Anzeige

Medication reconciliation slide

Community Pharmacist um NinePharmacy Drugstore
30. Nov 2011
Anzeige

Más contenido relacionado

Presentaciones para ti(20)

Destacado(20)

Anzeige

Similar a Medication reconciliation slide(20)

Anzeige

Último(20)

Medication reconciliation slide

  1. Medication Reconciliation ภก. รชานนท์ หิรัญวงษ์
  2. Outline  กระบวนการ medication reconciliation  ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น และแนวทางแก้ไข  แนวทางการดาเนินการ  ปัจจัยสู่ความสาเร็จ  Medication Reconciliation ในโรงพยาบาลบางละมุง
  3. เคยพบกับเหตุการณ์เหล่านี้หรือไม่  ผู้ป่วยไม่ได้รับยารักษาโรคประจาตัวอย่างต่อเนื่อง เนืองจาก ่ แพทย์คัดลอกยาตกหล่น หรือสือสารกับผู้ป่วย และญาติไม่ ่ เข้าใจ  ผู้ป่วยกินยาซ้าซ้อนเพราะไม่ทราบว่าแพทย์สั่งเปลี่ยนยาแล้ว  ผู้ป่วยรับยาซ้าซ้อนเพราะซือยากินเองหรือรับยามาจาก ้ สถานพยาบาลอื่น  ผู้ป่วยไม่ได้รับยาที่แพทย์สั่งหยุดชั่วคราวก่อนเข้ารับการผ่าตัด หรือทาหัตถการบางอย่าง
  4. ตัวอย่างเหตุการณ์  ผู้ป่วยในลืมยาที่บ้าน แพทย์ดูจากประวัติ ได้เปลี่ยนยา จาก Simvastatin เป็น Atorvastatin และเนื่องจากมี ค่า INR 4 จึงจ่าย Warfarin 2 mg. แทนที่ เคย ได้รับ 3 mg. อยู่ ภายหลังจาหน่ายผู้ป่วยออกจาก โรงพยาบาล แล้วกลับมาในอีก 1 สัปดาห์ ด้วยอาการเปลี้ย และมีจ้าเลือดบริเวณท้องแขน เป็นวงกว้าง พบว่าผู้ป่วย รับประทานยาที่บ้านร่วมด้วย เนื่องจากเห็นว่าแตกต่าง และรับรู้ว่า ยาที่กินมีความสาคัญห้ามหยุด
  5. ตัวอย่างเหตุการณ์  ผู้ป่วยอุบัติเหตุ กระดูกหัก admit ใน แผนกศัลยกรรม กระดูก พบว่าอีก 3 วันระดับ น้าตาลสูงกว่า 250 mg.% มาทราบภายหลังว่า เป็น ผู้ป่วยเบาหวาน และไม่ได้ รับประทานยาลดระดับน้าตาล ในเลือดตลอด 3 วันที่อยู่ใน โรงพยาบาล
  6. ตัวอย่างเหตุการณ์  แพทย์สั่งหยุดยา Metformin ก่อนผ่าตัด ภายหลังการผ่าตัด ผู้ป่วย ไม่ได้รับยาเป็นเวลา 1 สัปดาห์ ทาให้ระดับ น้าตาลเพิ่มสูงขึ้นกว่า 250 mg.%
  7.  การเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา เกิดขึ้นได้ในทุกจุดของการให้บริการใน โรงพยาบาล กว่าครึ่งหนึ่งเกิดขึ้นที่รอยต่อของ การให้บริการ ประมาณ 20% มีสาเหตุมาจาก การส่งต่อข้อมูลคลาดเคลื่อนหรือไม่ครบถ้วน ซึ่งสามารถป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นได้
  8.  JCAHO พบว่า sentinel events ที่มีสาเหตุ มาจากความคลาดเคลื่อนทางยานั้น มากกว่า ครึ่งมีสาเหตุมาจากการสื่อสาร แม้จะไม่ใช่ สาเหตุโดยตรงทั้งหมด แต่ก็มีส่วนเกี่ยวข้อง และกว่าครึ่งหนึ่งสามารถหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิด ได้หากมีระบบ medication reconciliation ที่มีประสิทธิภาพ
  9.  Medication reconciliation ได้ถูกเลือกเป็น กระบวนการแรกที่จะลดการเกิดเหตุการณ์ไม่ พึงประสงค์จากการใช้ยา  JCAHO ได้กาหนดให้เป็น National Patient safety Goal ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 เรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน
  10.  สาหรับประเทศไทย สถาบันรับรองคุณภาพ สถานพยาบาล (สถาบันพัฒนาและรับรอง คุณภาพโรงพยาบาลเดิม) ได้ประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2549 ให้กระบวนการ Medication reconciliation เป็นส่วนหนึ่งในการรับรอง คุณภาพโรงพยาบาลเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
  11. Medication Reconciliation  เป็นกระบวนการเปรียบเทียบและประสานรายการ ยาระหว่างรายการยาที่ผู้ป่วยรับประทานอยู่อย่าง ต่อเนื่องก่อนเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลกับ รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับเมื่อแรกรับ รวมทั้งเมื่อ ผู้ป่วยย้ายแผนก ย้ายหอผู้ป่วย หรือเมื่อถูก จาหน่ายกลับบ้าน
  12. ขั้นตอนของ Medication Reconciliation  Verification รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับอย่าง ต่อเนื่อง  Clarification ให้มั่นใจว่ายาและขนาดที่ผู้ป่วย ได้รับนั้นถูกต้อง
  13. ขั้นตอนของ Medication Reconciliation  Reconciliation เปรียบเทียบรายการยาที่ผู้ป่วย ได้รับเมื่อแรกรับกับรายการยาที่ได้รับอย่าง ต่อเนื่อง บันทึกการเปลี่ยนแปลงพร้อมเหตุผล  Transmission สื่อสารรายการยาที่ผู้ป่วยได้รับ ล่าสุดกับตัวผู้ป่วยเอง ผู้ดูแล และส่งต่อรายการยา ดังกล่าวไปยังสถานพยาบาลที่ผู้ป่วยจะไปรับการ รักษาต่อ
  14. ข้อมูลในต่างประเทศ  ร้อยละ 42 ถึงร้อยละ 61 ของผู้ป่วยที่เข้ามานอน รักษาตัวในโรงพยาบาลไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่อย่าง ต่อเนื่องตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป  จุดที่จะเกิดปัญหามาก ได้แก่ ผู้ป่วยที่ผ่านเข้าทาง ห้องฉุกเฉิน หรือเข้ารับการผ่าตัด
  15. ความคลาดเคลื่อนที่กระบวนการนี้ช่วยได้  การไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่อย่างต่อเนื่อง  การที่ไม่ได้หยุดยาบางตัวก่อนเข้ารับการทา หัตถการบางอย่าง  การที่ไม่ได้รับยาที่เคยใช้อยู่ต่อหลังจากแพทย์สั่ง หยุดใช้ชั่วคราว
  16. ความคลาดเคลื่อนที่กระบวนการนี้ช่วยได้  กรณีที่ผู้ป่วยใช้ยาซ้าซ้อนเพราะไม่ทราบว่าแพทย์สั่ง เปลี่ยนยาแล้ว  การที่ผู้ป่วยยังใช้ยาในขนาดเดิมต่อไปทั้งที่แพทย์ สั่งปรับขนาดแล้ว  การได้รับยาซ้าซ้อนกับยาที่ผู้ป่วยซื้อใช้เอง หรือรับ จากสถานพยาบาลอื่น
  17. ปัญหาและอุปสรรค  ภาระงาน อัตรากาลังในปัจจุบัน  ไม่ชัดเจนว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบกระบวนการใน ภาพรวม  ไม่มีกระบวนการมาตรฐานในการเก็บข้อมูลการใช้ ยาของผู้ป่วยให้ได้ครบถ้วน  ไม่มีทักษะในการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้ข้อมูลจาก ผู้ป่วยหรือญาติ  จะสื่อสารกันอย่างไรในระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง
  18. การเริ่มต้น  กระบวนการนี้เป็นความรับผิดชอบร่วมกันของ แพทย์ เภสัชกร และพยาบาล  ผู้บริหารโรงพยาบาลต้องมีนโยบายที่ชัดเจนในเรื่อง นี้และนาลงสู่การปฏิบัติ โดยผ่านทาง คณะกรรมการ PTC และ/หรือ PCT
  19. นโยบายที่ควรกาหนด  คาจากัดความและความครอบคลุม  กาหนดกรอบเวลาที่จะต้องทากระบวนการนี้ให้ เสร็จ  กาหนดข้อมูลที่ต้องบันทึก  กาหนดแหล่งที่มาของข้อมูลดังกล่าว  กาหนดขั้นตอนการดาเนินการ  กาหนดแบบฟอร์มที่ใช้ในระยะแรก  กาหนดช่วงเวลาทดลองและประเมินผลเป็นระยะ
  20. รูปแบบความรับผิดชอบ  รูปแบบที่ 1 พยาบาลบันทึกรายการยาที่ผูปวยใช ตอเนื่อง แพทยดูเปรียบเทียบกับรายการยาที่สั่ง เมื่อแรกรับ เภสัชกรทวนสอบรายการยาในแบบ บันทึก เพื่อดูวามีการแก้ไขหรือไม อยางไร เปนการยืนยัน วากระบวนการไดเกิดขึ้นสมบูรณ แลว
  21. รูปแบบความรับผิดชอบ  รูปแบบที่ 2 พยาบาลเป็นผู้หาข้อมูลรายการยาที่ ผู้ป่วยใช้อย่างต่อเนื่องและบันทึกลงในแบบฟอร์ม เภสัชกรเปรียบเทียบกับรายการยาแรกรับ เมื่อพบ ความแตกต่างให้ปรึกษาแพทย์ แพทย์ทบทวน รายการยา จะเปลี่ยนแปลงหรือยืนยันคาสั่งเดิม ให้ลงชื่อ เป็นอันจบกระบวนการ หากแพทย์ไม่ ทบทวนภายในระยะเวลาที่กาหนด ให้พยาบาล ติดต่อแพทย์
  22. รูปแบบความรับผิดชอบ  รูปแบบที่ 3 เภสัชกรประจาหอผู้ป่วยเป็นผู้หา ข้อมูลยาที่ผู้ป่วยใช้อย่างต่อเนื่อง เปรียบเทียบกับ รายการยาแรกรับ เมื่อพบความแตกต่าง ให้ ปรึกษาแพทย์ ซึ่งแพทย์จะต้องทบทวนรายการยา ภายในกรอบเวลาที่กาหนด หากแพทย์ยังไม่ได้ ทบทวนให้พยาบาลหรือเภสัชกรติดต่อแพทย์
  23. ข้อมูลที่ควรบันทึก  ยาที่ผู้ป่วยรับประทานอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งยาที่ ซื้อใช้เอง สมุนไพร อาหารเสริม วิตามิน เป็นต้น  ยาที่รับประทานมื้อสุดท้าย ขนาดเท่าใด เมื่อไหร่  ข้อมูลการแพ้ยา อาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงที่ เคยเกิดขึ้น
  24. แหล่งข้อมูล  ยาที่ผู้ป่วยนามาจากบ้าน  การสัมภาษณ์ ผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล  ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล  สมุดประจาตัวผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับเมื่อออกจากโรงพยาบาล  รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับจากแผนกผู้ป่วยนอก  เวชระเบียน
  25. แบบบันทึก
  26. แบบบันทึก
  27. กรอบเวลาที่กาหนด  JCAHO กาหนดให้รวบรวมข้อมูลให้เสร็จภายใน 24 ชั่วโมง ยกเว้นยาบางกลุ่มที่ต้องสอบถามผู้ป่วย ให้เสร็จภายใน 4 ชั่วโมง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยา ทันเวลา เช่น Antibiotics, Insulin, Inhaler, Antiepileptic เป็นต้น
  28. ขั้นตอนในการทา medication reconcile
  29. การประเมินผล  Discrepancy (ร้อยละ): ความแตกต่างของ รายการยาปัจจุบันกับรายการยาตอนแรกรับ โดย ยึดถือว่ารายการที่มีการเปลี่ยนแปลงสิ่งใด สิ่งหนึ่ง ต่อไปนี้คือ ชนิดยา ขนาดยา ความแรงยา วิธีใช้ รูปแบบยา และระยะห่างการใช้ยาไป จะถือว่าเป็น ความแตกต่าง
  30. Discrepancy (ร้อยละ): รายการยาทีแตกต่าง 2 รายการจาก 6 รายการคิดเป็น Discrepancy ร้อยละ 33 ่
  31. การประเมินผล  Unintentional discrepancy (รายการยาต่อ ผู้ป่วย): แพทย์ไม่ได้ตั้งใจเปลี่ยนแปลงยาที่ผู้ป่วย เคยได้รับ แต่เป็นความผิดพลาด
  32. Unintentional discrepancy (รายการยาต่อผู้ป่วย) รายการยาทีไม่มคาสังยืนยันการใช้ตอ เปลียนแปลง หรือหยุดยา 1 รายการจาก 7 ่ ี ่ ่ ่ รายการคิดเป็น Unintentional Discrepancy ร้อยละ 14
  33. การประเมินผล  Medication reconciliation success index (ร้อยละ): สัดส่วนของรายการยาที่ไม่มีความ แตกต่าง และรายการยาที่แตกต่างแต่เกิดจาก ความตั้งใจของแพทย์ในขั้นตอนรับเข้า กับจานวน รายการยาทั้งหมด
  34. Medication reconciliation success index (ร้อยละ) รายการยาที่ไม่มความแตกต่าง และรายการยาทีแตกต่างแต่เกิดจากความตังใจ ี ่ ้ ของแพทย์ 6 รายการจากทังหมด 6 รายการ คิดเป็น medication ้ reconciliation index ร้อยละ 100
  35. การประเมินผล  Potential harm (ร้อยละ): ร้อยละของผู้ป่วยที่พบ ความแตกต่างของรายการยาที่เกิดจากความไม่ ตั้งใจของผู้สั่งใช้ยาอย่างน้อย 1 รายการ (มี Unintentional discrepancy) ต่อจานวนผู้ป่วย ทั้งหมด
  36. Potential harm (ร้อยละ) มีรายการยาทีไม่มคาสังยืนยันการใช้ต่อ เปลียนแปลง หรือหยุดยา 1 รายการ ถือว่าเป็น ่ ี ่ ่ Potential harm
  37. การประเมินผล  Undocumented intentional discrepancy (ร้อยละ): แพทย์ตั้งใจเปลี่ยนชนิดของยา ปรับ ขนาดที่รับประทาน หรือหยุดยา แต่ไม่ได้บันทึกไว้
  38. Undocumented intentional discrepancy (ร้อยละ) มีรายการยาทีมคาสั่งยืนยันการใช้ตอ เปลียนแปลง หรือหยุดยา แต่ไม่ได้บนทึกเหตุผล ่ ี ่ ่ ั ไว้ 1 รายการ จากยาทังหมด 6 รายการ คิดเป็น Undocumented intentional ้ discrepancy ร้อยละ 17
  39. การประเมินผล  Drug – related problem/discrepancy (ปัญหาต่อรายการ): พิจารณาผลลัพธ์ที่ตัวผู้ป่วย เป็นสาคัญ
  40. สรุป  กระบวนการ medication reconciliation เป็น เรื่องของสหสาขาวิชาชีพ มิใช่เป็นเพียงการทา เอกสาร แต่ควรทาด้วยความรู้สึกห่วงใยในผู้ป่วย อย่างแท้จริง ตระหนักถึงความคลาดเคลื่อนที่มัก เกิดขึ้นตรงรอยต่อของกระบวนการรักษา ผลลัพธ์ จึงจะออกมาสมบูรณ์ สามารถลดเหตุการณ์ไม่พึง ประสงค์จากการใช้ยาได้
  41. ปัจจัยสู่ความสาเร็จ  นโยบายและแนวทางการดาเนินงานชัดเจน  สื่อสารและอบรมผู้ปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง  แบบฟอร์มง่ายต่อการบันทึกและสื่อสาร  เริ่มปฏิบัติที่ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น มีโรคประจาตัว ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคมะเร็ง เพื่อเริ่มต้นกระบวนการ เรียนรู้
  42. ปัจจัยสู่ความสาเร็จ  เริ่มต้นจากผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด ผู้ป่วยที่รับเข้า จากห้องฉุกเฉิน ซึ่งเป็นจุดเสี่ยงที่ข้อมูลการใช้ยา อาจตกหล่นได้  ประเมินผล และปรับกระบวนการจนพอใจใน ผลลัพธ์แล้วจึงขยายผล
  43. Medication Reconciliation ใน รพ. บางละมุง
  44. ปี 2551: จุดเริ่มต้น  ทาเฉพาะผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหญิง ยังไม่มีการส่งต่อ ข้อมูลไปยังจุดอื่น  เก็บข้อมูลอย่างเดียว ทาแค่ verification และ clarification  Consult แพทย์ในกรณีที่เป็นยาที่จาเป็นเช่น ยา กันชัก และยาต้านไวรัส
  45. ผลงาน
  46. ผลงาน
  47. ปัญหาทีพบ ่  ผู้ป่วยใช้ยาต้านไวรัส และยาป้องกันการติดเชื้อ ฉวยโอกาสอยู่ เมื่อมาเข้ารับการรักษาได้นายามา ด้วย แต่แพทย์ที่ดูแลไม่ได้สั่งใช้ยาให้ผู้ป่วย  ผู้ป่วยมีโรคประจาตัวเช่น ไทรอยด์ ความดันโลหิต สูง และไขมันในเลือดสูง ได้นายามาด้วย แต่แพทย์ ที่ดูแลไม่ได้สั่งใช้ยาให้ผู้ป่วย จนกระทั่งผู้ป่วยถูก จาหน่ายออกจากโรงพยาบาล
  48. ปัญหาทีพบ ่  ผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง มารับยาแต่ละตัว คนละครั้งกัน แล้วแพทย์สั่งใช้ยาเฉพาะครั้งล่าสุด ที่มารับยา ทาให้ได้รับยาโรคความดันโลหิตสูงไม่ ครบ  ผู้ป่วยบางคนไม่ได้รับประทานยาตามที่ระบุไว้ใน ฉลาก ปรับ ลดขนาดยาตามใจตนเอง ในบางรายที่ ใช้ประวัติจากคอมพิวเตอร์อย่างเดียว ทาให้ได้ ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องมา
  49. ปัญหาทีพบ ่  ผู้ป่วยสูงอายุจากสถานสงเคราะห์ มักจะจาไม่ได้ว่า รับประทานยาอะไรอยู่บ้าง และเจ้าหน้าที่สถาน สงเคราะห์ มักจะไม่ทราบข้อมูลการใช้ยาของผู้ป่วย  การดาเนินกิจกรรมติดตามผู้ป่วยยังทาได้ไม่ ต่อเนื่อง เนื่องจากไม่มีการโฟกัสกลุ่มผู้ป่วย ทาให้ จานวนผู้ป่วยที่ต้องติดตามมีมากเกิน
  50. ปี 2552: การเปลี่ยนแปลง  ทาทั้งผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหญิง และชาย แต่ยังไม่มี การส่งต่อข้อมูลไปยังจุดอื่น  ขอความร่วมมือจากองค์กรแพทย์ และบุคลากรที่ เกี่ยวข้องผ่านการประชุมระบบยา  คัดเลือกผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังเช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดผิดปกติ เป็นต้น
  51. ผลงาน
  52. ผลงาน
  53. ปัญหาทีพบ ่ จากระบบเวชระเบียนอิเล็กโทรนิคของโรงพยาบาล (MITNET)  หน้ารายการยาไม่รองรับการใส่คาสั่งหยุดใช้ยา ทา ให้แพทย์ต้องทาการบันทึกคาสั่งหยุดใช้ยาในหัวข้อ อื่นเช่น อาการที่มา ทาให้แพทย์ที่เข้ามาดูประวัติ ท่านอื่น สั่งใช้ยาที่สั่งหยุดไปแล้ว เนื่องจากไม่เห็น คาสั่งหยุดใช้ยา
  54. ปัญหาทีพบ ่ จากระบบเวชระเบียนอิเล็กโทรนิคของโรงพยาบาล (MITNET)  เนื่องจากการมารับยาของผู้ป่วยแต่ละครั้ง ไม่ได้ เป็นการรับยาที่ใช้อยู่ทั้งหมด เพราะยาบางตัวยัง เหลืออยู่ ทาให้ประวัติที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ไม่ ช่วยเหลือในการสืบค้นหารายการยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่ ล่าสุด
  55. ปัญหาทีพบ ่ จากตัวผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล  การสัมภาษณ์ผู้ป่วย และญาติเพื่อหาประวัติการใช้ ยาเดิม มีปัญหาในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว มีปัญหา ในการสื่อสาร และไม่มีญาติ  ผู้ป่วยไม่เอายาที่ใช้อยู่มาโรงพยาบาล และไม่ สามารถบอกได้ว่าใช้ยาอะไรอยู่บ้าง
  56. ปัญหาทีพบ ่ จากตัวผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล  ผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่มีรายการยาเป็นจานวนมาก มัก เป็นผู้สูงอายุทาให้เกิดอุปสรรคในการสัมภาษณ์ เพื่อหาประวัติการใช้ยาเดิม เนื่องจากผู้ป่วยมีความ ทรงจาที่ถดถอย จึงไม่สามารถบอกได้ว่าใช้ยาอะไร อยู่บ้าง ถึงแม้ว่าจะเอาตัวอย่างยาจากโรงพยาบาล ให้ดูก็ตาม
  57. ปัญหาทีพบ ่ จากแพทย์และพยาบาล  แพทย์ไม่ให้ความร่วมมือในการทา medication reconciliation โดยการออกคาสั่งกับรายการยาที่ สืบค้นมาได้ และลงชื่อรับทราบรายการยา ทาให้ เกิดปัญหากับตัวชี้วัดดังที่กล่าวไปในข้างต้น  พยาบาลไม่ได้ช่วยเหลือติดตามแพทย์มารับทราบ รายการยา
  58. แนวทางการแก้ไข  สร้างระบบจัดเก็บรายการยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่ล่าสุด ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงได้  เพิ่มการทา medication reconciliation ทุกจุด บริการไม่จากัดอยู่แค่ตอนรับเข้าเป็นผู้ป่วยใน  รณรงค์ให้ผู้ป่วยนายาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันติดตัวมา โรงพยาบาลทุกครั้ง  ขอความร่วมมือแพทย์และพยาบาล ในการทา medication reconciliation
  59. บทเรียนที่ได้รับ  ควรทาทีละน้อย แต่ต่อเนื่อง ถ้าไม่พร้อมก็ไม่ต้อง ขยายให้ครอบคลุมทั่วทั้งรพ. ให้เลือกกลุ่มที่คิดว่า เกิดปัญหามากที่สุดก่อน  ความร่วมมือของสหสาขาวิชาชีพเป็นสิ่งสาคัญ ถ้า ทาแต่ฝ่ายเภสัชกรรมฝ่ายเดียว โอกาสที่จะทาได้ สาเร็จมีอยู่น้อย  สมุดประจาตัวผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีการบันทึกอย่าง สมบูรณ์ จะช่วยในการค้นหาข้อมูลการใช้ยาได้มาก
  60. บทเรียนที่ได้รับ  ระบบคอมพิวเตอร์ที่ดี จะช่วยในการค้นหาข้อมูล การใช้ยาได้มากเหมือนกัน  ความเข้าใจในสาเหตุ และความสาคัญของงานนี้ จะช่วยเพิ่มความร่วมมือจากสหสาขาวิชาชีพได้  การจัดการกับยาเดิมที่คนไข้นามาจากบ้านเป็น เรื่องสาคัญอีกเรื่องหนึ่ง จะจัดการอย่างไรควรให้ ทราบและเข้าใจตรงกันทุกฝ่าย
  61. Thank You
Anzeige