SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
เรื่อง
ปริมาณสารสัมพันธ์
เสนอ
อาจารย์ สินาภรณ์ สูงงาม
โดย
น.ส. อโรชา ชัยชนะ ม.5/2 เลขที่ 17
โรงเรียนปิ ยมิตรวิทยา
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2557
ปริมาณสารสัมพันธ์
คือ ตัวเลขที่ได้จากการเปรียบเทียบมวลจริงของธาตุ 1 อะตอมกับมวลมาตรฐาน
คือ มวล
1
12
ของมวล C-12 1 อะตอม หรือ 1.66 x 10-24 g
มวลอะตอมของธาตุ =
มวลของธาตุ 1 อะตอม (g)
มวล 1
12
ของมวล C−12 1 อะตอม(g)
=
มวลของธาตุ 1 อะตอม (g)
1.66 x 10−24 (g)
มวลอะตอม (atomic mass)
ดังนั้น มวล 1 อะตอมของธาตุ = มวลอะตอม X 1.66 X 10−24
เลขอะตอม
มวลอะตอม
การดูมวลอะตอม
มวลอะตอมเฉลี่ย
ธาตุส่วนใหญ่ในธรรมชาติมีหลายไอโซโทป แต่ละไอโซโทปมีมวลอะตอมไม่
เท่ากัน เนื่องจากมีนิวตรอนไม่เท่ากัน
ดังนั้น ค่ามวลอะตอมเฉลี่ยจึงต้องทาการคานวณจากการหาค่าเฉลี่ยแบบถ่วง
น้าหนักของแต่ละไอโซโทป
มวลอะตอมเฉลี่ย =
( มวลอะตอมของธาตุ x % ไอโซโทปในธรรมชาติ)
100
มวลอะตอมเฉลี่ย =
(A)(%)
100
เมื่อ = ผลรวม
A = มวลอะตอมของแต่ละไอโซโทป
% = ร้อยละปริมาณของไอโซโทปในธรรมชาติ
มวลโมเลกุล
• เมื่อธาตุต่างกันอย่างน้อย 2 ชนิดมารวมกันจะได้สารประกอบ(สูตรเคมี) สามารถ
คานวณมวลของสารประกอบได้ เรียกว่า “มวลโมเลกุล”
มวลโมเลกุลของสารประกอบ =
มวลของธาตุ 1 โมเลกุล
มวล 1
12
ของมวล C−12 1 อะตอม
• การคานวณหามวลโมเลกุลหาจาก = ผลรวมของมวลอะตอม x จานวนอะตอม
เช่น มวลโมเลกุลของ C6H12O6 = 12(6) + 1(12) + 16(6) = 180
มวลโมเลกุลของ H2SO4 1 = 1(2) + 32(1) + 16(4) = 98
ผลึกเกลือ
โมล
หน่วยบอกจานวนอนุภาคของสารในระบบ SI อนุภาคของสารอาจหมายถึง อะตอม โมเลกุล
ไอออน หรืออื่นๆ
สาร 1 โมล คือ ปริมาณสารที่มีจานวนอนุภาคเท่ากับ
จานวนอะตอมของ C – 12 ที่มี มวล 12 กรัม ซึ่งมี
จานวนอะตอม = 6.02 x 10 23 และเรียกจานวนนี้ว่า
เลขอะโวกาโดร
สารที่อยู่ในสภาพอะตอม โมเลกุล และ
ไอออน ปริมาณโมลของสารจะเรียกว่า
โมลอะตอม โมลโมเลกุล และโมลไอออน
ตามลาดับ แต่โดยทั่วไปนิยมใช้คาว่า โมล
เพียงอย่างเดียว
มวลต่อโมล
จากนิยามของสาร 1 โมลจะพบว่า 1 โมลอะตอมของ 12C มีจานวนอะตอมคาร์บอน
เท่ากับเลขอาโวกาโดร คือ 6.02 x 10 23 อะตอม และมีมวล 12 กรัม พอดี ค่ามวลนี้เรียกว่า
มวลต่อโมล (molar mass) ของคาร์บอน – 12
มวลต่อโมล หมายถึงมวลเป็นกรัมหรือกิโลกรัมของหน่อยอนุภาค 1 โมลของสาร
การคานวณหาจานวนโมล มวล และอนุภาคของสาร
ค่าเลขอาโวกาโดรและมวลต่อโมลช่วยในการเปลี่ยนหน่วยจากมวลอะตอม มวลโมเลกุล
มาเป็นหน่วยโมล มวลเป็นกรัม จานวนอะตอม จานวนโมเลกุล และจานวนไอออนของสาร
ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้
อนุภาคต่อโมลของสาร
6.02 x1023 = 1 mol
มวลต่อโมลของธาตุ
มวลอะตอม
= 1 mol
มวลต่อโมลของสาร
มวลโมเลกุล
= 1 mol
โมลอะตอม
โมลโมเลกุล
โมลไออน
นิยมเรียกว่า
โมล (mol)
การคานวณหาจานวนโมล มวล และอนุภาคของสาร
มีหลายวิธี ได้แก่
1. การเทียบบัญญัติไตรยางศ์
2. การใช้สูตร
3. การเทียบสัดส่วน
การคานวณทั้ง 3 วิธีมีพื้นฐานจากการเปรียบเทียบ
ปริมาณของสาร 1 โมล เช่นเดียวกัน
การคานวณแบบเทียบสัดส่วน
มีวิธีการดังนี้
- สาร 1 โมล มีจานวน = 6.02 x 1023
อนุภาค มีมวล = มวลอะตอม (มวลโมเลกุล) กรัม
- สาร n โมล มีจานวน = กี่อนุภาค มีมวล = กี่ กรัม
การเทียบสัดส่วน ได้ดังนี้
สาร 1 (mol)
6.02 x1023(อนุภาค)
=
สาร n (mol)
สาร (อนุภาค)
สาร 1 (mol)
มวลอะตอมหรือมวลโมเลกุล (g)
=
สาร n (mol)
สาร (g)
การคานวณโดยใช้สูตร
การคานวณหาจานวนโมล มวล และอนุภาคของสารอาจคานวณได้จากสูตร
ถ้ากาหนดสัญลักษณ์แทนปริมาณต่างๆดังนี้
n แทน จานวนโมล
N แทน จานวนอนุภาค (อะตอม โมเลกุล และไอออน)
m แทน มวลเป็นกรัม
M แทน มวลอะตอม มวลโมเลกุล และมวลไอออน
สูตรแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมลกับจานวนอนุภาคและมวลเป็นดังนี้
จำนวนโมล (n) =
จานวนอนุภาค (N)
6.02 x1023n =
N
6.02 x1023
ดังนั้น ถ้าทราบจานวนโมล (n) จะคานวณหาจานวนอนุภาค (N) ได้ดังนี้
จานวนอนุภาค (N) = จานวนโมล (n) x (6.02 x 1023)
จานวนโมล (n) =
มวลของสาร m g
มวลโมเลกุล M g
หรือ n = m (g)
M (g)
ดังนั้น ถ้าทราบจานวนโมล (n) จะกาหนดหามวลสาร (m) ได้ดังนี้
มวลของสาร (m) = จานวนโมล (m) g x มวลโมเลกุล (M) g
สรุปการหาจานวนโมล
จานวนโมลของสาร =
จานวนอนุภาค (𝐍)
𝟔.𝟎𝟑 𝒙 𝟏𝟎 𝟐𝟑 =
มวลของสาร 𝐠
มวลโมเลกุล 𝐠
ความสัมพันธ์ระหว่างโมลอะตอมและโมลโมเลกุล
ปริมาตรต่อโมลของแก๊ส
กำรวัดปริมำณในหน่วยมวลของสำรในสถำนะแก๊สทำ
ได้ยำก จึงนิยมวัดปริมำณของแก๊สในหน่วยปริมำตรเนื่องจำก
ปริมำตรของแก๊สเปลี่ยนแปลงตำมอุณหภูมิและควำมดัน
ดังนั้นเมื่อต้องกำรเปรียบเทียบปริมำตรของแก๊สต่ำงๆ จึงต้อง
กำหนดภำวะมำตรฐำน
เรียกว่ำ อุณหภูมิและควำมดันมำตรฐำน
(standard yemperature and pressure) เรียกย่อๆ ว่ำ STP
นักวิทยาศาสตร์ได้ทดลองและคึกษา พบว่าที่ STP แก๊สใดๆ จานวน 1 โมล มีปริมาตร
22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตร (dm3
) เรียกปริมาตร 22.4 dm3
ที่ STP ว่า
ปริมาตรต่อโมลของแก๊ส (molar volume)
การคานวณหาปริมาตรของแก๊สที่ STP
ปริมำตรต่อโมลของแก๊ส
22.4 dm3 = 1 mol
แก๊ส 1 mol
แก๊ส 22.4 dm3ที่ STP
=
แก๊ส n mol
ปริมำตร dm3ที่ STP
ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมล มวล อนุภาค และปริมาตร
ธาตุในสภาพอะตอม
จานวนโมล =
มวล (g)
มวลอะตอม (g)
=
จานวนอะตอม
6.02 x 1023
ธาตุหรือสารประกอบในสภาพโมเลกุล
จานวนโมล =
มวล (g)
มวลอะตอม (g)
=
จานวนอะตอม
6.02 x 1023 =
ปริมาณแก๊สที่ STP
22.4
เขียนแทนด้วยสูตร
n =
m
Mw
=
N
6.02 x 1023 =
VSTP
1. (มช 46) มวลโมเลกุลของสารในข้อใดมีค่ามากที่สุด
ข้อสอบ
1. 𝐂𝐚 𝟑(𝐏𝐨 𝟒) 𝟐 2. 𝐂𝐮𝐒𝐨 𝟒 ∙ 𝟓𝐇 𝟐 𝐎 3. 𝐏𝐛(𝐍𝐨 𝟑) 𝟐 4. 𝐊 𝟑 𝐂𝐫𝟐 𝐎 𝟕
2. (มช 40) ธาตุ M มีมวลอะตอม 70 และมีความหนาแน่นเท่ากับ 5.02
g/cm3
ปริมาตรเฉลี่ยของธาตุนี้ 1 อะตอม จะมีค่ากี่ cm3
1. 𝟐. 𝟑𝟏 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟑
2. 𝟏. 𝟏𝟖 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟓
3. 𝟒. 𝟑 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟑
4. 𝟓. 𝟏𝟖 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟓
3. (มช 38) ก๊าซชนิดหนึ่งมีปริมาณ 448 cm3 ที่ STP มีมวล 0.60 กรัม ก๊าซนี้น่าจะ
ได้แก่1. NH3 2. CH4
3. C2H6 4. CO2
4. (มช 38) กรดแอซีติก 24 กรัม จะมีจานวนออกซิเจนอะตอมอยู่ทั้งหมด
เท่ากับ
ข้อสอบ
1. 6.02 X 1023
อะตอม 2. 4.82 X 1023
อะตอม
3. 2.41 X 1023
อะตอม 4. 1.20 X 1023
อะตอม
5. (มช 43) ถ้านักเรียนตักน้าบริสุทธ์มา 2 cm3 น้านั้นจะมีจานวนโมเลกุลเท่าใด
กาหนดให้ : ความหนาแน่นของน้าเท่ากับ 1.0 g/cm3
1. 0.11 2. 36 3. 6.69 x 1022
4. 1.20 x 1024
6. ธาตุ A 2 อะตอม มีมวลเท่ากับ 𝟏. 𝟖𝟐𝟒 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟐
กรัม มวลอะตอมของ A มีค่าเท่าใด
( กาหนดให้ 𝟏
𝟐
มวลของ c – 12 เท่ากับ 𝟏. 𝟔𝟔 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟒
กรัม )
7. สมมติธาตุ X มี 3 ไอโซโทป ในธรรมชาติ คือ
จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X
ข้อสอบ
8. (มช 39) ข้อความใดที่ ไม่ใช่ เป็ นสมบัติของก๊าซใดๆ ปริมาตร 22.4 dm3
ที่
อุณหภูมิความดันมาตรฐาน
1. จานวนโมล = 6.02 x 1023
โมล
2. มวล = มวลโมเลกุลคิดเป็ นกรัม
3. จานวนโมเลกุล = 6.02 x 1023
โมเลกุล
4. จานวนโมเลกุลของก๊าซนี้เท่ากับจานวนโมเลกุลของไฮโดรเจน
9. แก๊สโพรเพน (C3H8) จานวน 22 กรัม ที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลิตร
ข้อสอบ
10. แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร 67.2 ลิตร ที่ STP จะมีกี่โมเลกุล
ข้อสอบ
11. แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 0.2 กรัม มีปริมาตร 400 cm3 ที่ STP แก๊สชนิดนี้มีมวลโมเลกุล
เท่าไร
12. เมื่อละลายน้าตาลกลูโคส 30 กรัม ในน้ากลั่น 120 กรัม จงหาว่าสารละลายนี้มี
ความเข้มข้นโดยมวลเท่าใด
13. เมื่อใช้ NaOH 20 กรัม เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวล/
ปริมาตร
จะได้สารละลายกี่ cm3
ข้อสอบ
14. (มช 40) สาร A เป็ นสารบริสุทธ์โดยใน 1 โมเลกุลของสารนี้ประกอบด้วยคาร์บอน
27 อะตอม คิดเป็ นร้อยละโดยมวลของคาร์บอนเท่ากับ 80.50 อยากทราบว่าสาร A
มีมวลโมเลกุลเท่าไร
1. 348.3 2. 402.5 3. 430.3 4. 490.8
15. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จานวน 4.48 dm3 ที่ STP จะมีกี่โมลและกี่
โมเลกุล
(C =12, O = 16)
16.จงหาจานวนโมล จานวนโมเลกุล และปริมาตรของแก๊สคลอรีน 213 g
(1 โมเลกุลประกอบด้วย Cl 2 อะตอม) (Cl = 35.5)
17. แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 14 dm3 ที่ STP มีมวล 2.4 กรัม จงหามวล
โมเลกุลของแก๊สนี้
ข้อสอบ
เฉลยข้อสอบ
ข้อ 17. ตอบ
วิธีทา แก๊ส 22.4 dm3 ที่ STP คิดเป็ น 1 โมล
แก๊ส 14 dm3 ที่ STP คิดเป็ น
1 X 14
22.4
= 0.625 โมล
ดังนั้น แก๊ส 0.625 โมล มีมวล 2.4 กรัม
แก๊ส 1 โมล มีมวล
2.4 X 1
0.625
กรัม
3.84 กรัม
เฉลยข้อสอบ
ข้อ 1.(มช 46) ตอบ
3
วิธีทำ ข้อ 1 มวลโมเลกุล Ca3(Po4)2 = 3(40) + 31 + 4(16) x 2
= 120 + (95)2 = 310
ข้อ 2 มวลโมเลกุล CuSo4 ∙ 5H2O = 63.5 + 32 +4(16) + 5 2 1 + 16
= 63.2 + 32 + 64 + 90 = 249.5
ข้อ 3 มวลโมเลกุล Pb(No3)2 = 207 + 14 + 3(16) 2
= 207 + 124 = 331
ข้อ 4 มวลโมเลกุล K3Cr2O7 = 2(39) + 2(52) + 7(16)
= 78 + 104 + 112 = 294
∴ Pb(No3)2 จะมีมวลโมเลกุลมำกที่สุด = 331
ข้อ 2.(มช 40) ตอบ
1
เฉลยข้อสอบ
วิธีทำ จำกมวลอะตอม M = 70 amu = (70)(1.66 𝑥 10−24
) กรัม
ควำมหนำแน่น = 5.02 g/cm3 ปริมำตร = ?
จำก ควำมหนำแน่น =
มวล
ปริมำตร
= (70)(1.66 𝑥 10−24)
5.02
= 2.31 x 10−23
g/cm3
เฉลยข้อสอบ
ข้อ 3.(มช 38) ตอบ
3
วิธีทำ โจทย์บอก vแก๊ส = 448 cm3
= 0.448 ลิตร , g = 0.60 กรัม
จำก
g
m
=
v
22.4
0.6
m
=
0.448 ลิตร
22.4
m =
0.6(22.4 x 103)
448 x 10−3 = 30
แสดงว่ำสำรนี้มีมวลโมเลกุลเท่ำกับ 30 ซึ่งน่ำจะเป็น C2H6
∴ เพรำะ C2H6 มีมวลโมเลกุล = 2(12) + 6(1) = 30 เช่นกัน
เฉลยข้อสอบ
ข้อ 4.(มช 38) ตอบ
2
วิธีทำ กรดแอซีติก (CH3COOH) มีมวลโมเลกุล = 12 + 3(1) + 12 + 16 +16 +1 = 60
จำก
N
6.02 x 10 23 =
g
m
N = g
m
(6.02 x 10 23
)
N = 24
60
(6.02 x 10 23
)
N = 𝟐. 𝟒𝟏 𝐱 𝟏𝟎 𝟐𝟑 โมเลกุล
เฉลยข้อสอบ
ข้อ 5.(มช 38) ตอบ
3
วิธีทำ มวลโมเลกุลของน้ำ (H2O) = 18
และ น้ำ 2 cm3 จะมีมวล = 2 กรัม
จำก
g
m
=
N
6.02 x 10 23
2
18
=
N
6.02 x 10 23
N = 2.41 x 10 23 โมเลกุล
วิธีทา ธาตุ A 2 อะตอม = 1.824 x 10−22
กรัม
ธาตุ A 1 อะตอม =
1.824 𝑥 10−22
2
= 9.12 𝑥 10−23
ดังนั้น มวลอะตอม A =
9.12 x 10−23
1.66 x 10−24 = 55
เฉลยข้อสอบ
ข้อ 6. ตอบ 55
เฉลยข้อสอบ
ข้อ 7. ตอบ
12.25
วิธีทา มวลอะตอมเฉลี่ย x =
Σ (% x มวล)
100
=
(80 x 12) +(15 x 13) +(5 x 14)
100
=
960 + 195 + 70
100
=
1125
100
= 12.25
ข้อ 8. (มช 39) ตอบ ข้อ 1.
เหตุผล เพราะก๊าซ 22.4 ลิตร ที่ STP มีเพียง 1 โมลเท่านั้น ไม่ใช่ 6.02 x 1023
โมล
เฉลยข้อสอบ
ข้อ 9. ตอบ 11.2
วิธีทา มวลโมเลกุล (M) = 3(12) + 8(1) = 36 + 8 = 44
มวลสารที่มี (g) = 22 กรัม ปริมาตรแก๊ส (vแก๊ส) = ?
จาก
g
m
=
v
แก๊ส
22.4
vแก๊ส =
g
m
x 22.4
=
22
44
x 22.4 = 11.2
ข้อ 10. ตอบ 1.806 x 10 24
วิธีทา (vแก๊ส) = 67.2 dm3
, N = ?
จาก
N
6.02 x 10 23 =
v
22.4
N =
67.2
22.4
x 6.02 x 10 23
N = 1.806 x 10 24 โมเลกุล
เฉลยข้อสอบ
เฉลยข้อสอบ
ข้อ 11. ตอบ ข้อ 1
วิธีทา โจทย์กาหนด g = 0.2 กรัม , vแก๊ส =
400 cm3
1000
= 0.4 dm3
, M = ?
จาก
g
m
=
v
22.4
จะได้ M =
g x 22.4
v
M =
0.2x 22.4
0.4
= 11.2
ข้อ 12. ตอบ 20 %
วิธีทา จาก ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร =
มวลตัวถูกละลาย
มวลสารละลาย
x 100
=
30
120 + 30
x 100 = 20 %
เฉลยข้อสอบ
ข้อ 13. ตอบ 66.67 cm3
วิธีทา จากโจทย์ มวล NaOH = 20 กรัม
เข้มข้นโดยมวล /ปริมาตร = 30%
จะได้ % โดยมวล/ปริมาตร =
มวลตัวถูกละลาย (กรัม)
มวลสารละลาย (cm3)
x 100
30 =
20
ปริมาตร
x 100
∴ ดังนั้น ปริมาตรสารละลาย = 66.67 cm3
เฉลยข้อสอบ
ข้อ14. (มช 40) ตอบข้อ 2.
วิธีทา สมมุติสารประกอบนี้มีคาร์บอน 27 อะตอม
ดังนั้นเฉพาะมวลคาร์บอน = 27 x 12 = 324
จาก ร้อยละของคาร์บอน =
มวลคาร์บอน
มวลโมเลกุล
x 100
80.5 =
324
m
x 100
m = 402.5
ข้อ 15 ตอบ 1.204 X 1023
วิธีทา แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 22.4 dm3 คิดเป็ น 1 โมล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 4.48 dm3 คิดเป็ น
1 X 4.48
22.4
โมล
= 0.2 โมล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 1 โมล มีจานวนอนุภาค 6.02 X 1023 โมเลกุล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 0.2 โมล มีจานวนอนุภาค 0.2 X6.02 X
1023 โมเลกุล
= 1.204 X
1023 โมเลกุล
เฉลยข้อสอบ
ข้อ 16 ตอบ 1.81 X 1024
วิธีทา แก๊สคลอรีน 71 g คิดเป็ น 1 โมล
แก๊สคลอรีน 213 g คิดเป็ น =
1X213
71
โมล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 1 โมล มีจานวนโมเลกุล = 6.02 X 1023 โมเลกุล
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 3 โมล มีจานวนอนุภาค = 3 X 6.02 X
1023 โมเลกุล
= 1.81 X 1024 โมเลกุล
เฉลยข้อสอบ
เสร็จแล้วค่า ครูนิ

More Related Content

What's hot

เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรตJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 

What's hot (20)

เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 

Viewers also liked

เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553
เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553
เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553171646167
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 

Viewers also liked (7)

เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553
เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553
เฉลยโค้วต้ามช คณิต2 ปี2553
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
กสพท. เคมี 2559
กสพท. เคมี 2559กสพท. เคมี 2559
กสพท. เคมี 2559
 

Similar to ปริมาณสารสัมพันธ์

บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Chicciiz Pu
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48Unity' Aing
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลKrujake
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptLeeMinho84
 

Similar to ปริมาณสารสัมพันธ์ (20)

Mole
MoleMole
Mole
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
1482139114.ppt
1482139114.ppt1482139114.ppt
1482139114.ppt
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมล
 
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
 

ปริมาณสารสัมพันธ์

  • 1. เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ เสนอ อาจารย์ สินาภรณ์ สูงงาม โดย น.ส. อโรชา ชัยชนะ ม.5/2 เลขที่ 17 โรงเรียนปิ ยมิตรวิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2557
  • 3. คือ ตัวเลขที่ได้จากการเปรียบเทียบมวลจริงของธาตุ 1 อะตอมกับมวลมาตรฐาน คือ มวล 1 12 ของมวล C-12 1 อะตอม หรือ 1.66 x 10-24 g มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม (g) มวล 1 12 ของมวล C−12 1 อะตอม(g) = มวลของธาตุ 1 อะตอม (g) 1.66 x 10−24 (g) มวลอะตอม (atomic mass) ดังนั้น มวล 1 อะตอมของธาตุ = มวลอะตอม X 1.66 X 10−24
  • 5. มวลอะตอมเฉลี่ย ธาตุส่วนใหญ่ในธรรมชาติมีหลายไอโซโทป แต่ละไอโซโทปมีมวลอะตอมไม่ เท่ากัน เนื่องจากมีนิวตรอนไม่เท่ากัน ดังนั้น ค่ามวลอะตอมเฉลี่ยจึงต้องทาการคานวณจากการหาค่าเฉลี่ยแบบถ่วง น้าหนักของแต่ละไอโซโทป มวลอะตอมเฉลี่ย = ( มวลอะตอมของธาตุ x % ไอโซโทปในธรรมชาติ) 100 มวลอะตอมเฉลี่ย = (A)(%) 100 เมื่อ = ผลรวม A = มวลอะตอมของแต่ละไอโซโทป % = ร้อยละปริมาณของไอโซโทปในธรรมชาติ
  • 6. มวลโมเลกุล • เมื่อธาตุต่างกันอย่างน้อย 2 ชนิดมารวมกันจะได้สารประกอบ(สูตรเคมี) สามารถ คานวณมวลของสารประกอบได้ เรียกว่า “มวลโมเลกุล” มวลโมเลกุลของสารประกอบ = มวลของธาตุ 1 โมเลกุล มวล 1 12 ของมวล C−12 1 อะตอม • การคานวณหามวลโมเลกุลหาจาก = ผลรวมของมวลอะตอม x จานวนอะตอม เช่น มวลโมเลกุลของ C6H12O6 = 12(6) + 1(12) + 16(6) = 180 มวลโมเลกุลของ H2SO4 1 = 1(2) + 32(1) + 16(4) = 98 ผลึกเกลือ
  • 7. โมล หน่วยบอกจานวนอนุภาคของสารในระบบ SI อนุภาคของสารอาจหมายถึง อะตอม โมเลกุล ไอออน หรืออื่นๆ สาร 1 โมล คือ ปริมาณสารที่มีจานวนอนุภาคเท่ากับ จานวนอะตอมของ C – 12 ที่มี มวล 12 กรัม ซึ่งมี จานวนอะตอม = 6.02 x 10 23 และเรียกจานวนนี้ว่า เลขอะโวกาโดร
  • 8. สารที่อยู่ในสภาพอะตอม โมเลกุล และ ไอออน ปริมาณโมลของสารจะเรียกว่า โมลอะตอม โมลโมเลกุล และโมลไอออน ตามลาดับ แต่โดยทั่วไปนิยมใช้คาว่า โมล เพียงอย่างเดียว
  • 9. มวลต่อโมล จากนิยามของสาร 1 โมลจะพบว่า 1 โมลอะตอมของ 12C มีจานวนอะตอมคาร์บอน เท่ากับเลขอาโวกาโดร คือ 6.02 x 10 23 อะตอม และมีมวล 12 กรัม พอดี ค่ามวลนี้เรียกว่า มวลต่อโมล (molar mass) ของคาร์บอน – 12 มวลต่อโมล หมายถึงมวลเป็นกรัมหรือกิโลกรัมของหน่อยอนุภาค 1 โมลของสาร
  • 10. การคานวณหาจานวนโมล มวล และอนุภาคของสาร ค่าเลขอาโวกาโดรและมวลต่อโมลช่วยในการเปลี่ยนหน่วยจากมวลอะตอม มวลโมเลกุล มาเป็นหน่วยโมล มวลเป็นกรัม จานวนอะตอม จานวนโมเลกุล และจานวนไอออนของสาร ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้ อนุภาคต่อโมลของสาร 6.02 x1023 = 1 mol มวลต่อโมลของธาตุ มวลอะตอม = 1 mol มวลต่อโมลของสาร มวลโมเลกุล = 1 mol โมลอะตอม โมลโมเลกุล โมลไออน นิยมเรียกว่า โมล (mol)
  • 11. การคานวณหาจานวนโมล มวล และอนุภาคของสาร มีหลายวิธี ได้แก่ 1. การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ 2. การใช้สูตร 3. การเทียบสัดส่วน การคานวณทั้ง 3 วิธีมีพื้นฐานจากการเปรียบเทียบ ปริมาณของสาร 1 โมล เช่นเดียวกัน
  • 12. การคานวณแบบเทียบสัดส่วน มีวิธีการดังนี้ - สาร 1 โมล มีจานวน = 6.02 x 1023 อนุภาค มีมวล = มวลอะตอม (มวลโมเลกุล) กรัม - สาร n โมล มีจานวน = กี่อนุภาค มีมวล = กี่ กรัม การเทียบสัดส่วน ได้ดังนี้ สาร 1 (mol) 6.02 x1023(อนุภาค) = สาร n (mol) สาร (อนุภาค) สาร 1 (mol) มวลอะตอมหรือมวลโมเลกุล (g) = สาร n (mol) สาร (g)
  • 13. การคานวณโดยใช้สูตร การคานวณหาจานวนโมล มวล และอนุภาคของสารอาจคานวณได้จากสูตร ถ้ากาหนดสัญลักษณ์แทนปริมาณต่างๆดังนี้ n แทน จานวนโมล N แทน จานวนอนุภาค (อะตอม โมเลกุล และไอออน) m แทน มวลเป็นกรัม M แทน มวลอะตอม มวลโมเลกุล และมวลไอออน สูตรแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมลกับจานวนอนุภาคและมวลเป็นดังนี้ จำนวนโมล (n) = จานวนอนุภาค (N) 6.02 x1023n = N 6.02 x1023
  • 14. ดังนั้น ถ้าทราบจานวนโมล (n) จะคานวณหาจานวนอนุภาค (N) ได้ดังนี้ จานวนอนุภาค (N) = จานวนโมล (n) x (6.02 x 1023) จานวนโมล (n) = มวลของสาร m g มวลโมเลกุล M g หรือ n = m (g) M (g) ดังนั้น ถ้าทราบจานวนโมล (n) จะกาหนดหามวลสาร (m) ได้ดังนี้ มวลของสาร (m) = จานวนโมล (m) g x มวลโมเลกุล (M) g สรุปการหาจานวนโมล จานวนโมลของสาร = จานวนอนุภาค (𝐍) 𝟔.𝟎𝟑 𝒙 𝟏𝟎 𝟐𝟑 = มวลของสาร 𝐠 มวลโมเลกุล 𝐠
  • 16. ปริมาตรต่อโมลของแก๊ส กำรวัดปริมำณในหน่วยมวลของสำรในสถำนะแก๊สทำ ได้ยำก จึงนิยมวัดปริมำณของแก๊สในหน่วยปริมำตรเนื่องจำก ปริมำตรของแก๊สเปลี่ยนแปลงตำมอุณหภูมิและควำมดัน ดังนั้นเมื่อต้องกำรเปรียบเทียบปริมำตรของแก๊สต่ำงๆ จึงต้อง กำหนดภำวะมำตรฐำน เรียกว่ำ อุณหภูมิและควำมดันมำตรฐำน (standard yemperature and pressure) เรียกย่อๆ ว่ำ STP
  • 17. นักวิทยาศาสตร์ได้ทดลองและคึกษา พบว่าที่ STP แก๊สใดๆ จานวน 1 โมล มีปริมาตร 22.4 ลูกบาศก์เดซิเมตร (dm3 ) เรียกปริมาตร 22.4 dm3 ที่ STP ว่า ปริมาตรต่อโมลของแก๊ส (molar volume)
  • 18. การคานวณหาปริมาตรของแก๊สที่ STP ปริมำตรต่อโมลของแก๊ส 22.4 dm3 = 1 mol แก๊ส 1 mol แก๊ส 22.4 dm3ที่ STP = แก๊ส n mol ปริมำตร dm3ที่ STP
  • 19. ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมล มวล อนุภาค และปริมาตร ธาตุในสภาพอะตอม จานวนโมล = มวล (g) มวลอะตอม (g) = จานวนอะตอม 6.02 x 1023 ธาตุหรือสารประกอบในสภาพโมเลกุล จานวนโมล = มวล (g) มวลอะตอม (g) = จานวนอะตอม 6.02 x 1023 = ปริมาณแก๊สที่ STP 22.4 เขียนแทนด้วยสูตร n = m Mw = N 6.02 x 1023 = VSTP
  • 20. 1. (มช 46) มวลโมเลกุลของสารในข้อใดมีค่ามากที่สุด ข้อสอบ 1. 𝐂𝐚 𝟑(𝐏𝐨 𝟒) 𝟐 2. 𝐂𝐮𝐒𝐨 𝟒 ∙ 𝟓𝐇 𝟐 𝐎 3. 𝐏𝐛(𝐍𝐨 𝟑) 𝟐 4. 𝐊 𝟑 𝐂𝐫𝟐 𝐎 𝟕 2. (มช 40) ธาตุ M มีมวลอะตอม 70 และมีความหนาแน่นเท่ากับ 5.02 g/cm3 ปริมาตรเฉลี่ยของธาตุนี้ 1 อะตอม จะมีค่ากี่ cm3 1. 𝟐. 𝟑𝟏 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟑 2. 𝟏. 𝟏𝟖 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟓 3. 𝟒. 𝟑 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟑 4. 𝟓. 𝟏𝟖 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟓 3. (มช 38) ก๊าซชนิดหนึ่งมีปริมาณ 448 cm3 ที่ STP มีมวล 0.60 กรัม ก๊าซนี้น่าจะ ได้แก่1. NH3 2. CH4 3. C2H6 4. CO2
  • 21. 4. (มช 38) กรดแอซีติก 24 กรัม จะมีจานวนออกซิเจนอะตอมอยู่ทั้งหมด เท่ากับ ข้อสอบ 1. 6.02 X 1023 อะตอม 2. 4.82 X 1023 อะตอม 3. 2.41 X 1023 อะตอม 4. 1.20 X 1023 อะตอม 5. (มช 43) ถ้านักเรียนตักน้าบริสุทธ์มา 2 cm3 น้านั้นจะมีจานวนโมเลกุลเท่าใด กาหนดให้ : ความหนาแน่นของน้าเท่ากับ 1.0 g/cm3 1. 0.11 2. 36 3. 6.69 x 1022 4. 1.20 x 1024
  • 22. 6. ธาตุ A 2 อะตอม มีมวลเท่ากับ 𝟏. 𝟖𝟐𝟒 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟐 กรัม มวลอะตอมของ A มีค่าเท่าใด ( กาหนดให้ 𝟏 𝟐 มวลของ c – 12 เท่ากับ 𝟏. 𝟔𝟔 𝐱 𝟏𝟎−𝟐𝟒 กรัม ) 7. สมมติธาตุ X มี 3 ไอโซโทป ในธรรมชาติ คือ จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X ข้อสอบ
  • 23. 8. (มช 39) ข้อความใดที่ ไม่ใช่ เป็ นสมบัติของก๊าซใดๆ ปริมาตร 22.4 dm3 ที่ อุณหภูมิความดันมาตรฐาน 1. จานวนโมล = 6.02 x 1023 โมล 2. มวล = มวลโมเลกุลคิดเป็ นกรัม 3. จานวนโมเลกุล = 6.02 x 1023 โมเลกุล 4. จานวนโมเลกุลของก๊าซนี้เท่ากับจานวนโมเลกุลของไฮโดรเจน 9. แก๊สโพรเพน (C3H8) จานวน 22 กรัม ที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลิตร ข้อสอบ
  • 24. 10. แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร 67.2 ลิตร ที่ STP จะมีกี่โมเลกุล ข้อสอบ 11. แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 0.2 กรัม มีปริมาตร 400 cm3 ที่ STP แก๊สชนิดนี้มีมวลโมเลกุล เท่าไร 12. เมื่อละลายน้าตาลกลูโคส 30 กรัม ในน้ากลั่น 120 กรัม จงหาว่าสารละลายนี้มี ความเข้มข้นโดยมวลเท่าใด 13. เมื่อใช้ NaOH 20 กรัม เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้น 30% โดยมวล/ ปริมาตร จะได้สารละลายกี่ cm3
  • 25. ข้อสอบ 14. (มช 40) สาร A เป็ นสารบริสุทธ์โดยใน 1 โมเลกุลของสารนี้ประกอบด้วยคาร์บอน 27 อะตอม คิดเป็ นร้อยละโดยมวลของคาร์บอนเท่ากับ 80.50 อยากทราบว่าสาร A มีมวลโมเลกุลเท่าไร 1. 348.3 2. 402.5 3. 430.3 4. 490.8 15. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จานวน 4.48 dm3 ที่ STP จะมีกี่โมลและกี่ โมเลกุล (C =12, O = 16) 16.จงหาจานวนโมล จานวนโมเลกุล และปริมาตรของแก๊สคลอรีน 213 g (1 โมเลกุลประกอบด้วย Cl 2 อะตอม) (Cl = 35.5)
  • 26. 17. แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 14 dm3 ที่ STP มีมวล 2.4 กรัม จงหามวล โมเลกุลของแก๊สนี้ ข้อสอบ
  • 27. เฉลยข้อสอบ ข้อ 17. ตอบ วิธีทา แก๊ส 22.4 dm3 ที่ STP คิดเป็ น 1 โมล แก๊ส 14 dm3 ที่ STP คิดเป็ น 1 X 14 22.4 = 0.625 โมล ดังนั้น แก๊ส 0.625 โมล มีมวล 2.4 กรัม แก๊ส 1 โมล มีมวล 2.4 X 1 0.625 กรัม 3.84 กรัม
  • 28. เฉลยข้อสอบ ข้อ 1.(มช 46) ตอบ 3 วิธีทำ ข้อ 1 มวลโมเลกุล Ca3(Po4)2 = 3(40) + 31 + 4(16) x 2 = 120 + (95)2 = 310 ข้อ 2 มวลโมเลกุล CuSo4 ∙ 5H2O = 63.5 + 32 +4(16) + 5 2 1 + 16 = 63.2 + 32 + 64 + 90 = 249.5 ข้อ 3 มวลโมเลกุล Pb(No3)2 = 207 + 14 + 3(16) 2 = 207 + 124 = 331 ข้อ 4 มวลโมเลกุล K3Cr2O7 = 2(39) + 2(52) + 7(16) = 78 + 104 + 112 = 294 ∴ Pb(No3)2 จะมีมวลโมเลกุลมำกที่สุด = 331
  • 29. ข้อ 2.(มช 40) ตอบ 1 เฉลยข้อสอบ วิธีทำ จำกมวลอะตอม M = 70 amu = (70)(1.66 𝑥 10−24 ) กรัม ควำมหนำแน่น = 5.02 g/cm3 ปริมำตร = ? จำก ควำมหนำแน่น = มวล ปริมำตร = (70)(1.66 𝑥 10−24) 5.02 = 2.31 x 10−23 g/cm3
  • 30. เฉลยข้อสอบ ข้อ 3.(มช 38) ตอบ 3 วิธีทำ โจทย์บอก vแก๊ส = 448 cm3 = 0.448 ลิตร , g = 0.60 กรัม จำก g m = v 22.4 0.6 m = 0.448 ลิตร 22.4 m = 0.6(22.4 x 103) 448 x 10−3 = 30 แสดงว่ำสำรนี้มีมวลโมเลกุลเท่ำกับ 30 ซึ่งน่ำจะเป็น C2H6 ∴ เพรำะ C2H6 มีมวลโมเลกุล = 2(12) + 6(1) = 30 เช่นกัน
  • 31. เฉลยข้อสอบ ข้อ 4.(มช 38) ตอบ 2 วิธีทำ กรดแอซีติก (CH3COOH) มีมวลโมเลกุล = 12 + 3(1) + 12 + 16 +16 +1 = 60 จำก N 6.02 x 10 23 = g m N = g m (6.02 x 10 23 ) N = 24 60 (6.02 x 10 23 ) N = 𝟐. 𝟒𝟏 𝐱 𝟏𝟎 𝟐𝟑 โมเลกุล
  • 32. เฉลยข้อสอบ ข้อ 5.(มช 38) ตอบ 3 วิธีทำ มวลโมเลกุลของน้ำ (H2O) = 18 และ น้ำ 2 cm3 จะมีมวล = 2 กรัม จำก g m = N 6.02 x 10 23 2 18 = N 6.02 x 10 23 N = 2.41 x 10 23 โมเลกุล
  • 33. วิธีทา ธาตุ A 2 อะตอม = 1.824 x 10−22 กรัม ธาตุ A 1 อะตอม = 1.824 𝑥 10−22 2 = 9.12 𝑥 10−23 ดังนั้น มวลอะตอม A = 9.12 x 10−23 1.66 x 10−24 = 55 เฉลยข้อสอบ ข้อ 6. ตอบ 55
  • 34. เฉลยข้อสอบ ข้อ 7. ตอบ 12.25 วิธีทา มวลอะตอมเฉลี่ย x = Σ (% x มวล) 100 = (80 x 12) +(15 x 13) +(5 x 14) 100 = 960 + 195 + 70 100 = 1125 100 = 12.25
  • 35. ข้อ 8. (มช 39) ตอบ ข้อ 1. เหตุผล เพราะก๊าซ 22.4 ลิตร ที่ STP มีเพียง 1 โมลเท่านั้น ไม่ใช่ 6.02 x 1023 โมล เฉลยข้อสอบ ข้อ 9. ตอบ 11.2 วิธีทา มวลโมเลกุล (M) = 3(12) + 8(1) = 36 + 8 = 44 มวลสารที่มี (g) = 22 กรัม ปริมาตรแก๊ส (vแก๊ส) = ? จาก g m = v แก๊ส 22.4 vแก๊ส = g m x 22.4 = 22 44 x 22.4 = 11.2
  • 36. ข้อ 10. ตอบ 1.806 x 10 24 วิธีทา (vแก๊ส) = 67.2 dm3 , N = ? จาก N 6.02 x 10 23 = v 22.4 N = 67.2 22.4 x 6.02 x 10 23 N = 1.806 x 10 24 โมเลกุล เฉลยข้อสอบ
  • 37. เฉลยข้อสอบ ข้อ 11. ตอบ ข้อ 1 วิธีทา โจทย์กาหนด g = 0.2 กรัม , vแก๊ส = 400 cm3 1000 = 0.4 dm3 , M = ? จาก g m = v 22.4 จะได้ M = g x 22.4 v M = 0.2x 22.4 0.4 = 11.2
  • 38. ข้อ 12. ตอบ 20 % วิธีทา จาก ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร = มวลตัวถูกละลาย มวลสารละลาย x 100 = 30 120 + 30 x 100 = 20 % เฉลยข้อสอบ ข้อ 13. ตอบ 66.67 cm3 วิธีทา จากโจทย์ มวล NaOH = 20 กรัม เข้มข้นโดยมวล /ปริมาตร = 30% จะได้ % โดยมวล/ปริมาตร = มวลตัวถูกละลาย (กรัม) มวลสารละลาย (cm3) x 100 30 = 20 ปริมาตร x 100 ∴ ดังนั้น ปริมาตรสารละลาย = 66.67 cm3
  • 39. เฉลยข้อสอบ ข้อ14. (มช 40) ตอบข้อ 2. วิธีทา สมมุติสารประกอบนี้มีคาร์บอน 27 อะตอม ดังนั้นเฉพาะมวลคาร์บอน = 27 x 12 = 324 จาก ร้อยละของคาร์บอน = มวลคาร์บอน มวลโมเลกุล x 100 80.5 = 324 m x 100 m = 402.5
  • 40. ข้อ 15 ตอบ 1.204 X 1023 วิธีทา แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 22.4 dm3 คิดเป็ น 1 โมล แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 4.48 dm3 คิดเป็ น 1 X 4.48 22.4 โมล = 0.2 โมล แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 1 โมล มีจานวนอนุภาค 6.02 X 1023 โมเลกุล แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 0.2 โมล มีจานวนอนุภาค 0.2 X6.02 X 1023 โมเลกุล = 1.204 X 1023 โมเลกุล เฉลยข้อสอบ
  • 41. ข้อ 16 ตอบ 1.81 X 1024 วิธีทา แก๊สคลอรีน 71 g คิดเป็ น 1 โมล แก๊สคลอรีน 213 g คิดเป็ น = 1X213 71 โมล แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 1 โมล มีจานวนโมเลกุล = 6.02 X 1023 โมเลกุล แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 3 โมล มีจานวนอนุภาค = 3 X 6.02 X 1023 โมเลกุล = 1.81 X 1024 โมเลกุล เฉลยข้อสอบ