัฐ มีจํานวนการยื่นคําขอและไดรับสิทธิ
บัตรนอยที่สุด (ยื่นคําขอรอยละ 10 ไดรับจดทะเบียนรอยละ 1)
สหรัฐอเมริกา แชมปสิทธิบัตร
ในการยื่นคําขอรับสิทธิบัตรกับองคการทรัพยสินทาง
ปญญาโลก (The World Intellectual Property Organiza-
tion: WIPO) จากรายงานสถิติการยื่นคําขอรับสิทธิบัตรผาน
ระบบ PCT จําแนกตามประเทศผูยื่นขององคการทรัพยสิน
ทางปญญาโลก (The World Intellectual Property Orga-
nization: WIPO)
ยื่นขอ
2,002
หนวยงานรัฐ
หนวยงานรัฐ
สถาบันการศึกษา
สถาบันการศึกษา
ภาคเอกชน/
นิติบุคคล
ภาคเอกชน/นิติบุคคล
212
327
1,483
6
26
328
ไดรับ
413รวม
ที่มา : กรมทรัพยสินทางปญญา สืบคนวันที่ 25 มิถุนายน 2555
ประเทศที่มีการยื่นคำขอสิทธิบัตร
สูงสุด 5 อันดับแรก ป 2554
ประเทศไทยอยูอันดับที่ 43 มีจํานวนการยื่นคําขอสิทธิบัตร
ของคนไทย 67 รายการ คิดเปน 0.04%
ญี่ปุน
21.33%
38,873 รายการ
เยอรมัน
10.34%
18,847 รายการ
จีน
9%
16,402 รายการ
เกาหลีใต
5.73%
10,447 รายการ
สหรัฐอเมริกา
26.87%
48,962 รายการ
หมายเหตุ: ตัวเลขที่แสดงเปนสถิติผลรวมจํานวนการยื่นจด
สิทธิบัตรระหวางประเทศในระบบ PCT จากประเทศที่เปน
ถิ่นที่อยูของผูยื่นคําขอ
ที่มา: (Source): WIPO Statistics Database, August 2012.
PCT Yearly Review The International Patent System 2012
ไมมีสิทธิบัตร เรายังมี ‘อนุสิทธิบัตร’
อนุสิทธิบัตร(Petty Patent)
หมายถึง หนังสือที่รัฐออกใหเพื่อ
คุมครองการประดิษฐที่มีเทคนิคไม
สูงมากนัก หรือเปนการประดิษฐที่
ปรับปรุงขึ้นจากของเดิมที่มีอยูเล็ก
นอย และมีประโยชนใชสอยมาก
ขึ้น ซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชใน
อุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม
และพาณิชยกรรม อนุสิทธิบัตรมีอายุ
การคุมครองเปนเวลา 6 ป และสามารถ
ตออายุได 2 ครั้ง ครั้งละ 2 ป รวมแลว
ไมเกิน 10 ป
การยื่นขออนุสิทธิบัตรใน
ประเทศไทยพบวา ในชวงป 2554
มีจํานวน 1,342 รายการ (ป 2553
จํานวน 1,328 รายการ) ในจํานวนนี้
เปนการยื่นขอโดยคนไทยคิดเปนรอย
ละ 92
การ จด อนุ สิทธิ บัตร ใน
ประเทศไทยพบวา ในป 2554 มีจํานวน
อนุสิทธิบัตรที่ไดรับการจดทะเบียน
จํานวน 929 รายการ(ป 2553 จํานวน
685 รายการ) ในจํานวนนี้เปนสถิติการ
ไดรับการจดทะเบียนโดยคนไทยคิด
เปนรอยละ 92
34
• สํานักงานสิทธิบัตรญี่ปุน (Japan Patent
Office: JPO) รายงานวา ป 2553 คนไทย
ยื่นคําขอรับสิทธิบัตรจํานวน 9 รายการ (ป
2552 มีจํานวน 13 รายการ) แบงเปนเปน
สิทธิบัตรการประดิษฐ 8 รายการ และการ
ออกแบบ 1 รายกา
• คนไทยก็ไดรับการจดทะเบียนสิทธิบัตร
3 รายการเทากันกับป 2552 แบงเปน
สิทธิบัตรการประดิษฐ 2 รายการและการ
ออกแบบผลิตภัณฑ 1 รายการ
ที่มา : ขอมูลจากกรมทรัพยสินทางปญญา
• สํานักงานสิทธิบัตรสหรัฐอเมริกา (The
US Patent and Trademarks Office:
USPTO ) รายงานวา ป 2554 คนไทย
ยื่นคําขอรับสิทธิบัตรในสหรัฐอเมริกา
จํานวนรวม 127 รายการ เพิ่มขึ้นจากจาก
ป 2553 รอยละ 18
• ป 2554 คนไทยไดรับการจดสิทธิบัตรใน
สหรัฐอเมริกาจํานวน 73 รายการ เพิ่มขึ้น
รอยละ 22 เมื่อเปรียบเทียบกับป 2553
• สํานักงาน สิทธิ บัตร ยุโรป
(European Patent Office:
EPO) รายงานวา ในป 2554
คนไทยยื่นคําขอรับสิทธิบัตรใน
สหภาพยุโรปจํานวน 7 รายการ
และไดรับสิทธิบัตร 6 รายการ
เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับป
2553 ซึ่งมีจํานวนการยื่นคําขอ
รับสิทธิบัตร 5 รายการ และได
รับสิทธิบัตรเพียง 1 รายการ
สิทธิบัตรของคนไทยในตางแดน
จํานวนคําขอรับสิทธิบัตรและจํานวนสิทธิ
บัตรการประดิษฐที่ไดรับอนุมัติสําหรับ
ประเทศไทยยังมีจํานวนนอย และสวนใหญ
เปนการยื่นจดทะเบียนโดยชาวตางชาติ โดย
สิทธิบัตรที่คนไทยไดรับอนุมัติมีจํานวนไมถึง
รอยละ 10
หนวยงานใหทุนวิจัยจะตองมีแนวทาง
ปฏิบัติในการบริหารจัดการทรัพยสินทาง
ปญญาอยางเปนเอกภาพ และเรงสงเสริม
ใหจํานวนสิทธิบัตรที่เกิดจากการวิจัยและ
พัฒนาโดยคนไทยเพิ่มมากขึ้น พรอมปฏิรูป
ระบบการใหบริการจดทะเบียนทรัพยสินทาง
ปญญาใหมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ไดมาตรฐาน
สากล เพื่อลดปญหาการจดทะเบียนลาชา
และเปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญในการ
รองรับปริมาณงานวิจัยที่อาจนําเขาสูระบบ
การคุมครองทรัพยสินทางปญญาเพิ่มขึ้น
นอกจากนี้ ควรสงเสริมใหมีการนําผล
งานวิจัยไปประยุกตใชใหเกิดมูลคาทั้งในเชิง
พาณิชยและเชิงสาธารณประโยชนมากขึ้น ใน
รูปแบบที่สามารถดึงดูดความสนใจจากภาค
เอกชนใหลงทุนวิจัยและพัฒนามากขึ้น ตลอด
จนตองมีการพัฒนาศักยภาพในการบริหาร
จัดการทรัพยสินทางปญญาใหแกบุคลากร
ทั้งหมดนี้จะชวยเสริมสรางขีดความ
สามารถในการแขงขันใหภาคอุตสาหกรรม
ทั้งภาคการผลิตและภาคบริการ ซึ่งนําไปสู
การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ
ประเทศอยางยั่งยืนตอไป
สรุป
35
ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
Scientific
&Technological
Publications
ดัชนีประเทศไทย
บทที่
6ผลงานตีพิมพ
ดานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี
ผลงานตีพิมพดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Scientific
and Technological [S&T] Publications) เปน
ผลลัพธอยางหนึ่งจากการศึกษาคนควา การทำวิจัยและพัฒนา
เปนแหลงขอมูลความรูที่นาเชื่อถือ สามารถนำไปอางอิงและ
ตอยอดได
นอกจากนั้น ยังถือเปนดัชนีชี้วัดระดับความแข็งแกรงใน
การทำวิจัยและพัฒนาของนักวิจัย รวมทั้งสะทอนถึงความรวม
มือดานการวิจัยและพัฒนาระหวางสถาบันตางๆ ทั้งในและตาง
ประเทศ
หัวขอของผลงานตีพิมพดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สามารถสะทอนถึงความสนใจและศักยภาพความเขมแข็งดาน
การวิจัยและพัฒนาของนักวิจัยแตละประเทศ บางครั้งยังแสดง
ใหเห็นดวยวาประเด็นสำคัญระดับชาติ หรือแมแตระดับโลกบาง
เรื่องกำลังถูกมองขามไป
36
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013
“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013

More Related Content

Viewers also liked

Resource discovery on mobile devices keren mills
Resource discovery on mobile devices   keren millsResource discovery on mobile devices   keren mills
Resource discovery on mobile devices keren millsKeren Mills
 
Menjadi penjual yang sukses
Menjadi penjual yang suksesMenjadi penjual yang sukses
Menjadi penjual yang suksesNur Agustinus
 
Majalah INFO-UFO no 11
Majalah INFO-UFO no 11Majalah INFO-UFO no 11
Majalah INFO-UFO no 11Nur Agustinus
 
หยดน้ำบนใบบัว หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
หยดน้ำบนใบบัว หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนหยดน้ำบนใบบัว หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
หยดน้ำบนใบบัว หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนSatapon Yosakonkun
 
UCISA Major Project Governance Assessment Toolkit
UCISA Major Project Governance Assessment ToolkitUCISA Major Project Governance Assessment Toolkit
UCISA Major Project Governance Assessment Toolkitucisa
 
Social Media Webinar Slides 170908
Social Media Webinar Slides 170908Social Media Webinar Slides 170908
Social Media Webinar Slides 170908guestbc85d0
 
UFO Menyambut Th 1980 Planet Bumi
UFO Menyambut Th 1980 Planet BumiUFO Menyambut Th 1980 Planet Bumi
UFO Menyambut Th 1980 Planet BumiNur Agustinus
 
OSS & Freeware เพื่อการศึกษา
OSS & Freeware เพื่อการศึกษาOSS & Freeware เพื่อการศึกษา
OSS & Freeware เพื่อการศึกษาSatapon Yosakonkun
 
IRC-ECHO Evaluation Report
IRC-ECHO Evaluation ReportIRC-ECHO Evaluation Report
IRC-ECHO Evaluation Reportsbasgall
 
Atividade de inglês festa junina
Atividade de inglês festa juninaAtividade de inglês festa junina
Atividade de inglês festa juninaDaniela Azevedo
 
Career Advice Pecha Kucha for TWU Grads
Career Advice Pecha Kucha for TWU GradsCareer Advice Pecha Kucha for TWU Grads
Career Advice Pecha Kucha for TWU GradsSumeet Moghe
 
Consulting Challenges
Consulting ChallengesConsulting Challenges
Consulting ChallengesSumeet Moghe
 
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zoteroการทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : ZoteroSatapon Yosakonkun
 
Learning is social
Learning is socialLearning is social
Learning is socialSumeet Moghe
 
Jealousy and how to deal with it
Jealousy and how to deal with itJealousy and how to deal with it
Jealousy and how to deal with itNur Agustinus
 
Librarian's challenge to publishers
Librarian's challenge to publishersLibrarian's challenge to publishers
Librarian's challenge to publishersKeren Mills
 
การประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการ
การประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการการประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการ
การประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการSatapon Yosakonkun
 

Viewers also liked (19)

Resource discovery on mobile devices keren mills
Resource discovery on mobile devices   keren millsResource discovery on mobile devices   keren mills
Resource discovery on mobile devices keren mills
 
Injil Pseudo-Matius
Injil Pseudo-MatiusInjil Pseudo-Matius
Injil Pseudo-Matius
 
Twcag2010
Twcag2010Twcag2010
Twcag2010
 
Menjadi penjual yang sukses
Menjadi penjual yang suksesMenjadi penjual yang sukses
Menjadi penjual yang sukses
 
Majalah INFO-UFO no 11
Majalah INFO-UFO no 11Majalah INFO-UFO no 11
Majalah INFO-UFO no 11
 
หยดน้ำบนใบบัว หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
หยดน้ำบนใบบัว หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนหยดน้ำบนใบบัว หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
หยดน้ำบนใบบัว หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
 
UCISA Major Project Governance Assessment Toolkit
UCISA Major Project Governance Assessment ToolkitUCISA Major Project Governance Assessment Toolkit
UCISA Major Project Governance Assessment Toolkit
 
Social Media Webinar Slides 170908
Social Media Webinar Slides 170908Social Media Webinar Slides 170908
Social Media Webinar Slides 170908
 
UFO Menyambut Th 1980 Planet Bumi
UFO Menyambut Th 1980 Planet BumiUFO Menyambut Th 1980 Planet Bumi
UFO Menyambut Th 1980 Planet Bumi
 
OSS & Freeware เพื่อการศึกษา
OSS & Freeware เพื่อการศึกษาOSS & Freeware เพื่อการศึกษา
OSS & Freeware เพื่อการศึกษา
 
IRC-ECHO Evaluation Report
IRC-ECHO Evaluation ReportIRC-ECHO Evaluation Report
IRC-ECHO Evaluation Report
 
Atividade de inglês festa junina
Atividade de inglês festa juninaAtividade de inglês festa junina
Atividade de inglês festa junina
 
Career Advice Pecha Kucha for TWU Grads
Career Advice Pecha Kucha for TWU GradsCareer Advice Pecha Kucha for TWU Grads
Career Advice Pecha Kucha for TWU Grads
 
Consulting Challenges
Consulting ChallengesConsulting Challenges
Consulting Challenges
 
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zoteroการทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
 
Learning is social
Learning is socialLearning is social
Learning is social
 
Jealousy and how to deal with it
Jealousy and how to deal with itJealousy and how to deal with it
Jealousy and how to deal with it
 
Librarian's challenge to publishers
Librarian's challenge to publishersLibrarian's challenge to publishers
Librarian's challenge to publishers
 
การประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการ
การประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการการประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการ
การประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการ
 

Similar to “ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013

การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมNational Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
20140731st innovationsustainablesmedevelopment-140731103031-phpapp01
20140731st innovationsustainablesmedevelopment-140731103031-phpapp0120140731st innovationsustainablesmedevelopment-140731103031-phpapp01
20140731st innovationsustainablesmedevelopment-140731103031-phpapp01Por Punyaratabandhu
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&DNational Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technologypantapong
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012NECTEC
 
NSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology IndustryNSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology IndustryNSTDA Thailand
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivityguestad02e0
 
Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationTor Jt
 

Similar to “ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013 (20)

Nstda annual 2009
Nstda annual 2009Nstda annual 2009
Nstda annual 2009
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
NSTDA Annual Report-2012
NSTDA Annual Report-2012NSTDA Annual Report-2012
NSTDA Annual Report-2012
 
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
 
S&T- Innovation and sustainable SME development
S&T- Innovation and sustainable SME developmentS&T- Innovation and sustainable SME development
S&T- Innovation and sustainable SME development
 
20140731st innovationsustainablesmedevelopment-140731103031-phpapp01
20140731st innovationsustainablesmedevelopment-140731103031-phpapp0120140731st innovationsustainablesmedevelopment-140731103031-phpapp01
20140731st innovationsustainablesmedevelopment-140731103031-phpapp01
 
NSTDA Annual Report-2011
NSTDA Annual Report-2011NSTDA Annual Report-2011
NSTDA Annual Report-2011
 
NSTDA Annual Report-2008
NSTDA Annual Report-2008NSTDA Annual Report-2008
NSTDA Annual Report-2008
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technology
 
Intro ic tfored_sep24_2555
Intro ic tfored_sep24_2555Intro ic tfored_sep24_2555
Intro ic tfored_sep24_2555
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
 
NSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology IndustryNSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology Industry
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
NSTDA Annual Report-2007
NSTDA Annual Report-2007NSTDA Annual Report-2007
NSTDA Annual Report-2007
 
NSTDA Annual Report-2009
NSTDA Annual Report-2009NSTDA Annual Report-2009
NSTDA Annual Report-2009
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivity
 
Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the education
 
ICT 2020
ICT 2020ICT 2020
ICT 2020
 

More from Satapon Yosakonkun

กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563 กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563 Satapon Yosakonkun
 
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 Satapon Yosakonkun
 
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ. 2559 - 2564)นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)Satapon Yosakonkun
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓Satapon Yosakonkun
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย ExcelSatapon Yosakonkun
 
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นSatapon Yosakonkun
 
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...Satapon Yosakonkun
 
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...Satapon Yosakonkun
 
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯSatapon Yosakonkun
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลSatapon Yosakonkun
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...Satapon Yosakonkun
 
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...Satapon Yosakonkun
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนSatapon Yosakonkun
 
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่Satapon Yosakonkun
 
Glossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsGlossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsSatapon Yosakonkun
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardSatapon Yosakonkun
 
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์Satapon Yosakonkun
 
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zoteroการจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย ZoteroSatapon Yosakonkun
 
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Mediaเทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social MediaSatapon Yosakonkun
 
NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013Satapon Yosakonkun
 

More from Satapon Yosakonkun (20)

กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563 กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
 
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
 
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ. 2559 - 2564)นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
 
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
 
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
 
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
 
Glossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsGlossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standards
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forward
 
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
 
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zoteroการจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
 
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Mediaเทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
 
NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013
 

“ศักยภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยอยู่ตรงไหน? ” 2556/2013

  • 1.
  • 2. intro >>> ‘วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี’ เปนปจจัยสําคัญในการขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาสังคมอยางยั่งยืน ในการวิเคราะหสถานภาพดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ระดับประเทศนั้น จําเปนตองใช ‘ดัชนีวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี’ เปนเครื่องมือสําคัญในการ ชี้วัดระดับความกาวหนา พัฒนาการและขีดความสามารถในการแขงขันดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีของประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศตางๆ ดังนั้นเพื่อใหงายตอความเขาใจของ สาธารณชนทั่วไป สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม แหงชาติ (สวทน.) ซึ่งเปนฝายเลขานุการ คณะอนุกรรมการจัดทําดัชนีวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีของประเทศ จึงดําเนินการจัดทําหนังสือ ‘ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทย อยูตรงไหน?’ เพื่อวัตถุประสงคใหประชาชนทั่วไปไดรับทราบบทบาทและความสําคัญของ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย เนื้อหาของหนังสือฉบับนี้ ประกอบดวยขอมูล 7 ประเภท ไดแก ความสามารถในการ แขงขันดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ของประเทศ การวิจัยและพัฒนา บุคลากรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดุลการชําระเงินทางเทคโนโลยี สิทธิบัตร ผลงาน ตีพิมพดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และศักยภาพไอซีทีไทย สวทน. หวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือ ‘ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทย อยูตรงไหน?’ นี้ จะเปนประโยชนตอประชาชนทั่วไปที่สนใจความกาวหนาดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีของประเทศตอไป
  • 3. CONTENTS บทที่ 1 ความสามารถในการแขงขัน ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) ของประเทศ บทที่ 2 การวิจัยและพัฒนา บทที่ 3 บุคลากรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บทที่ 4 ดุลการชำระเงินทางเทคโนโลยี บทที่ 5 สิทธิบัตร บทที่ 6 ผลงานตีพิมพดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บทที่ 7 ศักยภาพไอซีทีไทย 2 8 16 24 30 36 42
  • 4. Competitiveness in Science, Technology & Innovation ดัชนีประเทศไทย บทที่ 1ความสามารถในการแขงขัน ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ นวัตกรรม (วทน.) ของประเทศ ความสามารถในการแขงขันของประเทศ ถือเปนดัชนีชี้วัดที่ นิยมใชเปรียบเทียบศักยภาพและความสามารถในแตละดาน ของประเทศตางๆ ทั่วโลก ปจจุบันมีหนวยงานชั้นนำหลาย แหงรับหนาที่จัดอันดับความสามารถในการแขงขันระดับ ประเทศ 2
  • 5. ที่มา: IMD, World Competitiveness Yearbook 2008-2012 ผลการจัดอันดับโดย IMD ในรายงาน The World Competitiveness Year- book ของสถาบันการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ระหวาง ป 2554-2555 จัดอันดับความสามารถในการแขงขันของ ประเทศแถบเอเชียแปซิฟกไวดังตอไปนี้ IMD เปนสถาบันดานการบริหารธุรกิจประเภทไม แสวงหากําไร ตั้งอยูที่เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอรแลนด ทําการเผยแพรผลการจัดอันดับความสามารถในการแขงขัน ของประเทศตางๆ มาตั้งแตป 2532 โดยรายงานประจําป 2554-2555 IMD จัดอันดับความสามารถในการแขงขันของ ประเทศตางๆ ทั้งสิ้น 59 ประเทศ 2554 2555 1. ฮองกง 3. สิงคโปร 6. ไตหวัน 16. มาเลเซีย 19. จีน 22. เกาหลีใต 26. ญี่ปุน 27. ไทย 1. ฮองกง 4. สิงคโปร 7. ไตหวัน 14. มาเลเซีย 22. เกาหลีใต 23. จีน 27. ญี่ปุน 30. ไทย ป 2555 ประเทศไทยมีความสามารถในการแขงขันโดยรวม เปนอันดับที่ 30 ลดลงจากป 2554 ที่อยูในอันดับที่ 27 4 ปจจัยหลักในการจัดอันดับของ IMD อันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศไทย 5 ปหลังสุด (ป 2551-2555) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ อันดับโดยรวม 2551 2552 2553 2554 2555 ประสิทธิภาพของภาครัฐ ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ โครงสรางพื้นฐาน โครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยี โครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตร ที่มา: IMD, World Competitiveness Yearbook 2008-2012 กราฟแสดงอันดับของประเทศไทยใน IMD ป 2551-2555 อันดับที่ 1 อันดับสุดทาย 55 ประเทศ 57ประเทศ 58 ประเทศ 59 ประเทศ 59 ประเทศ 3 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 6. ประเทศเดียวในแถบ เอเชียที่ไดรับการจัด อันดับสูงขึ้นคือ มาเลเซีย จากอันดับที่ 16 เปนอันดับที่ 14 ผลการจัดอันดับโดย WEF ระดับความสามารถในการแขงขันของประเทศนั้นๆ อาจสะทอนถึงระดับการ พัฒนาเศรษฐกิจได จะเห็นไดจากผลการจัดอันดับความสามารถในการแขงขันของ ประเทศตางๆ ทั่วโลกโดยเวทีเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum: WEF) ใน รายงาน The Global Competitiveness Report สรุปเปนดัชนีความสามารถในการ แขงขันรวม (Global Competitiveness Index: GCI) แสดงใหเห็นวา ประเทศที่ระดับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจสูง มีรายไดในรูปของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศตอประชากร สูง ก็มีแนวโนมที่จะมีระดับความสามารถในการแขงขันโดยรวมสูงตามไปดวย เกณฑการพิจารณาที่เกี่ยวของกับดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีชี้ใหเห็นวา ความสามารถในการแขงขันของไทยอยูในเกณฑต่ําลง อาทิ 1. ดานโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตร จํานวนสิทธิบัตรที่ยื่นขอภายในประเทศตอ จํานวนประชากร ลดลง 18 อันดับ จํานวนสิทธิบัตรที่ยื่นขอภายในประเทศ ลดลง 13 อันดับ 2. ดานโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยี ความปลอดภัยจากภัยคุกคาม ทางโลกไซเบอร ลดลง 5 อันดับ แรงงานที่มีทักษะดานเทคโนโลยี สารสนเทศ ลดลง 4 อันดับ อัตราคาบริการโทรศัพทพื้นฐาน ลดลง 4 อันดับ ประเทศในแถบเอเชีย สวนใหญมีอันดับลดลง สองประเทศที่คงอันดับเดิมคือ ฮองกง และเกาหลีใต อยูที่อันดับ 1 และอันดับ 22 >_< ที่มา:WorldEconomicForum(WEF)ความสัมพันธของอันดับในดัชนีความสามารถในการแขงขันรวม (Global Competitiveness Index: GCI) และระดับการพัฒนา เศรษฐกิจ ความสัมพันธของระดับความสามารถทางนวัตกรรม กับระดับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ Global Competitiveness Index: GCI GDP per capita Innovation (Scale 1-7, 7-best) 2.52.0 3.0 3.5 4.0 4.5 5.0 5.5 6.0 0 20,000 40,000 60,000 80,000 100,000 120,000 21 3 4 5 6 7 WEF เปนองคกรไมแสวงผลกําไร ตั้งอยูใน เจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด ทุกปจะจัดการ ประชุมขึ้นที่ดาวอสและเผยแพรผลการจัด อันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศ ตางๆ ผาน ดัชนีความสามารถในการ แขงขันรวม (Global Competitiveness Index: GCI) โดยรายงานประจําป 2012-2013 WEF จัดอันดับความสามารถในการแขงขันของ 144 ประเทศทั่วโลก 4
  • 7. คา GCI ประเทศไทย ดัชนีความสามารถในการแขงขันรวม (Global Competitiveness Index: GCI) เมื่อพิจารณาปจจัยหลักที่นํามาใชใน การจัดอันดับความสามารถในการ แขงขัน ซึ่งประกอบไปดวย 38 39 1 1 33333 3333333 2555-2556 2545-2555 จะเห็นวา ปจจัยนวัตกรรมและศักยภาพทางธุรกิจ นับเปนจุดออนที่สุดของประเทศไทย จากอันดับที่ต่ํากวา ปจจัยหลักดานอื่นๆ และลดลงจากปกอนหนา 4 อันดับ นอกจากนั้น อันดับยังคงลดลงอยางตอเนื่องทุกป อั น ดั บ 2554-2555 2555-2556 ปจจัยพื้นฐาน 46 45 ปจจัยยกระดับประสิทธิภาพ 43 47 ความพรอมดานเทคโนโลยี 84 84 ปจจัยนวัตกรรมและศักยภาพทางธุรกิจ 51 55 นวัตกรรม 54 68 ขอสังเกต ปจจัยหลายตัวของประเทศไทยยังอยูในอันดับทายๆ อาทิ • สัดสวนแบนดวิดธ อินเทอรเน็ตระหวางประเทศตอ จำนวนผูใชอินเทอรเน็ต ไทยอยูในอันดับ 84 มีสัดสวน 10.62 กิโลไบตตอวินาที (Kb/s) ตอคน อันดับ 1 ฮองกง มีสัดสวน 964.62 กิโลไบตตอวินาที (Kb/s) ตอคน Thailand 10.62 KB/s Hongkong 964.62 KB/s • สัดสวนการใช อินเทอรเน็ตของ ประชากรประเทศไทย อยูในอันดับ 94 มีผู ใช 23.70% อันดับ 1 ไอซแลนด มีผูใช 95.02% @#)(*%@# .... #$% *%#%@^% *%#%@^% @#)(: ) @!##$ . . . 5 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 8. องคการสหประชาชาติ (United Na- tions: UN) โดย สํานักงานโครงการ พัฒนาแหงสหประชาชาติ (United Nations Development Programme: UNDP) ไดจัดทํา ดัชนี การ พัฒนาทรัพยากรมนุษย (Human Development Index: HDI) เผยแพรเปนประจํา ทุกป เพื่อเปนการวัดระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในประเทศสมาชิก ทั่วโลก ผลการจัดอันดับโดย UNDP การจัดอันดับขององคการสหประชาชาติ ออกมาในรูปของดัชนีการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย (Human Development Index: HDI) เพื่อวัดระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศสมาชิก ปจจัยที่นํามาพิจารณาในการจัดทํา HDI ประกอบดวย 1. ปจจัยดานสุขภาพ วัดจากอายุคาดหมายเฉลี่ย 2. ปจจัยดานการศึกษา วัดจากจํานวนปเฉลี่ยที่ไดเขารับการศึกษา ของประชากรอายุ 25 ปขึ้นไป และจํานวนปที่คาดหมายวาจะไดรับการ ศึกษาของประชากรอายุ 5 ป ซึ่งเปนวัยที่กําลังจะเขารับการศึกษา 3. ปจจัยดานมาตรฐานการครองชีพ วัดจากรายไดประชาชาติตอหัว (Gross national income [GNI] per capita) คาดัชนีการพัฒนามนุษย ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ที่มา: United Nations Development Programme (UNDP) HDI ป 2554 HDI ระดับสูงมาก HDI ระดับสูง HDI ปานกลาง HDI ต่ำ ญี่ปุน (0.901) ฮองกง (0.898) เกาหลีใต (0.897) สิงคโปร (0.866) บรูไน (0.838) มาเลเซีย (0.761) จีน (0.687) ไทย (0.682) ฟลิปปนส (0.644) อินโดนีเซีย (0.617) เวียดนาม (0.0593) อินเดีย (0.547) ลาว (0.524) กัมพูชา (0.523) พมา (0.483) 6
  • 9. เมื่อวิเคราะหความสามารถในการแขงขันดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) ของประเทศไทยโดยเปรียบเทียบกับประเทศ อื่นๆ จากการจัดอันดับของทั้ง IMD และ WEF จะเห็นวายังอยูใน อันดับที่ไมดีนัก ทั้งนี้เนื่องจากปริมาณการลงทุนดานการวิจัยและ พัฒนาของประเทศไทยยังมีนอย รวมทั้งการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ซึ่งเปนปจจัยสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนา วทน. ของประเทศไทย ยังอยูในระดับปานกลาง อยางไรก็ตาม แนวโนมที่ดีคือ ปจจุบันรัฐบาลไทยมีนโยบาย และทิศทางการพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ ชัดเจนมากขึ้น โดยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2555 ให ความเปนชอบกับนโยบายและแผนดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแหงชาติ (พ.ศ. 2555-2564) ซึ่งพัฒนาขึ้นจากแนวคิดของ การใช วทน. เปนเครื่องมือในการพัฒนาประเทศไทย ภายใตวิสัยทัศน ‘นวัตกรรมเขียวเพื่อสังคมดีมีคุณภาพและเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ’ สรุป 7 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 10. Research and Development R&D ดัชนีประเทศไทย บทที่ 2การวิจัยและพัฒนา ความรูและความกาวหนาทางเทคโนโลยีถือเปนหนึ่ง ในกลไกที่จะเขามาขับเคลื่อนใหประเทศมีภูมิคุมกัน จากกระแสโลกาภิวัตน ชวยใหเศรษฐกิจเติบโตอยาง มีเสถียรภาพและเพิ่มศักยภาพในการแขงขันกับนานา ประเทศอยางยั่งยืน การทำวิจัยและพัฒนาเพื่อสราง และตอยอดองคความรูใหทันสมัยตลอดเวลาจึงเปน สิ่งที่เราควรใหความสำคัญในลำดับตนๆ 8
  • 11. สถานการณการลงทุนดาน R&D ทั่วโลก การทําวิจัยและพัฒนาของทั้งโลกขยายตัวขึ้นมากชวงป 2539-2550 อันเปนผลมา จากรอบการเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะการขยายตัวดานการทําวิจัยและพัฒนาใน ภูมิภาคเอเชีย นําโดย จีน เกาหลีใต และ อินเดีย 25 30 35 40 2002 2007 north america 37.7 30.2 27.1 34.9 32.2 27.4 europe asia สัดสวนของ GERD ในแตละภูมิภาคตอ GERD โลก ป 2545 และ 2550 (%) จีน เพิ่มขึ้น รอยละ 3.9 ขณะที่ประเทศทางฝงยุโรป อเมริกาเหนือ และญี่ปุน ผูนําดานการวิจัยและพัฒนา เริ่มชะลอการลงทุนลง สัดสวนของ GERD ในประเทศ / GERD โลก เกาหลีใต เพิ่มขึ้น รอยละ 0.8 อินเดีย เพิ่มขึ้น รอยละ 0.6 (จากรอยละ 5 เปนรอยละ 8.9) ภูมิภาคเอเชียครองสวนแบงของ GERD ตอ GERD โลก เพิ่มขึ้นจาก 27% เปน 32% คา GERD และ GERD/GDP ถือเปนตัวชี้วัดสําคัญของการวิจัยและพัฒนาของประเทศตางๆ GERD คือ คาใชจายการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา (Gross do- mestic expenditure on R&D) มีหนวยเปนดอลลารสหรัฐ GERD/GDP คือ สัดสวนของคาใชจายลงทุนดานการวิจัยและ พัฒนาตอผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GERD as a percent- age of GDP) นับวา ‘ชองวาง’ ของการทําวิจัยและพัฒนา ในประเทศพัฒนาแลวและประเทศกําลัง พัฒนาลดลง ป 2545 การทําวิจัยและพัฒนาทั่วโลก เกิดขึ้นในประเทศที่พัฒนาแลว 83% ป 2550 ลดลงเหลือ 76% ASIA ที่มา: UNESCO Science Report 2010 9 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 12. มีจํานวนนักวิจัยรวมกัน 3 ใน 4 ของจํานวนนักวิจัยทั่วโลก ปญหาการกระจุกตัวของ R&D ในระดับประเทศ การทําวิจัยและพัฒนาก็ยังกระจุกตัวอยูเฉพาะในบางพื้นที่ของประเทศ อาทิ การทําวิจัยและพัฒนา ยังกระจุกตัวอยูเฉพาะใน 5 เขตพื้นที่หลัก ไดแก จีน สหภาพยุโรป ญี่ปุน รัสเซีย และ สหรัฐ ประชากรรวมประมาณ 1 ใน 3 ของประชากรโลก และมีคาใชจายลงทุนดานการวิจัยและ พัฒนารวมกันเทากับ 3 ใน 4 ของคาใชจาย ลงทุนดานการวิจัยและพัฒนาทั่วโลก รอยละ 40 ของคาใชจายลงทุนดาน R&D ในบราซิล เกิดขึ้นในเมือง Sao Paulo รอยละ 51 ของคาใชจายลงทุนดาน R&D ในแอฟริกาใต เกิดขึ้นในจังหวัด Gauteng ไมตองแปลกใจ เพราะทางตอนเหนือของรัฐแคลิฟอรเนีย คือ Silicon Valley ศูนยกลางเทคโนโลยีและนวัตกรรมโลก ที่ตั้งสํานักงานใหญของ บริษัทชั้นนํา อาทิ แอปเปล กูเกิล รวมถึงเฟซบุค และทวิตเตอร รอยละ 59 ของคาใชจายลงทุนดาน R&D ในสหรัฐอเมริกา เกิดขึ้นใน 10 รัฐจาก 50 รัฐ และคาใชจายรอยละ 20 เกิดขึ้นในรัฐแคลิฟอรเนียเพียงรัฐเดียว ที่มา: UNESCO Science Report 2010 10
  • 13. ภาพรวม R&D โลก 10 ประเทศที่มีการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา (R&D) สูงสุดทั่วโลก สหรัฐอเมริกา* ญี่ปุน* จีน* เยอรมนี ฝรั่งเศส เกาหลีใต* สหราชอาณาจักร รัสเซีย แคนาดา อิตาลี 0 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000 300,000 350,000 400,000 งบดาน R&D (ลานดอลลารสหรัฐ) * ขอมูลป 2551 ที่มา: UNESCO Institute for Statistics, Global Investment in R&D, UIS Fact Sheet, August 2011, No.15. จากขอมูลขององคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific, and Cultural Organization: UNESCO) ใน UNESCO Science Report 2010 แสดงภาพรวมของการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา ของโลกไวดังตอไปนี้ อเมริกาเหนือ 2.6% คาเฉลี่ยของ GERD/GDP ทั่วโลก ป 2550 ที่มา: UNESCO Science Report 2010 คาบสมุทรแปซิฟก (รวมนิวซีแลนดและออสเตรเลีย) 1.9% ยุโรป 1.6% เอเชีย 1.6% ละตินอเมริกา และแคริบเบียน 0.6% ประเทศไทย 0.21% แอฟริกา 0.4% 11 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 14. ภาพรวม R&D ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก เกาหลีใต คาใชจาย R&D ในภาคเอกชน คา GERD/GDP (%) คาใชจาย R&D ในภาคอื่นๆ 3.56% 3.36% 2.94% 2.28% 2.24% 1.70% 1.32% 0.84% 0.80% 0.79% 0.24% 0.10% ญี่ปุน ไตหวัน ออสเตรเลีย สิงคโปร จีน นิวซีแลนด มาเลเซีย อินเดีย ฮองกง ไทย ฟลิปปนส สัดสวนคาใชจายลงทุนดานการวิจัยและพัฒนาตอผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ และสัดสวนระหวางภาคเอกชนและภาคอื่นๆ ของประเทศในเอเชียแปซิฟก ป 2552 ที่มา: IMD, World Competitiveness Yearbook 2012 รวบรวมโดย สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) 12
  • 15. การลงทุน R&D ในประเทศไทย 5 อันดับอุตสาหกรรมไทย คาใชจาย R&D สูงที่สุด คาเฉลี่ยของ GERD/GDP ประเทศไทย ป 2542-2552 อยูที่ รอยละ 0.24 ของ GDP 2542 2552 ที่มา: 1. สํานักงานคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ (วช.) 2. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) 3. สํานักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม แหงชาติ (สวทน.) ภาคเอกชน ภาคเอกชน ภาครัฐบาล (และสถาบันการศึกษา หนวยงานไมคากำไร รัฐวิสาหกิจ) ภาครัฐบาล (และสถาบันการศึกษา หนวยงานไมคากำไร รัฐวิสาหกิจ) 5,554 ลานบาท 9,336 ลานบาท 6,342 ลานบาท 13,319 ลานบาท ประเทศที่การทําวิจัยและพัฒนา ขยายตัวขึ้นอยางมาก ไดแก ญี่ปุน เกาหลีใต จีน และสิงคโปร การลงทุนทําวิจัยและพัฒนา สวนใหญของประเทศมาจาก ภาคเอกชน มากกวารอยละ 60 ขณะที่ประเทศไทย การลงทุนดังกลาวคอนขางคงที่ โดยเปนการลงทุนจาก ภาคเอกชน รอยละ 40 ปโตรเลียม หมายเหตุ: ขอมูล ป 2009 ที่มา: สํานักงานคณะ กรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) สารเคมีและเคมีภัณฑ 1,269 ลานบาท 849 ลานบาท 887 ลานบาท เครื่องใชไฟฟา อาหารและเครื่องดื่ม 2,374 ลานบาท 1,357 ลานบาท เครื่องจักรและอุปกรณ 13 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 16. บุคลากรดานการวิจัยและพัฒนา ป 2553 เกาหลีใต บุคลากรดาน R&D ในภาคเอกชน บุคลากรดาน R&D ตอประชากร 1,000 คน บุคลากรดาน R&D ในภาคอื่นๆ 9.10 7.29 6.89 6.78 6.58 6.31 3.43 1.90 0.95 0.78 0.19 ญี่ปุน*ไตหวัน ออสเตรเลีย** สิงคโปร จีน นิวซีแลนด* มาเลเซีย ฮองกง ไทย* ฟลิปปนส* หมายเหตุ: * ขอมูลป 2551 ** ขอมูลป 2552 ที่มา: IMD, World Competitiveness Yearbook 2012 รวบรวมโดย สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) 14
  • 17. ตั้งแตป 2544-2552 สัดสวนการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา หรือ GERD (Gross Expenditures on R&D) ตอ GDP ของ ประเทศไทยคอนขางต่ํา เฉลี่ยรอยละ 0.24 ของ GDP และยัง ไมมีแนวโนมวาจะเพิ่มขึ้น สําหรับประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีการขยายตัวของการ ทําวิจัยและพัฒนาอยางมากไดแก ญี่ปุน เกาหลีใต จีน และ สิงคโปร และสวนใหญเปนการขยายตัวที่เกิดขึ้นในภาคเอกชน โดยการลงทุนทําวิจัยและพัฒนาสวนใหญของประเทศเหลานี้ มาจากภาคเอกชนมากกวารอยละ 60 ขณะที่ประเทศไทยนั้น เปนการลงทุนจากภาคเอกชนเพียงรอยละ 40 ขณะที่สัดสวนบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาที่ทํางาน เต็มเวลาของไทย อยูที่ 0.95 คนตอประชากร 1,000 คน เมื่อ เทียบกับไตหวัน เกาหลีใต และสิงคโปร จะพบวาประเทศไทย มีสัดสวนต่ํากวาราว 7-10 เทา และประเทศไทยยังมีบุคลากร ในภาคเอกชนประมาณรอยละ 20 เทานั้น สรุป 15 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 19. PART 1 เฟรชชี่ไทย จํานวนนักศึกษาใหมในสาขาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในป 2554นับวา ยังมีสัดสวนนอยเมื่อเทียบกับสาขาสังคมศาสตร โดยเฉพาะในระดับปริญญาตรีและ สูงกวาปริญญาตรี สถานการณดังกลาวจึงอาจสื่อนัยของจํานวนอุปทานบุคลากรดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ยังไมเพียงพอในการสรางรากฐานที่แข็งแกรงรองรับการ พัฒนาประเทศไปสูสังคมเศรษฐกิจดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดอยางยั่งยืน บุคลากรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ถือเปนกำลังสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศไปสูเศรษฐกิจสังคมฐานความรู การพัฒนาบุคลากรดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีถือเปนแรงหนุนที่สำคัญประการหนึ่งในการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของ ประเทศ เพื่อเปนรากฐานในการขับเคลื่อนประเทศ โดยเฉพาะการกาวสูการรวมกลุมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ซึ่งประเทศไทยตองเรงเตรียมความพรอมในการแขงขันกับคูแขงรอบขางที่ ตางก็ไดเปรียบตนทุนคาแรง โดยใหความสำคัญกับการผลิตบุคลากรดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีที่มีคุณภาพในปริมาณที่เพียงพอ เพื่อเปนกำลังสำคัญในการเสริมสรางขีดความ สามารถในการแขงขันของไทยไดอยางยั่งยืน 17 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 20. จำนวนผูเขาศึกษาใหมและจบการศึกษาทุกระดับการศึกษา ตั้งแตป 2550-2554 238,386 245,195 261,659 256,437 558,709 312,307 นักศึกษาเขาใหม (คน) ผูสำเร็จการศึกษา (คน) 2550 2551 2552 2553 2554 Science & Technology Social science & Humanity 557,796 307,168 440,153 319,091 496,375 253,939 529,652 - 352,905 338,164 314,273 343,650 354,603 - จำนวนนักศึกษาใหมในสาขาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปรียบเทียบกับสายสังคมศาสตร ในป 2554 Science & Technology Social science & Humanity Higher than Bachelor Bachelor Lower than Bachelor 40% 60% 26% 74% 32% 68% 57% 43% 15,788 ¤¹ 46,022 ¤¹ 169,538 ¤¹ 353,999 ¤¹ 169,277 ¤¹ 129,631 ¤¹ หมายเหตุ: % เปรียบเทียบในระดับการศึกษาเดียวกัน 18
  • 21. จำนวนนักศึกษาเขาใหมในสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แยกตามระดับการศึกษาและแยกคณะ Agriculture Engineering Health and Welfare Industry Information & Communication Technology Fisheries Science Agriculture Engineering Health and Welfare Science Agriculture Engineering Health and Welfare Science 2007 2007 2007 2007 2007 2007 2008 2008 2008 2008 2008 2008 2009 2009 2009 2009 2009 2009 2010 2010 2010 2010 2010 2010 2011 2011 2011 นักศึกษาเขาใหม นักศึกษาเขาใหม นักศึกษาเขาใหม ผูสำเร็จการศึกษา ผูสำเร็จการศึกษา ผูสำเร็จการศึกษา Bachelor Lower than Bachelor Higher than Bachelor ที่มา: 1.สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 3.สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประมวลผล: สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) 19 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 22. PART 2 สถานภาพกำลังแรงงานในประเทศไทย ป 2554 ระดับของแรงงาน Low skilled workers การศึกษาระดับ ม.ตน หรือต่ํากวา 33% Social science & Humanity 67% PH.D 5% Master 25% Bachelor 70% Medium skilled workers การศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือ ปวช. และ ปวส. Knowledge workers มีการศึกษาระดับ ปริญญาตรีขึ้นไป กําลังแรงงานของประเทศไทยในป 2554 39 ลานคน แตมีเพียง 3 ลานคน ที่เปนแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดานวิทยาศาสตร 9% 71% 18% Science & Technology ในแตละปประเทศไทยมีกําลังแรงงานดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีสวนใหญอยูในระดับต่ํากวาปริญญาตรี ในสวน ผูมีงานทําดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในกลุมที่สําเร็จการ ศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป มีแนวโนมที่จะมาจากผูสําเร็จการ ศึกษาในสาขาอื่นเพิ่มขึ้น ขณะที่สัดสวนผูมีงานทําที่จบไมตรง สาขาในกลุมระดับต่ํากวาปริญญาตรีแทบไมเปลี่ยนแปลง สวน หนึ่งอาจเปนเพราะสาขาวิชาในระดับปริญญาตรีขึ้นไปที่มีหลาก หลายสาขาในปจจุบัน สามารถนํามาประยุกตใชกับการทํางาน ในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีได 11% 20
  • 23. แรงงานดาน วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีในป 2560 จากการศึกษาของมูลนิธิสถาบันวิจัย เพื่อการพัฒนาประเทศไทยในอีก 5 ปขางหนา (ป 2556-2560) แนวโนม ความตองการผูสําเร็จการศึกษาดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีดังนี้ ปวช. และ ปวส. คาดวาผูสําเร็จการศึกษาและพรอม เขาสูตลาดแรงงาน 30,435 คน แตความตองการแรงงานของตลาด 50,789 คน ปริญญาโท คาดวาผูสําเร็จการศึกษาและพรอม เขาสูตลาดแรงงาน 9,743 คน แตความตองการแรงงานของตลาด 25,873 คน ที่มา: จากรายงานการวิจัย เรื่อง โครงการ ศึกษาความตองการกําลังคนเพื่อวางแผน การผลิต และพัฒนากําลังคนของประเทศ โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา ประเทศไทย (2553) สําหรับจํานวนผูที่ทํางานดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ยังจําแนกเปนผูที่ทํางานตรงสาขา วิชากับไมตรงสาขาวิชา ดังนี้ กำลังแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีป 2550-2554 จำแนกตามสถานภาพแรงงาน กำลังแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีคือใคร กําลังแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คือผูสําเร็จการศึกษาตั้งแตระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ขึ้นไปในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดแก วิทยาศาสตร ธรรมชาติ (Natural science) วิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยี (Engineering and technology) วิทยาศาสตรการแพทย (Medical science) และเกษตรศาสตร (Agricultural science) และผูที่ไมไดสําเร็จการศึกษาในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แตปฏิบัติงานในตําแหนง ที่ตองการบุคลากรที่จบการศึกษาในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตั้งแตระดับ ปวช. ขึ้นไป เชน ผูประกอบอาชีพและชางเทคนิคดานฟสิกส คณิตศาสตร วิศวกรรมศาสตร และวิทยาศาสตรเกี่ยว กับสิ่งมีชีวิตและสุขภาพ รวมทั้งผูประกอบอาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 0 1 2 3 2550 2551 2552 2553 2554 1.60 1.04 0.05 1.77 1.10 0.06 1.87 1.26 0.06 1.88 1.99 1.30 0.06 ลานคน 1.28 0.04 ผูที่ทำงานดานวิทยาศาสตร ผูที่จบดานวิทยาศาสตรแตไมทำงานดานนี้ ผูที่จบดานวิทยาศาสตรแตวางงาน 2550 2551 2552 2553 2554 0.41 1.19 0.51 1.26 0.54 1.33 0.52 1.36 0.54 1.45 ผูที่ทำงานตรงสาขาวิชา ผูที่ทำงานไมตรงสาขาวิชา 0 0.5 1.0 1.5 ลานคน ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ รวบรวมโดยสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) 21 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 24. บางคนจบดานวิทยาศาสตร แตไมไดทํางานดานวิทยาศาสตร แลวพวกเขาไปไหน ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ รวบรวมโดยสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) *นายแบบและนางแบบ รวมถึง พนังงานขายและพนักงานสาธิต สินคาดวย กำลังแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป 2551-2554 จำแนกตามชวงอายุ 15-19 20-29 30-39 40-49 2554 2553 2552 2551 50-59 50% 25% 0% 28% นายแบบและนางแบบ* เสมียนสำนักงาน ผูประกอบวิชาชีพดานการสอน ผูปฏิบัติการขับเคลื่อน ยานยนตและเครื่องจักร พนักงานบริการ ดานการปองกันภัย ผูจัดการทั่วไป ผูปฏิบัติงานในธุรกิจดาน ความสามารถทางฝมือ ผูจัดการบริษัท การขายและการบริการ ผูปฏิบัติงานดานการเกษตร และประมงในเชิงเศรษฐกิจ 22
  • 25. จํานวนนักศึกษาเขาใหมในสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย ใน ปการศึกษา 2554 คิดเปนสัดสวนเพียงรอยละ 40 ของจํานวนนักศึกษาเขา ใหมทั้งหมด ขณะที่จํานวนผูสําเร็จการศึกษาในสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ของประเทศไทย ในปการศึกษา 2553 คิดเปนสัดสวนรอยละ 50 ของจํานวน ผูสําเร็จการศึกษาทั้งหมด สวนกําลังแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรวมทั้งหมดมีจํานวน 3.31 ลานคน จําแนกเปนผูมีงานทําในสัดสวนรอยละ 99 ขณะที่ผูวางงานซึ่งมี สัดสวนรอยละ 1.2 หากพิจารณาผูมีงานทําทั้งหมดทางดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีในระดับที่ปริญญาตรีขึ้นไป พบวา ผูสําเร็จการศึกษาจากสาขาอื่นๆ ที่ไมใชสาขาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีสัดสวนเพิ่มขึ้น จากความหลาก หลายของสาขาวิชาในระดับปริญญาตรีขึ้นไปที่มีมากขึ้นในปจจุบัน นอกจากนี้ ผูสําเร็จการศึกษาในสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสวนหนึ่ง ก็ไมไดเขาสูตลาดแรงงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูสําเร็จการศึกษาใน สายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ประกอบอาชีพอื่นมีแนวโนมจะหันไปประกอบ อาชีพที่ใชความสามารถทางฝมือในดานอื่นๆ แทนการเปนนายแบบและนางแบบ เพิ่มขึ้น สรุป 23 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 26. Technology Balance of Payments ดัชนีประเทศไทย บทที่ 4ดุลการชำระเงิน ทางเทคโนโลยี ดุลการชําระเงินทางเทคโนโลยี คือ ดัชนีชี้วัดที่สะท้อน ถึงสถานะของประเทศวาเปนผูรับหรือผูถายทอด เทคโนโลยี ถ้าดุลการชําระเงินทางเทคโนโลยีเป็นบวก แสดงวาประเทศมีความสามารถในการผลิตความรู และเทคโนโลยีในเกณฑ์ดี แต่ถ้าดุลการชําระเงินทาง เทคโนโลยีติดลบ หมายความวาประเทศยังมีความสามารถ ในการผลิตความรูและเทคโนโลยีอยางจำกัด 24
  • 27. ดุลการชำระเงินทางเทคโนโลยีคืออะไร ดุลการชําระเงินทางเทคโนโลยีคือ ยอดสุทธิที่เกิดจากการเปรียบเทียบ รายรับและรายจายที่เกิดจากการทําธุรกรรมที่เกี่ยวของกับการคาขายความรู ทางเทคนิคหรือการใหบริการทางเทคโนโลยีระหวางประเทศ 1รายจายคาธรรมเนียมทางเทคโนโลยี - ดัชนีสะทอนระดับการพึ่งพิง หรือความตองการใชเทคโนโลยีที่นําเขาจากตางประเทศ 2รายรับคาธรรมเนียมทางเทคโนโลยี – ดัชนีสะทอนขีดความ สามารถของประเทศในการพัฒนาเทคโนโลยีที่สามารถแขงขันไดในระดับ นานาชาติ ปลายทางคือ รายไดจากการสงออกเทคโนโลยี อะไรคือธุรกรรม เทคโนโลยีระหวางประเทศ ธนาคารแหงประเทศไทยรวบรวมขอมูลและจําแนก ธุรกรรมเทคโนโลยีได 2 ประเภท 1 คารอยัลตี้และคาธรรมเนียมใบอนุญาต (Roy- alty and license fees) หมายถึง คาธรรมเนียมการ อนุญาตใหใชสินทรัพยที่ไมมีตัวตนและไมใชสินทรัพย ทางการเงิน และอนุญาตใหใชสิ่งของตนฉบับ อาทิ เครื่องหมายการคา ลิขสิทธิ์ เทคนิคและการออกแบบ สิทธิในการผลิตและสัมปทานการจําหนายตนฉบับ หนังสือและภาพยนตร เปนตน 2คาที่ปรึกษาและการใหบริการทางเทคนิค (Con- sulting and technical service fees) คือ คาตอบแทน ที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ คาใหบริการความรูทางวิชาการ และคาใหบริการความชวยเหลือทางเทคนิค เชน คาให บริการความชวยเหลือในการติดตั้งเครื่องจักรในโรงงาน เปนตน 25 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 28. ประเทศไทยขาดทุนหรือกำไร ป 2554 ประเทศไทยมีมูลคารายจายทางเทคโนโลยี 236,380 ลานบาท สวนรายรับ ทางเทคโนโลยีมีเพียง 74,602 ลานบาท เทากับประเทศไทยขาดดุลถึง 161,778 ลานบาท และเปนการขาดดุลที่มีอัตราเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง การขาดดุลรอยัลตี้และ คาธรรมเนียมใบอนุญาต 89,662 ลานบาท การขาดดุลคาที่ปรึกษา และการใหบริการทางเทคนิค 72,116 ลานบาท -10 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 0 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 Receipts growth Payments growth % GROWTHลานบาท Total Payments Total Receipts • รายรับและรายจายทางเทคโนโลยีของไทยสวนใหญจะเปนดานคาที่ปรึกษาและการให บริการทางเทคนิค โดยเฉพาะรายจายดานคาที่ปรึกษาและการใหบริการทางเทคนิค ยังคงมีสัดสวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สวนรายรับทางเทคโนโลยียังคอนขางต่ํา • รายรับคารอยัลตี้และคาธรรมเนียมใบอนุญาตที่มีสัดสวนสูงและเพิ่มขึ้นมาก สวนใหญ อยูในกลุมอุตสาหกรรมเครื่องมือสื่อสาร และธุรกิจการจัดจําหนาย (คาสงและคาปลีก) • รายรับคาที่ปรึกษาและใหบริการทางเทคนิคที่มีสัดสวนสูงและเพิ่มขึ้น สวนใหญอยูใน ธุรกิจงานสถาปตยกรรมและวิศวกรรม และการจัดทําโปรแกรมคอมพิวเตอร ป 2554 รายรับจากคารอยัลตี้และคา ธรรมเนียมใบอนุญาตของประเทศไทย สวนใหญมาจากกลุมประเทศอาเซียน เปนหลัก คือ รอยละ 77 ราย จาย คา รอยัล ตี้ และ คา ธรรมเนียมใบอนุญาตของประเทศไทย ในป 2554 สวนใหญเปนรายจายให ญี่ปุนเปนหลัก (รอยละ 68 และยังมี ทิศทางปรับเพิ่มขึ้น) แสดงวาไทยยังตอง พึ่งญี่ปุนในดานเทคโนโลยีคอนขางมาก ซึ่งเปนไปตามทิศทางการลงทุนทางตรง ในอุตสาหกรรมหลักๆ ของไทย โดย เฉพาะอุตสาหกรรมสงออกที่เนนแขงขัน ดานเทคโนโลยี ซึ่งสวนใหญจะเปนกลุม ทุนจากญี่ปุน เชน อุตสาหกรรมยานยนต หรืออุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย คํานวณโดย สํานักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) 26
  • 29. กระเปาเงินของ ประเทศไทย เปนอยางไร ป 2549-2553 รายรับของไทยเพิ่มขึ้นในอัตรา คอนขางสูงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ โดย เฉพาะประเทศพัฒนาแลว อัตราการเติบโตของรายรับของไทยยังคง เปนรองอินโดนีเซียและจีน แตรายจายคารอยัลตี้ และคาธรรมเนียมใบอนุญาตของไทย กลับมีอัตรา การเพิ่มที่ต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการเพิ่มขึ้น โดยเฉลี่ยของทั้งประเทศพัฒนาแลว ประเทศกําลัง พัฒนาและของโลก ธุรกิจอุตสาหกรรมที่ไทยขาดดุลการคา ทางเทคโนโลยีสูงสุด 5 อันดับแรก ยานยนตและชิ้นสวน งานสถาปตยกรรม และวิศวกรรม ผลิตภัณฑปโตรเลียม อิเล็กทรอนิกส ธุรกิจพลังงาน (น้ำมันดิบและกาซธรรมชาติ) 35 30 25 20 15 10 5 0 0 5 10 15 20 25 30-5 THAILAND INDONESIA CHINA BRAZIL FINLAND GERMANY FRANCE BELGIUM DENMARK NETHERLAND SWEDEN UK WORLD CAMBODIA AUSTRIA SPAIN CHILE SOUTH AFRICA NEW ZEALAND INDIA การขยายตัวของรายจาย เกินดุลในป 2553 ขาดดุลในป 2553 การขยายตัวของรายรับ KOREA TAIWAN SINGAPORE DEVELOPING DEVELOPED การขยายตัวของ รายรับรายจายคารอยัลตี้และ คาธรรมเนียมใบอนุญาตโดยเฉลี่ย ของประเทศกําลังพัฒนาสูงกวาอัตราการ ขยายตัวของรายรับรายจายของประเทศ พัฒนาแลวและของโลก แสดงวาประเทศ กําลังพัฒนามีการขยายตัวของกิจกรรม การแลกเปลี่ยนทางเทคโนโลยีสูงกวา กลุมประเทศอื่นๆ ที่มา: UNCTAD และธนาคารแหงประเทศไทย คํานวณโดย สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) 27 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 30. ที่มา: UNCTAD และ สํานักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) ขาดดุลแลวอันตรายไหม เมื่อเทียบสัดสวนการขาดดุลชําระเงินทางเทคโนโลยี โดยรวมของไทยนับวาสูงเมื่อ เทียบกับหลายประเทศในเอเชีย เชน ไตหวัน เกาหลีใต มาเลเซีย ฮองกง อินเดีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และจีน ขณะที่ประเทศพัฒนาแลวอยางสหรัฐอเมริกา อังกฤษ เยอรมนี และญี่ปุน ยังเกินดุลรอยละ 0.6, 0.3, 0.1 และ 0.1 ตอจีดีพี ตามลําดับ แตการขาดดุลทางเทคโนโลยีเปนปรากฏการณทั่วไปของประเทศกําลัง พัฒนาที่ตองนําเขาองคความรูและเทคโนโลยีจากภายนอกเขามาเพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพการผลิตสําหรับภาคอุตสาหกรรม-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 INDONESIA MALAYSIA SINGAPORE UK USA ดุลชำระงเิน ทางเทคโนโลยี (%GDP) 2001 2010 THAILAND รายจาย ดุลการชำระเงิน รายรับ -25,000 -20,000 -15,000 -10,000 -5,000 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000 รายรับ-รายจายคาที่ปรึกษาของประเทศไทย ป 2554 ลานบาท JAPAN USA SINGAPORE HONG KONG SOUTH KOREA ASEAN • รายรับจากคาที่ปรึกษาและการให บริการทางเทคนิคของประเทศไทย ในป 2554 สวนใหญมาจากญี่ปุน และอาเซียน โดยเฉพาะตลาด ญี่ปุน เพิ่มขึ้นรอยละ 20 จาก รอยละ 17 ในป 2552 • ป 2554 ไทยจายคาที่ปรึกษา และการใหบริการทางเทคนิคให กับประเทศในเอเชีย เชน อาเซียน และญี่ปุน ในสัดสวนสูงรอยละ 18-25 • ระดับการพึ่งพิงของไทยในการใชบริการที่ ปรึกษาและบริการทางเทคนิคจากประเทศ พัฒนาแลวอยางญี่ปุน และสหรัฐอเมริกา ปรับตัวลดลง แตหันไปใชบริการเสือใน เอเชีย เชน สิงคโปร และฮองกง เพิ่มขึ้น • ป 2553 ประเทศไทยขาดดุลการชําระเงินทาง เทคโนโลยีรอยละ 1.5 ตอ GDP และเมื่อเทียบ กับชวง 10 ปกอน พบวา สัดสวนการขาดดุลดาน คารอยัลตี้และคาธรรมเนียมใบอนุญาตตอ GDP ยัง ไมเปลี่ยนแปลง แตการขาดดุลดานคาที่ปรึกษาและ การใหบริการทางเทคนิคปรับเพิ่มขึ้น ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย 28
  • 31. การขาดดุลการชําระเงินทางเทคโนโลยีเปนเรื่องปกติในประเทศกําลัง พัฒนา แตเมื่อพิจารณาโดยเปรียบเทียบจะพบวาการขยายตัวของ รายรับรายจายทางเทคโนโลยีของประเทศกําลังพัฒนา โดยเฉพาะ รายรับรายจายคารอยัลตี้และใบอนุญาต มีแนวโนมเติบโตสูงกวา ประเทศพัฒนาแลว แสดงใหเห็นถึงพลวัตการปรับตัวของประเทศ กําลังพัฒนา เชน ไทย จีน บราซิล และอินโดนิเซีย ที่แมจะยังอยูใน สถานะผูรับเทคโนโลยีจากภายนอก แตก็มีแนวโนมที่ดีจากรายรับ ของการสงออกความรูทางเทคโนโลยีที่ขยายตัวในอัตราสูงกวา คาเฉลี่ยของโลก สิ่งที่ควรพิจารณาคือ การพัฒนาแนวทางที่จะใชความรูทาง เทคโนโลยีที่นําเขาจากตางประเทศใหเกิดประโยชนสูงสุด และมุง ใหเกิดการแพรกระจายของความรูทางเทคโนโลยีที่นําเขาจากตาง ประเทศอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหผูประกอบการในประเทศ สามารถตอยอดและพัฒนาความรูดังกลาว ไปสูการยกระดับการ พัฒนาทางเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมภายในประเทศ โดยมีเปา หมายใหประเทศปรับเปลี่ยนสถานะจากผูรับทางเทคโนโลยีเปนผูสง ออกทางเทคโนโลยีในที่สุด สรุป 29 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 32. Patent ดัชนีประเทศไทย บทที่ 5สิทธิบัตร สิทธิบัตร (Patent) เปนทรัพยสินทางปญญาที่มีบทบาท สำคัญตอการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ทำใหผลการคิดคน เทคโนโลยีไมสูญหายไป มีการพัฒนาตอยอดเทคโนโลยี จากที่ผูอื่นคิดคนไว คลังขอมูลสิทธิบัตรจึงเปนขุมทรัพย ทางปญญาที่มีคามากมายมหาศาล 30
  • 33. สิทธิบัตรคืออะไร ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ไดใหคํานิยามของ “สิทธิบัตร” (Patent) วาหมายถึง “หนังสือสําคัญที่ออกใหเพื่อคุมครองการประดิษฐ (Invention) หรือการออกแบบผลิตภัณฑ (Product design)” สิทธิบัตรจึงแบงออกเปน 2 ประเภท 1 การประดิษฐ(Invention) หมายถึง การคิดคนหรือ คิดทําขึ้นอันเปนผลใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑหรือกรรมวิธี ใดขึ้นใหม หรือการกระทําใดๆ ที่ทําใหดีขึ้น เชน กลไก ของกลองถายรูป เครื่องยนต ยารักษาโรค หรือการ คิดคนกรรมวิธีในการผลิตสิ่งของ ซึ่งสามารถนําไปใช ประโยชนในทางอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกร รม และหัตถกรรมได เชน วิธีการในการผลิตสินคา วิธี การในการถนอมพืชผักผลไมไมใหเนาเสียเร็ว สิทธิบัตรประเภทนี้มีอายุการคุมครอง 20 ป นับตั้งแตวันที่ยื่นขอรับสิทธิบัตร 2 การออกแบบผลิตภัณฑ (Product design) หมายถึง การออกแบบรูปรางของ ผลิตภัณฑ หรือองคประกอบของลวดลาย หรือสีของผลิตภัณฑ อันมีลักษณะพิเศษ สําหรับผลิตภัณฑซึ่งสามารถใชเปนแบบสําหรับ ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม รวมทั้งหัตถกรรมได เชน การออกแบบแกวน้ําใหมีรูปรางเหมือน รองเทา สิทธิบัตรประเภทนี้มีอายุการคุมครอง 10 ป นับ ตั้งแตวันที่ยื่นขอรับสิทธิบัตร 31 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 34. สิทธิบัตรในประเทศไทย ป 2554 สิทธิบัตรการประดิษฐของคนไทย แตไดรับการจดทะเบียน รวมทั้งสิ้น 2,153 รายการ ยื่นขอสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ 66% คนไทย 2,513 รายการ คนตางชาติ 1,276 รายการ ยื่นขอสิทธิบัตรการประดิษฐ 34% คนไทย 856 รายการ คนตางชาติ 1,128 รายการ จดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ 58% คนไทย 677 รายการ คนตางชาติ 576 รายการ จดสิทธิบัตรการประดิษฐ 42% คนไทย 49 รายการ คนตางชาติ 851 รายการ ทั้งหมด 5,773 รายการ สิทธิบัตรการประดิษฐสามารถจําแนกตาม การจัดจําแนกสิทธิบัตรระหวางประเทศ (IPC) ขององคการทรัพยสินทางปญญาโลก (The World Intellectual Property Orga- nization: WIPO) ไดเปน 8 หมวดหลัก คือ 1 สิ่งจําเปนในการดํารงชีวิตของมนุษย (Hu- man necessities) เชน เกษตรกรรม ปาไม การลาสัตว การอบยาสูบ เครื่องนุงหม 2 การดําเนินงาน การปฏิบัติงาน การขนสง (Performing; Operations; Transporting) เชน กระบวนการทางฟสิกสหรือเคมี การ ทําความสะอาด การตัด การพิมพ งานศิลปะ ตกแตง ยานพาหนะ 3 เคมี และโลหะวิทยา (Chemistry; Met- allurgy) เชน อินทรียเคมี อนินทรียเคมี การบําบัดน้ํา แกว กระจก ซีเมนต ชีวเคมี อุตสาหกรรมปโตรเลียม น้ํามันพืชหรือสัตว อุตสาหกรรมน้ําตาล 4 สิ่งทอและกระดาษ (Textiles; Paper) เชน การปนดาย การทอ การถัก การเย็บ ปกถักรอย การผลิตกระดาษ 5 การกอสรางอยางถาวร (Fixed con- structions) เชน การสรางถนน รางรถไฟ สะพาน วิศวกรรมไฮโดรลิก ทอน้ําทิ้ง บอ บําบัดน้ํา การกอสราง การล็อคกุญแจ เครื่องเจาะเหมืองแร 6 วิศวกรรมเครื่องกล การทําใหเกิดแสง สวาง การทําใหเกิดความรอน อาวุธ ระเบิด (Mechanical engineering; Lighting; Heat- ing; Weapons; Blasting) เชน เครื่องจักร กล เกียร การจัดเก็บ-จายกาซและของเหลว 7 ฟสิกส (Physics) เชน การวัด การทดสอบ อุปกรณตรวจสอบ การสงสัญญาณจักษุ อุปกรณดนตรี การเก็บขอมูล 8 ไฟฟา (Electricity) เชน การผลิต การแปลง การจายพลังงานไฟฟา วงจรไฟฟา ที่มา: กรมทรัพยสินทางปญญา 32
  • 35. อันดับ 1 เฟอรนิเจอร สิทธิบัตรการออกแบบของคนไทย World Intellectual Property Organization: WIPO แบงสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑออกเปน 32 ประเภท แตหมวดที่คนไทยไดรับสิทธิบัตรมากที่สุด ในป 2554 ไดแก อันดับ 1 สิ่งจําเปนในการดํารงชีวิตของมนุษย อันดับ 2 หมวดวิศวกรรมเครื่องกล อันดับ 3 หมวดการดําเนินงาน การปฏิบัติงาน การขนสง 35% 22% 20% 23% 17% ในการยื่นคําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ โดยคนไทยในป 2554 จํานวนทั้งสิ้น 856 รายการ หมวดที่มีการยื่นคําขอมาก ที่สุดคือ อันดับ 1 สิ่งจำเปนในการดำรงชีวิตของมนุษย อันดับ 2 เคมี และโลหะวิทยา หมวดสิ่งทอและกระดาษ มีการยื่นขอสิทธิบัตรนอยที่สุด 24% 19% 1% การไดรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑของ คนไทย ในป 2554 มี 677 รายการ 9% 10% อันดับ 2 เครื่องมือและเครื่องโลหะ 8.5% อันดับ 3 หีบหอและภาชนะ สำหรับการขนสงหรือการขนยายสินคา มีการยื่นคําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐโดยคนไทยในป 2554 จํานวนทั้งสิ้น 856 รายการ หมวดที่มีการยื่นคําขอมากที่สุดคือ อันดับ 1 ของใชในบาน อันดับ 2 หีบหอและภาชนะสำหรับ การขนสงหรือการขนยายสินคา 9% อันดับ 3 อาคารและอุปกรณการกอสราง ที่มา: กรมทรัพยสินทางปญญา 33 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 36. หนวยงานใดยื่นคำขอและไดรับสิทธิบัตรมากที่สุด ในป 2554 การยื่นคําขอสิทธิบัตรโดยหนวยงานตางๆ ของประเทศไทย มีทั้งหมด 2,022 รายการ และไดรับการจดทะเบียนสิทธิบัตรจํานวน 413 รายการ รอยละ 73 สวนใหญเปนสิทธิบัตร ที่ยื่นคําขอโดยนิติบุคคล ซึ่งมีการยื่นคําขอเปนสัดสวนรอยละ 73 และไดรับจดทะเบียนเปนสัดสวน รอยละ 92 ของจํานวนที่ไดรับจดทะเบียนทั้งหมด รองลงมาไดแก สถาบันการศึกษา (ยื่นคําขอรอย ละ 16 ไดรับจดทะเบียนรอยละ 6) ในขณะที่หนวยงานของรัฐ มีจํานวนการยื่นคําขอและไดรับสิทธิ บัตรนอยที่สุด (ยื่นคําขอรอยละ 10 ไดรับจดทะเบียนรอยละ 1) สหรัฐอเมริกา แชมปสิทธิบัตร ในการยื่นคําขอรับสิทธิบัตรกับองคการทรัพยสินทาง ปญญาโลก (The World Intellectual Property Organiza- tion: WIPO) จากรายงานสถิติการยื่นคําขอรับสิทธิบัตรผาน ระบบ PCT จําแนกตามประเทศผูยื่นขององคการทรัพยสิน ทางปญญาโลก (The World Intellectual Property Orga- nization: WIPO) ยื่นขอ 2,002 หนวยงานรัฐ หนวยงานรัฐ สถาบันการศึกษา สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน/ นิติบุคคล ภาคเอกชน/นิติบุคคล 212 327 1,483 6 26 328 ไดรับ 413รวม ที่มา : กรมทรัพยสินทางปญญา สืบคนวันที่ 25 มิถุนายน 2555 ประเทศที่มีการยื่นคำขอสิทธิบัตร สูงสุด 5 อันดับแรก ป 2554 ประเทศไทยอยูอันดับที่ 43 มีจํานวนการยื่นคําขอสิทธิบัตร ของคนไทย 67 รายการ คิดเปน 0.04% ญี่ปุน 21.33% 38,873 รายการ เยอรมัน 10.34% 18,847 รายการ จีน 9% 16,402 รายการ เกาหลีใต 5.73% 10,447 รายการ สหรัฐอเมริกา 26.87% 48,962 รายการ หมายเหตุ: ตัวเลขที่แสดงเปนสถิติผลรวมจํานวนการยื่นจด สิทธิบัตรระหวางประเทศในระบบ PCT จากประเทศที่เปน ถิ่นที่อยูของผูยื่นคําขอ ที่มา: (Source): WIPO Statistics Database, August 2012. PCT Yearly Review The International Patent System 2012 ไมมีสิทธิบัตร เรายังมี ‘อนุสิทธิบัตร’ อนุสิทธิบัตร(Petty Patent) หมายถึง หนังสือที่รัฐออกใหเพื่อ คุมครองการประดิษฐที่มีเทคนิคไม สูงมากนัก หรือเปนการประดิษฐที่ ปรับปรุงขึ้นจากของเดิมที่มีอยูเล็ก นอย และมีประโยชนใชสอยมาก ขึ้น ซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชใน อุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรม อนุสิทธิบัตรมีอายุ การคุมครองเปนเวลา 6 ป และสามารถ ตออายุได 2 ครั้ง ครั้งละ 2 ป รวมแลว ไมเกิน 10 ป การยื่นขออนุสิทธิบัตรใน ประเทศไทยพบวา ในชวงป 2554 มีจํานวน 1,342 รายการ (ป 2553 จํานวน 1,328 รายการ) ในจํานวนนี้ เปนการยื่นขอโดยคนไทยคิดเปนรอย ละ 92 การ จด อนุ สิทธิ บัตร ใน ประเทศไทยพบวา ในป 2554 มีจํานวน อนุสิทธิบัตรที่ไดรับการจดทะเบียน จํานวน 929 รายการ(ป 2553 จํานวน 685 รายการ) ในจํานวนนี้เปนสถิติการ ไดรับการจดทะเบียนโดยคนไทยคิด เปนรอยละ 92 34
  • 37. • สํานักงานสิทธิบัตรญี่ปุน (Japan Patent Office: JPO) รายงานวา ป 2553 คนไทย ยื่นคําขอรับสิทธิบัตรจํานวน 9 รายการ (ป 2552 มีจํานวน 13 รายการ) แบงเปนเปน สิทธิบัตรการประดิษฐ 8 รายการ และการ ออกแบบ 1 รายกา • คนไทยก็ไดรับการจดทะเบียนสิทธิบัตร 3 รายการเทากันกับป 2552 แบงเปน สิทธิบัตรการประดิษฐ 2 รายการและการ ออกแบบผลิตภัณฑ 1 รายการ ที่มา : ขอมูลจากกรมทรัพยสินทางปญญา • สํานักงานสิทธิบัตรสหรัฐอเมริกา (The US Patent and Trademarks Office: USPTO ) รายงานวา ป 2554 คนไทย ยื่นคําขอรับสิทธิบัตรในสหรัฐอเมริกา จํานวนรวม 127 รายการ เพิ่มขึ้นจากจาก ป 2553 รอยละ 18 • ป 2554 คนไทยไดรับการจดสิทธิบัตรใน สหรัฐอเมริกาจํานวน 73 รายการ เพิ่มขึ้น รอยละ 22 เมื่อเปรียบเทียบกับป 2553 • สํานักงาน สิทธิ บัตร ยุโรป (European Patent Office: EPO) รายงานวา ในป 2554 คนไทยยื่นคําขอรับสิทธิบัตรใน สหภาพยุโรปจํานวน 7 รายการ และไดรับสิทธิบัตร 6 รายการ เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับป 2553 ซึ่งมีจํานวนการยื่นคําขอ รับสิทธิบัตร 5 รายการ และได รับสิทธิบัตรเพียง 1 รายการ สิทธิบัตรของคนไทยในตางแดน จํานวนคําขอรับสิทธิบัตรและจํานวนสิทธิ บัตรการประดิษฐที่ไดรับอนุมัติสําหรับ ประเทศไทยยังมีจํานวนนอย และสวนใหญ เปนการยื่นจดทะเบียนโดยชาวตางชาติ โดย สิทธิบัตรที่คนไทยไดรับอนุมัติมีจํานวนไมถึง รอยละ 10 หนวยงานใหทุนวิจัยจะตองมีแนวทาง ปฏิบัติในการบริหารจัดการทรัพยสินทาง ปญญาอยางเปนเอกภาพ และเรงสงเสริม ใหจํานวนสิทธิบัตรที่เกิดจากการวิจัยและ พัฒนาโดยคนไทยเพิ่มมากขึ้น พรอมปฏิรูป ระบบการใหบริการจดทะเบียนทรัพยสินทาง ปญญาใหมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ไดมาตรฐาน สากล เพื่อลดปญหาการจดทะเบียนลาชา และเปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญในการ รองรับปริมาณงานวิจัยที่อาจนําเขาสูระบบ การคุมครองทรัพยสินทางปญญาเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ควรสงเสริมใหมีการนําผล งานวิจัยไปประยุกตใชใหเกิดมูลคาทั้งในเชิง พาณิชยและเชิงสาธารณประโยชนมากขึ้น ใน รูปแบบที่สามารถดึงดูดความสนใจจากภาค เอกชนใหลงทุนวิจัยและพัฒนามากขึ้น ตลอด จนตองมีการพัฒนาศักยภาพในการบริหาร จัดการทรัพยสินทางปญญาใหแกบุคลากร ทั้งหมดนี้จะชวยเสริมสรางขีดความ สามารถในการแขงขันใหภาคอุตสาหกรรม ทั้งภาคการผลิตและภาคบริการ ซึ่งนําไปสู การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ ประเทศอยางยั่งยืนตอไป สรุป 35 ศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทยอยูตรงไหน?
  • 38. Scientific &Technological Publications ดัชนีประเทศไทย บทที่ 6ผลงานตีพิมพ ดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ผลงานตีพิมพดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Scientific and Technological [S&T] Publications) เปน ผลลัพธอยางหนึ่งจากการศึกษาคนควา การทำวิจัยและพัฒนา เปนแหลงขอมูลความรูที่นาเชื่อถือ สามารถนำไปอางอิงและ ตอยอดได นอกจากนั้น ยังถือเปนดัชนีชี้วัดระดับความแข็งแกรงใน การทำวิจัยและพัฒนาของนักวิจัย รวมทั้งสะทอนถึงความรวม มือดานการวิจัยและพัฒนาระหวางสถาบันตางๆ ทั้งในและตาง ประเทศ หัวขอของผลงานตีพิมพดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สามารถสะทอนถึงความสนใจและศักยภาพความเขมแข็งดาน การวิจัยและพัฒนาของนักวิจัยแตละประเทศ บางครั้งยังแสดง ใหเห็นดวยวาประเด็นสำคัญระดับชาติ หรือแมแตระดับโลกบาง เรื่องกำลังถูกมองขามไป 36