Anzeige

ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม

Community Pharmacist um NinePharmacy Drugstore
28. Oct 2014
Anzeige

Más contenido relacionado

Presentaciones para ti(20)

Similar a ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม(20)

Anzeige

Más de Rachanont Hiranwong(20)

Último(20)

Anzeige

ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม

  1. ระบบยา และงานบริบาลเภสัชกรรม
  2. ระบบยา
  3. คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัด 1.นพ.ณรงค์ศักดิ์ เอกวัฒนกุลประธานกรรมการ 2.นพ.ชาญชัย ลิ้มธงเจริญกรรมการ 3.นพ.อิสเรศ อัศวเมธาพันธ์กรรมการ 4.พญ.ศิริลักษณ์ พนมเชิงกรรมการ 5.พญ.พัชรินทร์ สุเมธวทานิยกรรมการ 6.นพ.ณัฐพลวงศ์วิวัฒน์กรรมการ 7.ทพ.บุญชัยวงษ์ไทยวรรณกรรมการ 8.นางนันทวัน จิตต์แย้มกรรมการ 9.ภญ.พรรณเพ็ญ วัจนเจริญกรรมการ 10.ภก.รชานนท์ หิรัญวงษ์กรรมการ 11.ภญ.สุกัญญา สวัสดิ์พานิชกรรมการและเลขานุการ 12.ภก.ปรัชญา พัชรวรกุลชัย กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
  4. คณะกรรมการพัฒนาระบบยา 1.นพ.ชาญชัย ลิ้มธงเจริญประธานกรรมการ 2.นพ.ณัฐพล วงศ์วิวัฒน์รองประธานกรรมการ 3.ภญ.พรรณเพ็ญ วัจนเจริญกรรมการ 4.ภก.ปรัชญา พัชรวรกุลชัย กรรมการ 5.ภก.รชานนท์ หิรัญวงษ์กรรมการ 6.น.ส.กรชนกสหเจนสีดากรรมการ 7.นางเกษรา รุ่งโรจน์กรรมการ 8.นส.ขวัญฤทัย พึ่งผลกรรมการ 9.นส.สธีกานติ์ ตันติราพันธ์กรรมการ 10.นางอังคนา โม้แซงกรรมการ 11.นส.อุมาพร นพตากุลกรรมการ 12.น.ส.อรณภาเกตุมาลัยกรรมการ 13.นางสุมาลีเชื้อพันธุ์กรรมการ 14.นส.ประยงค์ ทับทิมกรรมการ 15.นางกชภัท วงศ์ทองเกื้อกรรมการ 16.นางนาติยาพลละครกรรมการ 17.นางธัญพรทาเนียบกรรมการ 18.ภญ.สุกัญญา สวัสดิ์พานิชกรรมการและเลขานุการ
  5. ภาพรวมระบบยา การคัดเลือก และจัดหายา การสั่งใช้ยา การเตรียมยา และการจ่ายยา การบริหารยา การติดตาม การใช้ยา คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัด ทาหน้าที่กาหนดบัญชียา และส่งเสริมให้มี การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล คณะกรรมการพัฒนาระบบยา ทาหน้าที่ดูแล และวางระบบยาให้เกิดความปลอดภัย ป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา และเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยา
  6. บทบาทและหน้าที่ ร่วมกันวางแนวทางปฏิบัติงาน กาหนดข้อตกลง และนาไป ถ่ายทอดสู่ผู้ปฏิบัติงาน ส่งเสริมการรายงานอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นในหน่วยงาน ร่วมกันทบทวนอุบัติการณ์ หรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยา ที่เกิดขึ้น เพื่อกาหนดแนวทางการป้องกัน ร่วมกันแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับระบบยา
  7. ระบบงานสาคัญของระบบยา Adverse drug reactions (ADRs) High Alert Drugs (HAD) Drug use evaluation (DUE) Medication Error (ME) การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพย์ติดให้โทษ
  8. ระบบงานอื่นๆ ของระบบยา การสารองยาที่หอผู้ป่วย การบันทึกใบ MAR Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs
  9. Adverse drug reactions (ADRs) 1.พบผู้ป่วยที่เกิดอาการน่าสงสัยว่าแพ้ยา 2.ส่งพบเภสัชกรเพื่อซักประวัติ หรือ Notify ให้เภสัชกรมา ซักประวัติ (ในกรณีที่ผู้ป่วยเดินไม่ได้) พยาบาล ณ แผนกฉุกเฉิน หรือผู้ป่วยนอก
  10. Adverse drug reactions (ADRs) 1.พบผู้ป่วยที่เกิดอาการน่าสงสัยว่าแพ้ยา 2.แจ้งแพทย์ >แพทย์พิจารณาว่าน่าจะเกิดการแพ้ยา 3.Notify ให้เภสัชกรมาซักประวัติ > รับ Sticker แพ้ยา จากเภสัชกร จานวน 4ใบ (หากผู้ป่วยแพ้ยา) 4.พยาบาลนา Sticker ดังกล่าวไปติดที่ Doctor Order Sheet, หน้า Chart, ใบ MAR (ยากิน และยาฉีด) พยาบาล ณ หอผู้ป่วย
  11. Adverse drug reactions (ADRs) 1.ซักประวัติ 2.ออกบัตรแพ้ยา 3.ลงข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ 4.เขียนผลสรุปลงใน Progress Note หรือ ใบนาส่ง 5.ส่งเคส และแจก Sticker แพ้ยาให้กับพยาบาล 4ใบ (สาหรับผู้ป่วยใน) เภสัชกร
  12. Adverse drug reactions (ADRs) ตัวอย่างการติดสติ๊กเกอร์แพ้ยาที่ Doctor order sheet
  13. High Alert Drugs (HAD) ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) คือ กลุ่มยาที่ มีโอกาสที่จะเกิดอันตรายแก่ ผู้ป่วยเพราะมีดัชนีการ รักษาที่แคบ หรือมี ผลข้างเคียงร้ายแรง ต่อ อวัยวะสาคัญ เช่น สมอง หัวใจ ไต ฯลฯ
  14. High Alert Drugs (HAD) รายการยา High Alert
  15. High Alert Drugs (HAD) การสั่งจ่ายยา High Alert ไม่มีการสั่งยาทางโทรศัพท์ การสั่งจ่ายต้องเขียนโดยลายมือแพทย์ ไม่ใช้ตัวย่อในการสั่งจ่ายยา ต้องเขียนด้วยตัวเต็มเสมอ
  16. Drug use evaluation (DUE) การประเมินการใช้ยา (Drug Use Evaluation: DUE) เป็นระบบติดตาม เฝ้าระวัง และประเมินการใช้ยา เพื่อ ประกันคุณภาพ การรักษาผู้ป่วย ให้มีความถูกต้อง เหมาะสม ตามเกณฑ์มาตรฐาน กลุ่มยาบัญชี ง. ยาบัญชี จ.(2) และยาที่ปริมาณการใช้ ยาสูงหรือยาราคาแพง
  17. Drug use evaluation (DUE) รายการยาที่ต้องทา DUE
  18. Drug use evaluation (DUE) ใบ DUE
  19. Medication Error (ME) เมื่อพบเหตุการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาทั้งจากหน่วยงานอื่น และจากบุคลากรในหน่วยงานเอง ให้บันทึกในแบบฟอร์มที่ กาหนดไว้ รวบรวมรายงานทุกสิ้นเดือนส่งที่ห้องจ่ายยาผู้ป่วยใน ภายใน วันที่ 5 เขียนแบบรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงส่งกรรมการความเสี่ยง A –C ภายใน 1เดือน D –F ภายใน 1สัปดาห์ G –I ภายใน 24ชั่วโมง
  20. การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพย์ติดให้โทษ ยาเสพติดจะมีการสารองไว้ 3จุด ที่ห้องยาผู้ป่วยใน, ห้อง ฉุกเฉิน และหอผู้ป่วย ยาเสพติดทุกชนิดจะต้องอยู่ในลิ้นชักที่มีแม่กุญแจล็อก ในลิ้นชักยาเสพติด ต้องไม่มีวัสดุ สิ่งของอื่นอยู่ด้วย นอกจาก สมุดควบคุม/ตรวจสอบปริมาณยา (สมุด OK) ใบ ยส.5 และ ใบ Monitor
  21. การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพย์ติดให้โทษ ลิ้นชักเก็บยาเสพย์ติด
  22. การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพย์ติดให้โทษ กุญแจตู้ยาเสพติดจะต้องเก็บรักษาโดย In Charge (หอผู้ป่วย, ห้องฉุกเฉิน) หรือ เภสัชกร(ห้องยา) เท่านั้น การเบิกยาเสพติดจากห้องยา ต้องใช้ Amp ที่ใช้แล้วร่วมกับ ใบ ยส.5เท่านั้น ใบ ยส.5จะต้องมีการเซ็นชื่อ 3จุด คือ แพทย์ผู้สั่ง, พยาบาล ผู้บริหารยา/ทิ้งยา และพยาน โดยผู้ให้ยาจะต้องเขียนว่า ใช้ ยาไป.....mg ทิ้ง....mg พร้อมเซ็นชื่อกากับทั้งผู้ให้ยาและ พยาน ผู้เห็นเหตุการณ์
  23. การควบคุมวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพย์ติดให้โทษ ใบ ยส.5 จะใช้ 1 ใบ ต่อจานวนการสั่งใช้ ฉีด กี่ครั้ง ก็ต้องมีใบ ยส.5เท่ากับจานวนครั้งที่ฉีด โดยในแต่ละใบจะต้อง ระบุชื่อ สกุล, HN และ ข้อมูลอื่นๆ ให้ครบถ้วน
  24. การสารองยาที่หอผู้ป่วย มีการกาหนดรายการยาสารองของหน่วยงานต่างๆ ให้มีเฉพาะรายการยาที่จาเป็น หอผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง ศัลยกรรมชาย หอผู้ป่วยอายุรกรรมหญิง อายุรกรรมชาย หอผู้ป่วยพิเศษ 5,6และ 7 ห้องคลอด ห้องหลังคลอด หอผู้ป่วยเด็ก เด็กแรกเกิด ห้องผ่าตัด ห้องฉุกเฉิน ห้อง treatment OPD
  25. การสารองยาที่หอผู้ป่วย เมื่อใช้แล้วให้นายาที่ได้จากห้องยามาใส่คืน มีการตรวจสอบจานวนคงเหลือทุกเวร ห้องยาทาการเยี่ยมสารวจการสารองยาทุก 2เดือน เพื่อเปลี่ยนยาที่ใกล้หมดอายุ หรือพบว่าเสื่อมสภาพ และตรวจสอบสถานที่เก็บรักษายาให้เป็นไปตาม มาตรฐาน
  26. การสารองยาที่หอผู้ป่วย กล่องยาฉุกเฉินสาหรับใช้ภายในโรงพยาบาล
  27. การสารองยาที่หอผู้ป่วย กล่องยาฉุกเฉินสาหรับใช้ที่รถ EMS/refer
  28. การบันทึกใบ MAR ใบ MAR สาหรับยารับประทานและยาใช้ภายนอก ใช้หมึกสี น้าเงินใบ MAR สาหรับยาฉีด ยาพ่น และน้าเกลือ ใช้หมึกสี แดง(ยกเว้นห้องคลอดไม่ต้องแยกใบ MAR) การลงเวลาให้ยาให้ลงในช่องลงชื่อผู้บริหารยา โดยเขียนหลัก ชั่วโมงไว้ เมื่อบริหารยาแล้ว จึงเขียนหลักนาทีเป็นเวลาที่ บริหารจริง ยาที่ต้องให้ทางหลอดเลือดควรให้ภายใน 30นาที ยารูปแบบรับประทานควรให้ภายใน 1ชั่วโมง ยาที่จาเป็นต้องให้ตรงตามเวลา (real time) คือ กลุ่มยาต้าน ไวรัส (Antiretroviral drugs)
  29. การบันทึกใบ MAR ใบ Medication administration record (MAR)
  30. Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs ยาที่มีลักษณะคล้ายกัน ยาที่มีชื่อเรียกใกล้เคียงกัน ยาที่มีหลายความแรง
  31. Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs ยาที่มีลักษณะคล้ายกัน (Look Alike) Ranitidine กับ Simeticone
  32. Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs ยาที่มีลักษณะคล้ายกัน (Look Alike) Tolperisone กับ Naproxen
  33. Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs ยาที่มีชื่อเรียกใกล้เคียงกัน (Sound Alike) Lorazepam กับ Loratadine
  34. Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs ยาที่มีชื่อเรียกใกล้เคียงกัน (Sound Alike) Dopamine กับ Dobutamine
  35. Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs ยาที่มีหลายความแรง (Sound Alike) ASA 300 mg VS ASA 81 mg Ampicillin 250 mg VS Ampicillin 1 g Propranolol 10 mg VS Propranolol 40 mg
  36. Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs แนวทางการป้องกันโดยห้องยา
  37. Look Alike Sound Alike (LASA) Drugs แนวทางการป้องกันโดยห้องยา
  38. งานบริบาลเภสัชกรรม
  39. งานบริบาลเภสัชกรรม งานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยใน งานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยนอก งานเภสัชกรรมปฐมภูมิ
  40. งานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยใน Medication Reconcile Renal Dosage adjustment Chronic care Total Parenteral Nutrition (TPN) Extemporaneous preparation of eye drops
  41. Medication Reconcile
  42. Medication Reconcile Medication Reconciliation form
  43. Medication Reconcile รายการยาเดิมใน MITNET
  44. Renal Dosage Adjustment
  45. Renal Dosage Adjustment
  46. Renal Dosage Adjustment
  47. Chronic care Compliance Counseling ประเมินการใช้ยาเทคนิคพิเศษ ค้นหา DRPs Discharge Counseling
  48. Chronic care
  49. Total Parenteral Nutrition เตรียม TPN สาหรับผู้ป่วยเด็ก
  50. Extemporaneous preparation of eye drops เตรียมยาหยอดตาสาหรับ ผู้ป่วยเฉพาะราย AmikacinED CefazolinED Amphotericin B ED Dexamethasone ED 10%Phenylephrine + 1%Tropicamide eye drop
  51. Extemporaneous preparation of eye drops
  52. งานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยนอก Ambulatory care HIV clinic TB clinic Warfarin clinic DM clinic Asthma/COPD clinic
  53. งานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยนอก
  54. งานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยนอก
  55. งานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยนอก
  56. งานเภสัชกรรมปฐมภูมิ
  57. งานเภสัชกรรมปฐมภูมิ
Anzeige