SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 29
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เด็กปัญญาเลิศ....11
ความหมาย
                   เด็กที่มีความสามารถทางปัญญา
           สูงกว่าเด็กทั่วไป และความถนัดเฉพาะ
           ทางอยู่ระดับสูงกว่าเด็กอืนในวัยเดียวกัน
                                    ่
           นอกจากนี้ยงมีสมรรถนะในการคิด
                       ั
           ประดิษฐ์ สรรค์สร้างสิ่งใหม่ๆให้แก่โลก
           มนุษย์
เด็กที่มความสามารถพิเศษเฉพาะด้านสามารถ สังเกตได้จาก
           ี
   พฤติกรรมเหล่านี้

1.แสดงความสามารถในการใช้ศัพท์ได้สูงกว่าวัย เช่น ลูกอายุ 2
ขวบ สามารถพูดว่า “แม่หมากาลังมาหาลูกหมาแล้ว” แทนที่จะพูด
ว่า “หมา หมา” เป็นต้น
2. ช่างสังเกต และตื่นตัวอยู่เสมอ เด็กที่เก่งมักจะสังเกตใน
รายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ และจาได้ดี
3. สามารถอธิบายเรื่องราวที่ได้ทามาในวันนั้นได้อย่างดี
4. มีสมาธิ ตั้งใจทาอย่างใจจด ใจจ่อ ในเรื่องที่ตนสนใจ
5. มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถแสดงออกมาได้ เป็นต้น
คาที่ใช้เรียกเด็กฉลาดอาจมีหลายคา เช่น คาว่า เด็กอัจฉริยะ
เด็กปรีชาญาณ เด็กเก่ง และคาสุดท้ายที่นามาใช้ในวงการศึกษา คือ
เด็กปัญญาเลิศ คาภาษาอังกฤษที่ใช้ในวงการนี้มีหลายคาเช่นกัน เช่น


           Gifted หมายถึง ผู้ที่มีความฉลาดเฉลียวหรือผู้มีปัญญา
          เลิศ
           Talented หมายถึง ผู้ที่มีความสามารถเฉพาะทาง เช่น
          ด้านดนตรี ศิลปะ กีฬา
           Genius หมายถึง ผู้ที่ระดับสติปัญญาสูง มีผลงานการ
          ประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์มากมาย
ลักษณะของเด็กปัญญาเลิศ

            1) มีพัฒนาการทางร่างกายและจิตใจเร็วกว่าเด็กปกติ
            2) มีความสามารถในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้อย่าง
    รวดเร็วและง่ายดาย
            3) มีความอยากรู้อยากเห็นอย่างจริงจัง ชอบชักถาม
            4) มีความสามารถในการแก้ปัญหา การใช้สามัญสานึก
    และสามารถนาความรู้ที่มีไปใช้ได้ในชีวิตจริง
            5) มีเหตุผล ความคิดดี
            6) จดจาสิ่งที่เคยเห็นเคยอ่านได้รวดเร็วและแม่นยา
8) ใช้คาศัพท์กว้างขวาง ถูกต้องแม่นยาและปริมาณคา
ที่รู้จักก็มีมาก
             9) มีความคิดริเริ่ม มีวิธีการคิดและแนวคิดแปลกๆ แต่
ใช้การได้ดีและมีอารมณ์ขัน
            10) เป็นคนตื่นตัว เฉียบแหลม ว่องไว และช่างสังเกต
            11) มีแรงจูงใจ และมีความมานะบากบั่นมีความจริงจัง
ในการทางาน
            12) ชอบแสวงหาสิ่งท้าทายความคิดความอ่าน
สาเหตุที่ทาให้เด็กเก่ง

1. พันธุกรรม
2. องค์ประกอบทางด้าน
ชีววิทยาอื่นๆ
3. สังคมและวัฒนธรรม
4. ปัญหาและข้อจากัด
พฤติกรรมบางอย่างในห้องเรียน


   1) เข้าใจได้ง่าย และรวดเร็ว มักมีคาถามชวนคิด
   2) สมาธิในการเรียนและการทางานดี
   3) สนใจและสนุกกับปัญหาที่ยากซับซ้อน
   4) อ่านหนังสือได้เร็วกว่าอายุ
   5) ชอบประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ หรือในแนวใหม่ๆ
   6) ใช้ภาษาได้ดี รู้จักคาศัพท์กว้างขวางเกินวัย ชอบเรียนหนังสือ
   7) แก้ปัญหาด้วยวิธีการหลากหลาย
   8) มีลักษณะเป็นผู้นาในกลุมเด็กวัยเดียวกัน
                               ่
เด็กปัญญาเลิศจะมีปัญหาด้านอารมณ์และจิตใจ ซึ่งสามารถ
แยกแยะได้ 8 ประการดังนี้


              1. เด็กที่มีความสามารถพิเศษจานวนไม่นอย มีความรู้สึก
                                                      ้
     โดดเดี่ยวอ้างว้าง เพราะคนไม่ค่อยเข้าใจความคิดและความรู้สึก
     โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กกลุ่มทีมีความสามารถสูงๆจะรู้สึกว่าทาไม
                                 ่
     คนอื่นคิดและรู้สึกไม่เหมือนเขา จนรู้สึกว่าตัวเองเป็นมนุษย์ต่างดาว
     ไม่เหมือนเพื่อนคนอื่นๆ เด็กจึงมีพฤติกรรมตอบสนองไปในรูปแบบ
     ต่างๆ แล้วแต่พื้นฐานจิตใจรอบรมเลี้ยงดู และวิธีคิดของเด็กๆ
2. รู้สึกว่าตัวเองต่าต้อยด้อยค่า ไม่มีคุณค่าในตัวเอง ทาให้
ขาดความมั่นใจ ขาดการตัดสินใจที่ดีในอนาคต
           3. รู้สึกว่ามีปัญหาในการปรับตัว ไม่สามารถมีความรู้สึก
นึกคิดคล้อยไปกับสังคมหรือผสมผสานกับกลุ่มที่ตัวเองต้องไป
เกี่ยวข้องได้ เพราะระบบคิดต่างกัน
           4. มีความเครียดสูง จากสาเหตุต่างๆ ทั้งในเรื่องความ
คาดหวังและการที่ตัวเองอยู่ในสภาพที่โดนกดดันโดยระบบ
การศึกษาที่น่าเบื่อ และต้องปฏิบัติในสิ่งที่ตัวเองไม่สนใจ
           5. ขาดความมั่นใจในตัวเอง เป็นโรคที่พบมากในขณะนี้
ทีเ่ ด็กไม่กล้าแสดงออก เป็นผลให้เกิดความล้มเหลวในการเรียนการ
งาน
6. กลัวความล้มเหลว ในกรณีที่เด็กแสดงออกถึงความโดดเด่น
ผู้คนใกล้ชิดก็มักจะคาดหวัง หรือโดยนิสัยพื้นฐานเด็กกลุ่มนี้มีรสนิยม
ทางปัญญา สูงกว่าปกติอยู่แล้ว มีแนวโน้มที่จะทาอะไรสมบูรณ์
ไม่มีที่ติอยู่แล้ว เลยทาให้หลีกเลี่ยงสถานการณ์ล้มเหลวหลายๆอย่าง
           7. ขาดสมาธิ หรือที่เรียกกันทางวิชาการว่า โรคสมาธิบกพร่อง
ที่เป็นโรคฮิตอันดับแรกกับเด็กทั่วไปทั้งเด็กปกติและเด็กพิเศษ
           8. ทางานไม่ค่อนเสร็จ มีความคิดดีๆ พูดอะไรเข้าใจรวดเร็ว
คิดเก่ง คิดไว แต่พอลงมือทาไม่ค่อยอดทนทาให้สาเร็จ
ประเภทของเด็กอัจฉริยะ

          ความสามารถทางอารมณ์
                     เป็นทักษะและความสามารถที่เราจาเป็นต้องใช้ในการ
          อยู่ร่วมกับผู้อื่นในการติดต่อสื่อสาร ทาความเข้าใจ คนที่มี
          ความสามารถทางสังคมจะมีความสามารถที่จะเข้าใจผู้อื่น เร็วต่อ
          ความรู้สึกของผู้อื่น เข้าใจภาษากาย มีความสามารถในการ
          บริหารจัดการ ควบคุมอารมณ์ตนเอง เข้าใจเกี่ยวกับความรู้สึก
          ของตนเอง รับรู้ภาวะทางอารมณ์ของตนเอง ความอดกลั้นอดทน
          ทางอารมณ์ได้ดี รวมถึงความสามารถในการแสดงออกอย่าง
          ถูกต้องเหมาะสมตามกาลเทศะ นอกเหนือไปจากการมองเห็น
          และเข้าใจทัศนะของคนอื่นได้ดี คนที่มีความสามารถทางด้าน
          มนุษยธรรมจะมีความ
ความสามารถทางกีฬา
         เป็นความสามารถในการควบคุม
กล้ามเนื้อ ควบคุมการเคลื่อนไหว ความ
ยืดหยุ่น ทั้งกล้ามเนื้อเล็กและกล้ามเนื้อ
ใหญ่ รวมถึงการใช้กล้ามเนื้อร่างกาย
ในการแสดงออกถึงความรู้สึกหรือ
ความคิด เช่น นักกีฬา นาฏศิลป์ นักแสดง
นักปั้น
ความสามารถทางศิลปะ
         เป็นความสามารถสร้างมิติประมวลความคิด หรือสร้างความคิด
จากการเห็นในรูปแบบต่างๆ ในความคิด เช่น ความสามารถในการพลิก
หมุนภาพที่เห็นเป็นมุมต่างๆ มองเห็นภาพต่างๆ อย่างทะลุปรุโปร่ง เช่น
กลุ่มศิลปินที่สามารถรังสรรค์จากการเห็นให้เป็นผลงานที่เป็นนามธรรม
ความงดงาม หรือเป็นตัวแทนของ ความรู้สึกนึกคิด เช่น กลุ่มศิลปิน นัก
ประดิษฐ์
ความสามารถทางวิทยาศาสตร์
        เป็นความสามารถในการสังเกต
วิเคราะห์ พิสูจน์ คัดแยก ศึกษา อธิบาย รวมถึง
เขาใจในปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ หรือการ
เกิดปรากฏการณ์สิ่งต่างๆ ทางธรรมชาติ
ความสามารถในการมองเห็นโครงสร้างของ
ระบบธรรมชาติ ความเข้าใจในความสัมพันธ์
และผลกระทบที่จะเกิด เช่น ความสัมพันธ์
ระหว่างพืช - สัตว์ เช่น นักวิทยาศาสตร์
นักธรรมชาติวิทยา เกษตรกร นักวิจัย นัก
ภูมิศาสตร์
ความสามารถทางภาษา
         เป็นความสามารถในการทาความ
เข้าใจความหมายทางภาษา การใช้ภาษาใน
รูปแบบต่างๆ เพื่อมาถ่ายทอดความคิด
จินตนาการ ความรู้ อารมณ์หรือความดื่มด่า
ลึกซึ้งทางความคิด อารมณ์ ตลอดจน
จินตนาการอันหลากหลายที่อาจเป็น
ความสามารถในการใช้ภาษาทางด้านการ
เขียนหรือการพูด เช่น นักเขียน นักแปล
นักภาษาศาสตร์ จินตกวี นักพูด โฆษก
ความสามารถทางช่างเทคนิคและ
อิเล็กทรอนิกส์
          เป็นความสามารถในการรับรู้เรียนรู้
เกี่ยวกับเครื่องจักรกลที่ต้องใช้ทักษะกลไกใน
เรื่องของอุปกรณ์และการทางานของ
เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์
หรือเครื่องมือต่างๆ สามารถมองเห็น
องค์ประกอบ หรือการทางานของอุปกรณ์
สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ อย่างรวดเร็ว ง่ายดาย เช่น
ช่าง นักอิเล็กทรอนิกส์ มีทักษะในการใช้ตา
ประสาน ประกอบอุปกรณ์หรือสร้าง
ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ได้อย่างดี
ความสามารถทางการคิด
       คือ ความสามารถในการเรียนรู้ จดจา วิเคราะห์สังเคราะห์
จินตนาการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้า และ ระยะยาว การมองเห็น
ความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นนามธรรมหรือรูปธรรม รวมทั้งความสามารถ
ในการประมวลความคิดรูปแบบ ต่างๆ เพื่อตอบสนองสถานการณ์ได้อย่าง
เหมาะสม ตัวอย่างคนที่มีความสามารถด้านนี้ ได้แก่ นักคิด นักวางแผน
นักประดิษฐ์
ความสามารถทางดนตรี
         เป็นความสามารถในการรับรู้ทางการได้ยินที่ละเอียดอ่อน เฉียบไว
ถ่ายโยงความสามารถในการรับรู้ทางการได้ยินที่ลึกซึ้ง ทั้งความสูงต่าของเสียง ความถี่
ของเสียง จังหวะของเสียงไปสู่จิตใจ อารมณ์ความรู้สึกนึกคิดมา ถักทอเป็นรูปแบบทาง
ความสามารถที่เกี่ยวข้องกับเสียง เช่น ดนตรี การร้องเพลง การแต่งเพลง การพากย์
หนัง การเลียนเสียงสัตว์ หรือผู้ที่ฝึกนกเขาชวา หรือตัดสินความสามารถในการขันของ
นกเขาชวา ต้องมีความสามารถในการรับรู้ทางเสียงที่เฉียบคม เป็นต้น
ความต้องการพิเศษ

         เด็กปัญญาเลิศ เป็นเด็กที่เรียนสิ่งต่างๆ ได้รวดเร็ว
ดังนั้น หากเนื้อหา และวิธีการสอนที่ใช้กับเด็กปกติ จึงมักทา
ให้เด็กเหล่านี้เบื่อง่าย เพราะไม่ท้าทายความคิด หากครูไม่
เข้าใจก็จะกลายเป็นเด็กที่มีปญหา ก่อกวนความสงบสุขของ
                              ั
ชั้นไปได้ ทางโรงเรียนจึงควรจัดบริการสอนเสริมให้กับเด็ก
ซึ่งอาจทาในรูปของ
1) การจัดชั้นพิเศษ โดยคัดแยกเด็กเก่งมาเรียนในกลุ่ม
เดียวกัน และจัดหลักสูตรพิเศษให้สอดคล้องกับความสนใจและ
ความสามารถของเด็ก


          2) การสอนเร่ง เป็นการเรียนหลักสูตรปกติในเวลาที่
น้อยลง เช่น การเรียนข้ามชั้น ควบชั้น เป็นต้น


           3) การสอนเพิ่ม เป็นการเสริมความรู้และประสบการณ์
ของเด็กให้กว้างขวางและลึกซึ้งมากขึ้น นอกเหนือจาก กิจกรรมใน
ชั้นเรียน และ / หรือให้โอกาสได้ฝึกฝนเล่าเรียนในแขนงวิชาที่เด็ก
มีความถนัดเป็นพิเศษ
วิธีสอนเด็กปัญญาเลิศในชั้นเรียนร่วม มีดังนี้

            1. การเรียนรู้แบบรู้แจ้ง ให้เด็กได้มีโอกาส
เรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน ตามระดับความสามารถของเด็ก
โดยไม่มีการเร่งรัดเกี่ยวกับเวลามากนัก ให้เด็กเรียนไปเรื่อย
ๆ ตามความสามารถ จนกระทั่งเด็กเรียนด้วยตนเองครบ
หน่วยของเนื้อหาที่ครูกาหนด
            2. การจัดหลักสูตรให้กะทัดรัด มุ่งเน้นให้เด็ก
ได้มุ่งเรียนในเนื้อหาวิชาที่เป็นจุดสาคัญจริง ๆ ในบางครั้ง
จึงจาเป็นต้องตัดกิจกรรมการเรียนบางอย่างออกไป เมื่อครู
เห็นว่าเด็กมีทักษะแล้ว แต่ครูจะต้องแน่ใจว่าเด็กมีพื้นฐาน
แล้ว จึงจะเรียนเนื้อหาวิชาที่ยากขึ้นได้
3. การคิดเชิงวิจารณ์ สอนให้รู้จักคิด รู้จักใช้
               เหตุผลก่อนตัดสินใจและไม่ได้หลงเชื่อใครง่าย ๆ
                         4. ศูนย์การเรียน เป็นการจัดมุมใดมุมหนึ่งให้เป็น
               มุมหรือศูนย์ที่เน้นเนื้อหาวิชาใดวิชาหนึ่งตามเนื้อหาใน
               หลักสูตร แล้วให้เด็กเข้าศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้
               เด็กได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง


          5. การคิดระดับสูงเป็นการเรียนรู้ตามแนวความคิดของ
นักการศึกษาชาวอเมริกัน ชื่อ Benjamine Bloom จะสอน
ให้เด็กนาไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผล
         6. การศึกษาด้วยตัวเอง เป็นการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ในแนวลึก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องที่เด็กให้ความสนใจอย่างมาก
แต่ครูจะต้องคอยให้คาแนะนาเด็ก
7. การฝึกงานกับผู้ชานาญงาน เป็นการส่งเด็กปัญญาเลิศไปฝึกงาน
กับผู้ที่มีความรู้ ความสามารถในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นพิเศษ
            8. การสอนเร่ง เป็นการเรียนเนื้อหาที่ยากขึ้น เกินกว่าที่กาหนดไว้ใน
หลักสูตร
            9. การสอนเสริม เป็นการสอนตามเนื้อหาเดิมแต่กิจกรรมอาจมีมาก
ขึ้น ทั้งแนวลึกและแนวสร้างสรรค์
            10. การข้ามชั้น เป็นการเลื่อนชั้นเรียนให้สูงขึ้น
11. การเข้าเรียนก่อนเกณฑ์
          12. การเรียนตามความสามารถของตนเอง เป็นการให้
เรียนด้วยตนเองเป็นชุด ๆ ตามความสามารถของเด็ก ไม่มีการ
กาหนดเวลา จะเรียนกี่ชุดหรือทุกชุดก็ได้
          13. การเข้าเรียนในระดับมหาวิทยาลัยเมื่ออายุยังน้อย
หากระเบียบการต่าง ๆ เปิดกว้างกว่านี้
          14. การเรียนทางไปรษณีย์
          15. การเรียนล่วงหน้า เป็นการอนุญาตให้นักเรียนในระดับ
มัธยมปลายเข้าไปเลือกเรียนบางรายวิชาในระดับมหาวิทยาลัยได้ และ
เก็บสะสมหน่วยกิตไว้ เมื่อเด็กเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยจริง จะช่วยให้
เด็กเรียนจบระดับมหาวิทยาลัยเร็วขึ้น
16. การแก้ปัญหา เป็นการฝึกให้เด็กแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้น ทั้งการเรียน และสังคม เป็นการสอนให้เด็กรู้จักการวิเคราะห์
ปัญหาว่าปัญหาเกิดมาจากอะไร มีที่มาอย่างไร
            17. การจัดหลักสูตรฉบับย่อ เป็นการจัดหลักสูตรที่
เข้มข้น เพื่อให้เรียนในเวลาที่สั้นลง
            18. การนับหน่วยกิตโดยการสอบ เป็นการสอบโดยที่เด็ก
ไม่ต้องมาเรียน ให้เด็กเรียนด้วยตนเองที่บ้าน เมื่อสิ้นภาคเรียนให้เด็กเข้า
สอบ และเก็บสะสมหน่วยกิตไว้ เมื่อหน่วยกิต ครบตามหลักสูตรก็ถือว่า
สาเร็จการศึกษา
19. การทาสัญญา เป็นการทาสัญญาที่มีการลงนามเป็นลายลักษณ์อักษร
ภายในจะต้องมีจุดมุ่งหมายชัดเจน มีขอบข่ายเนื้อหาวิชาที่เด็กจะต้องรู้ภายในเวลาที่
กาหนด และเด็กต้องนาเนื้อหาวิชามาเสนอครู เมื่อสัญญาสิ้นสุดลง
         20. ความคิดสร้างสรรค์ เป็นการ สอนและส่งเสริมให้เด็กใช้ความคิด
จินตนาการ ควรตั้งคาถามให้ปลายเปิด ที่มีคาตอบมากมาย ให้อิสระแก่เด็ก ไม่ควร
ตาหนิหรือลงโทษเด็ก ควรมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาเสียก่อน จึงจะสามารถใช้วิธี
ประยุกต์และสร้างสรรค์เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาที่เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
THE END
จัดทำโดย

นางสาวนฤมล          อมรศักดิ์สวัสดิ์ รหัส 118
นางสาวเบญจรัตน์     มีฉลาด           รหัส 121
นางสาวปาริฉตร
            ั       ด้วงบุญมา        รหัส 124
นางสาวรุ่งนภา       ด่านอินถา        รหัส 135
นายวิทยา            นามณี            รหัส 137
       สาขาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1Ploykarn Lamdual
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1NusaiMath
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชWann Rattiya
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 

Was ist angesagt? (20)

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 

Andere mochten auch

เด็กปัญญาเลิศ1
เด็กปัญญาเลิศ1เด็กปัญญาเลิศ1
เด็กปัญญาเลิศ1Benjarat Meechalat
 
เด็กปัญญาเลิศ....
เด็กปัญญาเลิศ....เด็กปัญญาเลิศ....
เด็กปัญญาเลิศ....Benjarat Meechalat
 
ข้อสอบวัดเชาว์ปัญญา
ข้อสอบวัดเชาว์ปัญญาข้อสอบวัดเชาว์ปัญญา
ข้อสอบวัดเชาว์ปัญญาpeter dontoom
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินBenjarat Meechalat
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldPa'rig Prig
 
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )Pitchayakarn Nitisahakul
 
ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...Napadon Yingyongsakul
 
วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติวิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติBenjarat Meechalat
 
เกม คณิตคิดสนุก
เกม คณิตคิดสนุกเกม คณิตคิดสนุก
เกม คณิตคิดสนุกchanamanee Tiya
 
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์kroojaja
 
หลักสูตรเพื่อการเรียนรวม
หลักสูตรเพื่อการเรียนรวมหลักสูตรเพื่อการเรียนรวม
หลักสูตรเพื่อการเรียนรวมwanwisa491
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินKhuanruthai Pomjun
 
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )Pitchayakarn Nitisahakul
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]CMRU
 
ปัญหาเชาวน์ คณิต
ปัญหาเชาวน์ คณิต ปัญหาเชาวน์ คณิต
ปัญหาเชาวน์ คณิต komeeyun
 
นงนภัส
นงนภัสนงนภัส
นงนภัสnongnaput
 
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษาบทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษาPitchayakarn Nitisahakul
 
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษPitchayakarn Nitisahakul
 

Andere mochten auch (20)

เด็กปัญญาเลิศ1
เด็กปัญญาเลิศ1เด็กปัญญาเลิศ1
เด็กปัญญาเลิศ1
 
เด็กปัญญาเลิศ....
เด็กปัญญาเลิศ....เด็กปัญญาเลิศ....
เด็กปัญญาเลิศ....
 
ข้อสอบวัดเชาว์ปัญญา
ข้อสอบวัดเชาว์ปัญญาข้อสอบวัดเชาว์ปัญญา
ข้อสอบวัดเชาว์ปัญญา
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
 
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
 
ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติวิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
 
เกม คณิตคิดสนุก
เกม คณิตคิดสนุกเกม คณิตคิดสนุก
เกม คณิตคิดสนุก
 
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 
หลักสูตรเพื่อการเรียนรวม
หลักสูตรเพื่อการเรียนรวมหลักสูตรเพื่อการเรียนรวม
หลักสูตรเพื่อการเรียนรวม
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
 
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อ
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
 
ปัญหาเชาวน์ คณิต
ปัญหาเชาวน์ คณิต ปัญหาเชาวน์ คณิต
ปัญหาเชาวน์ คณิต
 
นงนภัส
นงนภัสนงนภัส
นงนภัส
 
E education
E educationE education
E education
 
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษาบทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
 
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
 

Ähnlich wie เด็กปัญญาเลิศ....11

เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1pattamasatun
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Yee022
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1New Born
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ya035
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1suweeda
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1maina052
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1sitipatimoh050
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1azmah055
 

Ähnlich wie เด็กปัญญาเลิศ....11 (20)

เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

เด็กปัญญาเลิศ....11

  • 2. ความหมาย เด็กที่มีความสามารถทางปัญญา สูงกว่าเด็กทั่วไป และความถนัดเฉพาะ ทางอยู่ระดับสูงกว่าเด็กอืนในวัยเดียวกัน ่ นอกจากนี้ยงมีสมรรถนะในการคิด ั ประดิษฐ์ สรรค์สร้างสิ่งใหม่ๆให้แก่โลก มนุษย์
  • 3. เด็กที่มความสามารถพิเศษเฉพาะด้านสามารถ สังเกตได้จาก ี พฤติกรรมเหล่านี้ 1.แสดงความสามารถในการใช้ศัพท์ได้สูงกว่าวัย เช่น ลูกอายุ 2 ขวบ สามารถพูดว่า “แม่หมากาลังมาหาลูกหมาแล้ว” แทนที่จะพูด ว่า “หมา หมา” เป็นต้น 2. ช่างสังเกต และตื่นตัวอยู่เสมอ เด็กที่เก่งมักจะสังเกตใน รายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ และจาได้ดี 3. สามารถอธิบายเรื่องราวที่ได้ทามาในวันนั้นได้อย่างดี 4. มีสมาธิ ตั้งใจทาอย่างใจจด ใจจ่อ ในเรื่องที่ตนสนใจ 5. มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถแสดงออกมาได้ เป็นต้น
  • 4. คาที่ใช้เรียกเด็กฉลาดอาจมีหลายคา เช่น คาว่า เด็กอัจฉริยะ เด็กปรีชาญาณ เด็กเก่ง และคาสุดท้ายที่นามาใช้ในวงการศึกษา คือ เด็กปัญญาเลิศ คาภาษาอังกฤษที่ใช้ในวงการนี้มีหลายคาเช่นกัน เช่น  Gifted หมายถึง ผู้ที่มีความฉลาดเฉลียวหรือผู้มีปัญญา เลิศ  Talented หมายถึง ผู้ที่มีความสามารถเฉพาะทาง เช่น ด้านดนตรี ศิลปะ กีฬา  Genius หมายถึง ผู้ที่ระดับสติปัญญาสูง มีผลงานการ ประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์มากมาย
  • 5. ลักษณะของเด็กปัญญาเลิศ 1) มีพัฒนาการทางร่างกายและจิตใจเร็วกว่าเด็กปกติ 2) มีความสามารถในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้อย่าง รวดเร็วและง่ายดาย 3) มีความอยากรู้อยากเห็นอย่างจริงจัง ชอบชักถาม 4) มีความสามารถในการแก้ปัญหา การใช้สามัญสานึก และสามารถนาความรู้ที่มีไปใช้ได้ในชีวิตจริง 5) มีเหตุผล ความคิดดี 6) จดจาสิ่งที่เคยเห็นเคยอ่านได้รวดเร็วและแม่นยา
  • 6. 8) ใช้คาศัพท์กว้างขวาง ถูกต้องแม่นยาและปริมาณคา ที่รู้จักก็มีมาก 9) มีความคิดริเริ่ม มีวิธีการคิดและแนวคิดแปลกๆ แต่ ใช้การได้ดีและมีอารมณ์ขัน 10) เป็นคนตื่นตัว เฉียบแหลม ว่องไว และช่างสังเกต 11) มีแรงจูงใจ และมีความมานะบากบั่นมีความจริงจัง ในการทางาน 12) ชอบแสวงหาสิ่งท้าทายความคิดความอ่าน
  • 8. พฤติกรรมบางอย่างในห้องเรียน 1) เข้าใจได้ง่าย และรวดเร็ว มักมีคาถามชวนคิด 2) สมาธิในการเรียนและการทางานดี 3) สนใจและสนุกกับปัญหาที่ยากซับซ้อน 4) อ่านหนังสือได้เร็วกว่าอายุ 5) ชอบประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ หรือในแนวใหม่ๆ 6) ใช้ภาษาได้ดี รู้จักคาศัพท์กว้างขวางเกินวัย ชอบเรียนหนังสือ 7) แก้ปัญหาด้วยวิธีการหลากหลาย 8) มีลักษณะเป็นผู้นาในกลุมเด็กวัยเดียวกัน ่
  • 9. เด็กปัญญาเลิศจะมีปัญหาด้านอารมณ์และจิตใจ ซึ่งสามารถ แยกแยะได้ 8 ประการดังนี้ 1. เด็กที่มีความสามารถพิเศษจานวนไม่นอย มีความรู้สึก ้ โดดเดี่ยวอ้างว้าง เพราะคนไม่ค่อยเข้าใจความคิดและความรู้สึก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กกลุ่มทีมีความสามารถสูงๆจะรู้สึกว่าทาไม ่ คนอื่นคิดและรู้สึกไม่เหมือนเขา จนรู้สึกว่าตัวเองเป็นมนุษย์ต่างดาว ไม่เหมือนเพื่อนคนอื่นๆ เด็กจึงมีพฤติกรรมตอบสนองไปในรูปแบบ ต่างๆ แล้วแต่พื้นฐานจิตใจรอบรมเลี้ยงดู และวิธีคิดของเด็กๆ
  • 10. 2. รู้สึกว่าตัวเองต่าต้อยด้อยค่า ไม่มีคุณค่าในตัวเอง ทาให้ ขาดความมั่นใจ ขาดการตัดสินใจที่ดีในอนาคต 3. รู้สึกว่ามีปัญหาในการปรับตัว ไม่สามารถมีความรู้สึก นึกคิดคล้อยไปกับสังคมหรือผสมผสานกับกลุ่มที่ตัวเองต้องไป เกี่ยวข้องได้ เพราะระบบคิดต่างกัน 4. มีความเครียดสูง จากสาเหตุต่างๆ ทั้งในเรื่องความ คาดหวังและการที่ตัวเองอยู่ในสภาพที่โดนกดดันโดยระบบ การศึกษาที่น่าเบื่อ และต้องปฏิบัติในสิ่งที่ตัวเองไม่สนใจ 5. ขาดความมั่นใจในตัวเอง เป็นโรคที่พบมากในขณะนี้ ทีเ่ ด็กไม่กล้าแสดงออก เป็นผลให้เกิดความล้มเหลวในการเรียนการ งาน
  • 11. 6. กลัวความล้มเหลว ในกรณีที่เด็กแสดงออกถึงความโดดเด่น ผู้คนใกล้ชิดก็มักจะคาดหวัง หรือโดยนิสัยพื้นฐานเด็กกลุ่มนี้มีรสนิยม ทางปัญญา สูงกว่าปกติอยู่แล้ว มีแนวโน้มที่จะทาอะไรสมบูรณ์ ไม่มีที่ติอยู่แล้ว เลยทาให้หลีกเลี่ยงสถานการณ์ล้มเหลวหลายๆอย่าง 7. ขาดสมาธิ หรือที่เรียกกันทางวิชาการว่า โรคสมาธิบกพร่อง ที่เป็นโรคฮิตอันดับแรกกับเด็กทั่วไปทั้งเด็กปกติและเด็กพิเศษ 8. ทางานไม่ค่อนเสร็จ มีความคิดดีๆ พูดอะไรเข้าใจรวดเร็ว คิดเก่ง คิดไว แต่พอลงมือทาไม่ค่อยอดทนทาให้สาเร็จ
  • 12. ประเภทของเด็กอัจฉริยะ ความสามารถทางอารมณ์ เป็นทักษะและความสามารถที่เราจาเป็นต้องใช้ในการ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในการติดต่อสื่อสาร ทาความเข้าใจ คนที่มี ความสามารถทางสังคมจะมีความสามารถที่จะเข้าใจผู้อื่น เร็วต่อ ความรู้สึกของผู้อื่น เข้าใจภาษากาย มีความสามารถในการ บริหารจัดการ ควบคุมอารมณ์ตนเอง เข้าใจเกี่ยวกับความรู้สึก ของตนเอง รับรู้ภาวะทางอารมณ์ของตนเอง ความอดกลั้นอดทน ทางอารมณ์ได้ดี รวมถึงความสามารถในการแสดงออกอย่าง ถูกต้องเหมาะสมตามกาลเทศะ นอกเหนือไปจากการมองเห็น และเข้าใจทัศนะของคนอื่นได้ดี คนที่มีความสามารถทางด้าน มนุษยธรรมจะมีความ
  • 13. ความสามารถทางกีฬา เป็นความสามารถในการควบคุม กล้ามเนื้อ ควบคุมการเคลื่อนไหว ความ ยืดหยุ่น ทั้งกล้ามเนื้อเล็กและกล้ามเนื้อ ใหญ่ รวมถึงการใช้กล้ามเนื้อร่างกาย ในการแสดงออกถึงความรู้สึกหรือ ความคิด เช่น นักกีฬา นาฏศิลป์ นักแสดง นักปั้น
  • 14. ความสามารถทางศิลปะ เป็นความสามารถสร้างมิติประมวลความคิด หรือสร้างความคิด จากการเห็นในรูปแบบต่างๆ ในความคิด เช่น ความสามารถในการพลิก หมุนภาพที่เห็นเป็นมุมต่างๆ มองเห็นภาพต่างๆ อย่างทะลุปรุโปร่ง เช่น กลุ่มศิลปินที่สามารถรังสรรค์จากการเห็นให้เป็นผลงานที่เป็นนามธรรม ความงดงาม หรือเป็นตัวแทนของ ความรู้สึกนึกคิด เช่น กลุ่มศิลปิน นัก ประดิษฐ์
  • 15. ความสามารถทางวิทยาศาสตร์ เป็นความสามารถในการสังเกต วิเคราะห์ พิสูจน์ คัดแยก ศึกษา อธิบาย รวมถึง เขาใจในปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ หรือการ เกิดปรากฏการณ์สิ่งต่างๆ ทางธรรมชาติ ความสามารถในการมองเห็นโครงสร้างของ ระบบธรรมชาติ ความเข้าใจในความสัมพันธ์ และผลกระทบที่จะเกิด เช่น ความสัมพันธ์ ระหว่างพืช - สัตว์ เช่น นักวิทยาศาสตร์ นักธรรมชาติวิทยา เกษตรกร นักวิจัย นัก ภูมิศาสตร์
  • 16. ความสามารถทางภาษา เป็นความสามารถในการทาความ เข้าใจความหมายทางภาษา การใช้ภาษาใน รูปแบบต่างๆ เพื่อมาถ่ายทอดความคิด จินตนาการ ความรู้ อารมณ์หรือความดื่มด่า ลึกซึ้งทางความคิด อารมณ์ ตลอดจน จินตนาการอันหลากหลายที่อาจเป็น ความสามารถในการใช้ภาษาทางด้านการ เขียนหรือการพูด เช่น นักเขียน นักแปล นักภาษาศาสตร์ จินตกวี นักพูด โฆษก
  • 17. ความสามารถทางช่างเทคนิคและ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นความสามารถในการรับรู้เรียนรู้ เกี่ยวกับเครื่องจักรกลที่ต้องใช้ทักษะกลไกใน เรื่องของอุปกรณ์และการทางานของ เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ หรือเครื่องมือต่างๆ สามารถมองเห็น องค์ประกอบ หรือการทางานของอุปกรณ์ สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ อย่างรวดเร็ว ง่ายดาย เช่น ช่าง นักอิเล็กทรอนิกส์ มีทักษะในการใช้ตา ประสาน ประกอบอุปกรณ์หรือสร้าง ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ได้อย่างดี
  • 18. ความสามารถทางการคิด คือ ความสามารถในการเรียนรู้ จดจา วิเคราะห์สังเคราะห์ จินตนาการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้า และ ระยะยาว การมองเห็น ความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นนามธรรมหรือรูปธรรม รวมทั้งความสามารถ ในการประมวลความคิดรูปแบบ ต่างๆ เพื่อตอบสนองสถานการณ์ได้อย่าง เหมาะสม ตัวอย่างคนที่มีความสามารถด้านนี้ ได้แก่ นักคิด นักวางแผน นักประดิษฐ์
  • 19. ความสามารถทางดนตรี เป็นความสามารถในการรับรู้ทางการได้ยินที่ละเอียดอ่อน เฉียบไว ถ่ายโยงความสามารถในการรับรู้ทางการได้ยินที่ลึกซึ้ง ทั้งความสูงต่าของเสียง ความถี่ ของเสียง จังหวะของเสียงไปสู่จิตใจ อารมณ์ความรู้สึกนึกคิดมา ถักทอเป็นรูปแบบทาง ความสามารถที่เกี่ยวข้องกับเสียง เช่น ดนตรี การร้องเพลง การแต่งเพลง การพากย์ หนัง การเลียนเสียงสัตว์ หรือผู้ที่ฝึกนกเขาชวา หรือตัดสินความสามารถในการขันของ นกเขาชวา ต้องมีความสามารถในการรับรู้ทางเสียงที่เฉียบคม เป็นต้น
  • 20. ความต้องการพิเศษ เด็กปัญญาเลิศ เป็นเด็กที่เรียนสิ่งต่างๆ ได้รวดเร็ว ดังนั้น หากเนื้อหา และวิธีการสอนที่ใช้กับเด็กปกติ จึงมักทา ให้เด็กเหล่านี้เบื่อง่าย เพราะไม่ท้าทายความคิด หากครูไม่ เข้าใจก็จะกลายเป็นเด็กที่มีปญหา ก่อกวนความสงบสุขของ ั ชั้นไปได้ ทางโรงเรียนจึงควรจัดบริการสอนเสริมให้กับเด็ก ซึ่งอาจทาในรูปของ
  • 21. 1) การจัดชั้นพิเศษ โดยคัดแยกเด็กเก่งมาเรียนในกลุ่ม เดียวกัน และจัดหลักสูตรพิเศษให้สอดคล้องกับความสนใจและ ความสามารถของเด็ก 2) การสอนเร่ง เป็นการเรียนหลักสูตรปกติในเวลาที่ น้อยลง เช่น การเรียนข้ามชั้น ควบชั้น เป็นต้น 3) การสอนเพิ่ม เป็นการเสริมความรู้และประสบการณ์ ของเด็กให้กว้างขวางและลึกซึ้งมากขึ้น นอกเหนือจาก กิจกรรมใน ชั้นเรียน และ / หรือให้โอกาสได้ฝึกฝนเล่าเรียนในแขนงวิชาที่เด็ก มีความถนัดเป็นพิเศษ
  • 22. วิธีสอนเด็กปัญญาเลิศในชั้นเรียนร่วม มีดังนี้ 1. การเรียนรู้แบบรู้แจ้ง ให้เด็กได้มีโอกาส เรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน ตามระดับความสามารถของเด็ก โดยไม่มีการเร่งรัดเกี่ยวกับเวลามากนัก ให้เด็กเรียนไปเรื่อย ๆ ตามความสามารถ จนกระทั่งเด็กเรียนด้วยตนเองครบ หน่วยของเนื้อหาที่ครูกาหนด 2. การจัดหลักสูตรให้กะทัดรัด มุ่งเน้นให้เด็ก ได้มุ่งเรียนในเนื้อหาวิชาที่เป็นจุดสาคัญจริง ๆ ในบางครั้ง จึงจาเป็นต้องตัดกิจกรรมการเรียนบางอย่างออกไป เมื่อครู เห็นว่าเด็กมีทักษะแล้ว แต่ครูจะต้องแน่ใจว่าเด็กมีพื้นฐาน แล้ว จึงจะเรียนเนื้อหาวิชาที่ยากขึ้นได้
  • 23. 3. การคิดเชิงวิจารณ์ สอนให้รู้จักคิด รู้จักใช้ เหตุผลก่อนตัดสินใจและไม่ได้หลงเชื่อใครง่าย ๆ 4. ศูนย์การเรียน เป็นการจัดมุมใดมุมหนึ่งให้เป็น มุมหรือศูนย์ที่เน้นเนื้อหาวิชาใดวิชาหนึ่งตามเนื้อหาใน หลักสูตร แล้วให้เด็กเข้าศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้ เด็กได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง 5. การคิดระดับสูงเป็นการเรียนรู้ตามแนวความคิดของ นักการศึกษาชาวอเมริกัน ชื่อ Benjamine Bloom จะสอน ให้เด็กนาไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผล 6. การศึกษาด้วยตัวเอง เป็นการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ในแนวลึก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องที่เด็กให้ความสนใจอย่างมาก แต่ครูจะต้องคอยให้คาแนะนาเด็ก
  • 24. 7. การฝึกงานกับผู้ชานาญงาน เป็นการส่งเด็กปัญญาเลิศไปฝึกงาน กับผู้ที่มีความรู้ ความสามารถในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นพิเศษ 8. การสอนเร่ง เป็นการเรียนเนื้อหาที่ยากขึ้น เกินกว่าที่กาหนดไว้ใน หลักสูตร 9. การสอนเสริม เป็นการสอนตามเนื้อหาเดิมแต่กิจกรรมอาจมีมาก ขึ้น ทั้งแนวลึกและแนวสร้างสรรค์ 10. การข้ามชั้น เป็นการเลื่อนชั้นเรียนให้สูงขึ้น
  • 25. 11. การเข้าเรียนก่อนเกณฑ์ 12. การเรียนตามความสามารถของตนเอง เป็นการให้ เรียนด้วยตนเองเป็นชุด ๆ ตามความสามารถของเด็ก ไม่มีการ กาหนดเวลา จะเรียนกี่ชุดหรือทุกชุดก็ได้ 13. การเข้าเรียนในระดับมหาวิทยาลัยเมื่ออายุยังน้อย หากระเบียบการต่าง ๆ เปิดกว้างกว่านี้ 14. การเรียนทางไปรษณีย์ 15. การเรียนล่วงหน้า เป็นการอนุญาตให้นักเรียนในระดับ มัธยมปลายเข้าไปเลือกเรียนบางรายวิชาในระดับมหาวิทยาลัยได้ และ เก็บสะสมหน่วยกิตไว้ เมื่อเด็กเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยจริง จะช่วยให้ เด็กเรียนจบระดับมหาวิทยาลัยเร็วขึ้น
  • 26. 16. การแก้ปัญหา เป็นการฝึกให้เด็กแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้น ทั้งการเรียน และสังคม เป็นการสอนให้เด็กรู้จักการวิเคราะห์ ปัญหาว่าปัญหาเกิดมาจากอะไร มีที่มาอย่างไร 17. การจัดหลักสูตรฉบับย่อ เป็นการจัดหลักสูตรที่ เข้มข้น เพื่อให้เรียนในเวลาที่สั้นลง 18. การนับหน่วยกิตโดยการสอบ เป็นการสอบโดยที่เด็ก ไม่ต้องมาเรียน ให้เด็กเรียนด้วยตนเองที่บ้าน เมื่อสิ้นภาคเรียนให้เด็กเข้า สอบ และเก็บสะสมหน่วยกิตไว้ เมื่อหน่วยกิต ครบตามหลักสูตรก็ถือว่า สาเร็จการศึกษา
  • 27. 19. การทาสัญญา เป็นการทาสัญญาที่มีการลงนามเป็นลายลักษณ์อักษร ภายในจะต้องมีจุดมุ่งหมายชัดเจน มีขอบข่ายเนื้อหาวิชาที่เด็กจะต้องรู้ภายในเวลาที่ กาหนด และเด็กต้องนาเนื้อหาวิชามาเสนอครู เมื่อสัญญาสิ้นสุดลง 20. ความคิดสร้างสรรค์ เป็นการ สอนและส่งเสริมให้เด็กใช้ความคิด จินตนาการ ควรตั้งคาถามให้ปลายเปิด ที่มีคาตอบมากมาย ให้อิสระแก่เด็ก ไม่ควร ตาหนิหรือลงโทษเด็ก ควรมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาเสียก่อน จึงจะสามารถใช้วิธี ประยุกต์และสร้างสรรค์เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาที่เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 29. จัดทำโดย นางสาวนฤมล อมรศักดิ์สวัสดิ์ รหัส 118 นางสาวเบญจรัตน์ มีฉลาด รหัส 121 นางสาวปาริฉตร ั ด้วงบุญมา รหัส 124 นางสาวรุ่งนภา ด่านอินถา รหัส 135 นายวิทยา นามณี รหัส 137 สาขาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์