SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 20
Downloaden Sie, um offline zu lesen
67


ว21101
วิชา วิทยาศาสตร์
ชั้น ม. 1 ภาคเรียนที่ 1

1.	 จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์	 จำนวน 15 หน่วยกิต
2.	 หนังสือเรียนที่ใช้ในการเรียน
	 -	 แบบเรียน	 วิทยาศาสตร์ 1
	 	 ผู้แต่ง	 	 สสวท.
	 	 สำนักพิมพ์	 องค์การค้า สกสค.
3.	 ผู้เขียนคู่มือครู
	 	 ชื่อ นายสัญญลักษณ์ โสณายะ	 ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝ่ายบริการ
	 	 สถานที่ทำงาน	 โรงเรียนวังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110
	 	 	 	 โทรศัพท์ 08-9254-3830
68
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง

สาระที่ 1	 	 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา 

รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้
ตัวชี้วัด
	 1.	 ว 8.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9
สาระที่ 2	 	 สารรอบตัว
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
	 1.	 ว 3.1 ม.1/1 ม.1/2
	 2.	 ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2
สาระที่ 3	 	 สารละลาย
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารการเกิดละลายการเกิด
ปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ตัวชี้วัด
	 1.	 ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
สาระที่ 4	 	 สารละลายกรดและเบส
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
	 1.	 ว 3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4
69
หน่วยที่
 ชื่อหน่วยการเรียนรู้
 มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ/
ความคิดรวบยอด
เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนัก
คะแนน
1
 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร
 ว8.1 
ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3,
ม.1/4,ม.1/5,ม.1/6,
ม.1/7,ม.1/8
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
จิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้
การแก้ปัญหาสามารถอธิบายภายใต้
ข้อมูลที่มีอยู่ขณะนั้น
15
 15
2
 สารรอบตัว
 ว3.1ม.1/1
ว3.2ม.1/2,ม.1/3
เข้าใจสมบัติของสารแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาคการเปลี่ยนสถานะ
การเกิดปฏิกิริยาและนำไปใช้
15
 15
สอบกลางภาค
 20
3
 สารละลาย
 ว3.2ม.1/1,ม.1/2,
ม.1/3
เข้าใจหลักการและธรรมชาติของ
การเปลี่ยนสถานะของสาร 
การเกิดสารละลายการเกิดปฏิกิริยา 
และการนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์
13
 15
4
 สารละลายกรดและเบส
 ว3.1ม.1/2,ม.1/3,
ม.1/4
เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์
ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง
และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
และนำไปใช้ประโยชน์
17
 15
สอบปลายภาค
 20
รวมตลอดภาคเรียน
 100
โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554

จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง
70
กำหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม
รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554

จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง
ครั้งที่
 วัน/เดือน/ปี
 จำนวน
ชั่วโมง
เรื่องที่สอน
 ผลการเรียนรู้
ข้อที่
สิ่งที่ร.ร.ปลายทาง
ต้องเตรียม(ครู/นักเรียน)
1
 18พ.ค.54
09.30-11.30น.
2
 แนะนำการเรียนรู้/วิทยาศาสตร์คืออะไร
กระบวนการของวิทยาศาสตร์
ว8.1ม.1/1, 
ม.1/2,ม.1/8
กิจกรรม1.1
2
 19พ.ค.54
09.30-10.30น.
1
 กระบวนการของวิทยาศาสตร์
 ว8.1ม.1/2, 
ม.1/3
อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรมที่1.2และ1.3
3
 25พ.ค.54
09.30-11.30น.
2
 กระบวนการของวิทยาศาสตร์/ 
ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์
ว8.1ม.1/2, 
ม.1/3
อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรมที่1.4
4
 26พ.ค.54
09.30-10.30น.
1
 ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์
 ว8.1ม.1/1, 
ม.1/2,ม.1/3,
ม.1/4
อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรมที่1.5และ1.6
5
 1มิ.ย.54
09.30-11.30น.
2
 ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์
เครื่องมือและอุปกรณ์ช่วยวิทยาศาสตร์
ว8.1ม.1/3,
ม.1/4,ม.1/5
อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรมเสริมร้อนเย็น
6
 2มิ.ย.54
09.30-10.30น.
1
 เครื่องมือและอุปกรณ์ช่วยวิทยาศาสตร์
(การเปลี่ยนอุณหภูมิโดยใช้สูตร)
ว8.1ม.1/3,
ม.1/4,ม.1/5

7
 8มิ.ย.54
09.30-11.30น.
2
 วิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้เมื่อเครื่องมือ
อุปกรณ์เปลี่ยนไป
ว8.1ม.1/4,
ม.1/5
อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม1.7ลอย-จม
8
 9มิ.ย.54
09.30-10.30น.
1
 การหาความหนาแน่นจากกิจกรรมลอย-จม
 ว8.1ม.1/1,
ม.1/8

9
 15มิ.ย.54
09.30-11.30น.
2
 การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 ว8.1ม.1/1,
ม.1/8

10
 16มิ.ย.54
09.30-10.30น.
1
 แบบฝึกหัดท้ายบท
 ว8.1ม.1/1,
ม.1/8

11
 22มิ.ย.54
09.30-11.30น.
2
 สถานะของสาร
 ว3.2ม.1/3
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม2.1
12
 23มิ.ย.54
09.30-10.30น.
1
 สถานะของสาร
 ว3.2ม.1/2
71
ครั้งที่
 วัน/เดือน/ปี
 จำนวน
ชั่วโมง
เรื่องที่สอน
 ผลการเรียนรู้
ข้อที่
สิ่งที่ร.ร.ปลายทาง
ต้องเตรียม(ครู/นักเรียน)
13
 29มิ.ย.54
09.30-11.30น.
2
 ความร้อน
 ว3.2ม.1/2
 
14
 30มิ.ย.54
09.30-10.30น.
1
 ความร้อน
 ว3.2ม.1/2
 
15
 6ก.ค.54
09.30-11.30น.
2
 อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ
 ว3.2ม.1/2
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม2.2
16
 7ก.ค.54
09.30-10.30น.
1
 อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ
 ว3.2ม.1/2
 
17
 13ก.ค.54
09.30-11.30น.
2
 การถ่ายโอนความร้อน(การพาความร้อน)
การถ่ายโอนความร้อน(การนำความร้อน)
ว3.2ม.1/2
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม2.3และ2.4
18
 14ก.ค.54
09.30-10.30น.
1
 การดูดซับความร้อนที่ผิวมีสีต่างกัน
 ว3.2ม.1/1
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม2.5
19
 20ก.ค.54
09.30-11.30น.
2
 การจัดกลุ่มสารตามลักษณะ
และขนาดของอนุภาค
ว3.2ม.1/1
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม2.6
20
 21ก.ค.54
09.30-10.30น.
1
 แบบฝึกหัดท้ายบท
 ว3.1ม.1/1
ว3.2ม.1/2,
ม.1/3

21
 27ก.ค.54
09.30-11.30น.
2
 องค์ประกอบของสารละลาย
การละลายของสารในตัวทำละลาย
ว3.2ม.1/2
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม3.1และ3.2
22
 28ก.ค.54
09.30-10.30น.
1
 การละลายของสารในตัวทำละลาย
 ว3.2ม.1/2
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม3.2ตอน2
23
 3ส.ค.54
09.30-11.30น.
2
 ตัวละลายเป็นของแข็งตัวทำละลายเป็น
ของเหลว
ว3.2ม.1/2
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม3.3
24
 4ส.ค.54
09.30-10.30น.
1
 ตัวละลายและตัวทำละลายเป็นของเหลว
 ว3.2ม.1/3
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม3.4
กำหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม
รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554

จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง
72
ครั้งที่
 วัน/เดือน/ปี
 จำนวน
ชั่วโมง
เรื่องที่สอน
 ผลการเรียนรู้
ข้อที่
สิ่งที่ร.ร.ปลายทาง
ต้องเตรียม(ครู/นักเรียน)
25
 10ส.ค.54
09.30-11.30น.
2
 ตัวละลายและตัวทำละลายเป็นของเหลว
 ว3.2ม.1/3
 
26
 11ส.ค.54
09.30-10.30น.
1
 พลังงานกับการละลายของสาร
การละลายของสารบางชนิด
ว3.2ม.1/2
 
27
 17ส.ค.54
09.30-11.30น.
2
 ปัจจัยที่มีผลต่อการละลาย
 ว3.2ม.1/3
 
28
 18ส.ค.54
09.30-10.30น.
1
 คำถามท้ายบท
 ว3.2ม.1/2,
ม.1/3

29
 24ส.ค.54
09.30-11.30น.
2
 การทดสอบความเป็นกรดและเบสของสาร
สมบัติบางประการของกรดและเบส
ว3.1ม.1/3
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม4.1และ4.2
30
 25ส.ค.54
09.30-10.30น.
1
 สมบัติบางประการของกรดและเบส
 ว3.1ม.1/3
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม4.2ตอน2
31
 31ส.ค.54
09.30-11.30น.
2
 อินดิเคเตอร์ตรวจสอบความเป็นกรดและเบส
 ว3.1ม.1/4
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม4.3
32
 1ก.ย.54
09.30-10.30น.
1
 pHของสารละลายกรดและเบส
 ว3.1ม.1/4
 
33
 7ก.ย.54
09.30-11.30น.
2
 pHของสารละลายกรดและเบส
ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบส
ว3.1ม.1/4
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม4.4
34
 8ก.ย.54
09.30-10.30น.
1
 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบส
 ว3.1ม.1/4
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม4.4
35
 14ก.ย.54
09.30-11.30น.
2
 กรดและเบสในชีวิตประจำวัน
(ยาลดกรดมีสมบัติอย่างไร)
ว3.1ม.1/4
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม4.5
36
 15ก.ย.54
09.30-10.30น.
1
 กรดและเบสในชีวิตประจำวัน
(ยาลดกรดมีสมบัติอย่างไร)
ว3.1ม.1/4
 
กำหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม
รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554

จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง
73
ครั้งที่
 วัน/เดือน/ปี
 จำนวน
ชั่วโมง
เรื่องที่สอน
 ผลการเรียนรู้
ข้อที่
สิ่งที่ร.ร.ปลายทาง
ต้องเตรียม(ครู/นักเรียน)
37
 21ก.ย.54
09.30-11.30น.
2
 สารทำความสะอาดที่ใช้กับร่างกาย
 
 อุปกรณ์ทดลอง
กิจกรรม4.6
38
 22ก.ย.54
09.30-10.30น.
1
 แบบฝึกหัดท้ายบท
 
 
39
 28ก.ย.54
09.30-11.30น.
2
 ทบทวน
 
 
36
 29ก.ย.54
09.30-10.30น.
1
 ทบทวน
 
 
กำหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม
รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554

จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง
74
ผังมโนทัศน์
รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 
จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
วิ
ท
ย
า
ศ
า
ส
ต
ร์
1
เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร
-	 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
-	 ลักษณะสำคัญทางวิทยาศาสตร์
-	 เครื่องมือและอุปกรณ์
-	 เปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีเครื่องมือและอุปกรณ์เปลี่ยนแปลงไป
-	 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีผลต่อโลกอย่างไร
สารรอบตัว
-	 สถานะของสาร	 -	 ความร้อน
-	 สารละลาย	 -	 สารละลายกรดและเบส
สารละลาย
-	 การละลายของสารในตัวทำละลาย	 
-	 ความเข้มข้นของสารละลาย
-	 พลังงานกับการละลายของสาร
สารละลายกรดและเบส
-	 สมบัติของสารละลายกรดและสารละลายเบส	 
-	 การตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
-	 pH ของสารละลายกรดและเบส
75
หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ผู้สอน นายสัญญลักษณ์ โสณายะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร เวลา 3 ชั่วโมง
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
สาระที่ 1	 	 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา 

รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่
ในช่วงนั้นๆ
ตัวชี้วัด
	 1.	 ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็น หรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ สร้างสมมติฐาน เลือกเทคนิค
สำรวจตรวจสอบ
	 2.	 จัดทำข้อมูล วิเคราะห์ สร้างแบบจำลอง สร้างคำถาม บันทึกและอธิบายผลการสังเกต เขียนรายงาน

โครงงาน
2.	 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้มีการค้นคว้าความรู้โดยการทำงานเป็นระบบอย่างมีขั้นตอน การสังเกต
สมมติฐาน การเก็บข้อมูล การสร้างคำอธิบาย การสรุปผลการทดลอง การฝึกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ 

ให้ตระหนักความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และนำไปใช้อย่างสร้างสรรค์
3.	 สาระการเรียนรู้
การทำกิจกรรมเพื่อค้นหาความรู้โดยการทำงานเป็นระบบอย่างมีขั้นตอน การสังเกต การตั้งสมมติฐาน การเก็บ
ข้อมูลสร้างคำอธิบาย การสรุปผลการทดลอง การฝึกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ วิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้เมื่อเครื่องมือ
เปลี่ยนแปลงไป ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และถูกนำไปใช้อย่างสร้างสรรค์หรือทำลายเกิดจากการกระทำของมนุษย์
ทั้งสิ้น นักเรียนควรมีศีลธรรมเป็นตัวกำกับ ทั้งนี้เพื่อประโยชน์สุขของมวลมนุษย์และเพื่อโลกที่สวยงามต่อไป
4.	 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.	 ความสามารถในการสื่อสาร
2.	 ความสามารถในการคิด
3.	 ความสามารถในการแก้ปัญหา
4.	 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.	 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
76
5.	 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.	 ใฝ่เรียนรู้
2.	 มีวินัย
3.	 มีจิตสาธารณะ
6.	 ชิ้นงาน/ภาระงาน
1.	 การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
	 -	 ไข่เก่า ไข่ใหม่
	 -	 ใบพัดมหัศจรรย์
	 -	 ไข่จมไข่ลอย
	 -	 ร้อนหรือเย็น
2.	 สมุดบันทึกการเรียนตามสภาพจริง และการค้นหาทางอินเทอร์เน็ต
7.	 การวัดและประเมินผล
1.	 คะแนนจากการสอบเก็บคะแนนในบทเรียน
2.	 คะแนนจากการบันทึกสมุดการเรียนตามสภาพจริง
3.	 คะแนนจากการค้นคว้าระหว่างเรียน
8.	 กิจกรรมการเรียนรู้
	 1.	 การนำเข้าสู่บทเรียน โดยใช้แผนภาพ คำถามต่างๆ กราฟ รูปภาพหรือการทบทวนในบทเรียนที่ผ่านมาโดย
อภิปรายระหว่างนักเรียนกับครู
	 2.	 การทดลองไข่เก่าไข่ใหม่ การทดลองไข่ตั้งไข่นอน การทดลองใบพัดมหัศจรรย์ การทดลองร้อนหรือเย็น
	 3.	 บันทึกผลการทดลองและอภิปรายผล
	 4.	 สรุปผลการทดลอง
9.	 สื่อการเรียนรู้
1.	 แผนภาพ จันทรุปราคา-สุริยุปราคา ปรากฏการณ์ดาวตก สิ่งที่เห็นด้วยตา
2.	 แผนภูมิรูปแท่งจำนวนนักเรียน ม.1
3.	 อุปกรณ์การทดลอง ไข่เก่า ไข่ใหม่ ใบพัดมหัศจรรย์ ไข่จม-ไข่ลอย กิจกรรมร้อนหรือเย็น
4.	 สื่อ Computer Program Power Point
77
10.	เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
ประเด็นการประเมิน
ระดับคุณภาพ
4 (ดีมาก)
 3 (ดี)
 2 (พอใช้)
 1 (ปรับปรุง)
สมุดบันทึกการเรียน
ตามสภาพจริง
บันทึกเรียบร้อย
วาดภาพระบายสี
ทุกกิจกรรม
มีการบันทึกเรียบร้อย
วาดระบายสีภาพ
ขาดเป็นบางกิจกรรม
มีการบันทึกเรียบร้อย
พอใช้ ไม่วาดภาพ
ขาดเป็นบางกิจกรรม
มีการบันทึกไม่
เรียบร้อย ไม่วาดภาพ
ขาดเกินครึ่ง ไม่มีภาพ
เลย
นำอุปกรณ์มาร่วม
การทำกิจกรรม
4 กิจกรรม
 3 กิจกรรม
 2 กิจกรรม
 1 กิจกรรม
78
หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ผู้สอน นายสัญญลักษณ์ โสณายะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สารรอบตัว เวลา 3 ชั่วโมง
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
สาระที่ 2	 	 สารรอบตัว
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิด
ปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ตัวชี้วัด
	 1.	 ทดลองจำแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์และอธิบายสมบัติของสารในแต่ละ
กลุ่ม
	 2.	 อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร
	 3.	 ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานของสารเมื่อการเปลี่ยนสถานะและเกิดการ
ละลาย
2.	 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การจำแนกสารใช้สมบัติทางกายภาพของสาร เช่น เนื้อสาร ขนาดอนุภาค สีรูปร่าง ความแข็ง ความหนาแน่น
จุดเดือด จุดหลอมเหลว การจัดเรียงระยะห่าง ระหว่างอนุภาค และแรงยึดเหนี่ยวเป็นเกณฑ์ ในการจำแนกการเปลี่ยน
สถานะและการถ่ายโอนพลังงานของสารมวลสารจะไม่เปลี่ยนแปลงเปลี่ยนแต่สมบัติทางกายภาพ
3.	 สาระการเรียนรู้
เมื่อใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์จำแนกสารได้เป็นสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม ซึ่งสารแต่ละกลุ่มจะมีสมบัติแตกต่าง
กัน เมื่อใช้ขนาดอนุภาคของสารเป็นเกณฑ์จำแนกสารเป็นสารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลาย ซึ่งสารแต่ละกลุ่ม
จะมีสมบัติแตกต่างกัน สี รูปร่าง ขนาด ความแข็ง ความหนาแน่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว เป็นสมบัติทางกายภาพของ
สาร สารในสถานะต่างๆ มีลักษณะการจัดเรียงอนุภาค ระยะห่างระหว่างอนุภาค และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค

แตกต่างกัน เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย มวลของสารจะไม่เปลี่ยนแปลง แต่สมบัติทางกายภาพ
เปลี่ยนแปลงรวมทั้งมีการถ่ายโอนพลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม
79
4.	 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.	 ความสามารถในการสื่อสาร
2.	 ความสามารถในการคิด
3.	 ความสามารถในการแก้ปัญหา
4.	 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.	 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.	 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.	 ใฝ่เรียนรู้
2.	 มีวินัย
3.	 มีจิตสาธารณะ
6.	 ชิ้นงาน/ภาระงาน
1.	 การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
	 -	 ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
	 -	 ผลของความร้อนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร
	 -	 อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ
	 -	 การพาความร้อน
	 -	 การนำความร้อน
	 -	 การดูดซับความร้อนของวัตถุที่มีสีต่างกัน
	 -	 การตรวจสอบขนาดของเนื้อสาร
2.	 สมุดบันทึกการเรียนรู้ตามสภาพจริงการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 7 กิจกรรม และการค้นหาทางอินเทอร์เน็ต
7.	 การวัดและประเมินผล
1.	 คะแนนจากการสอบเก็บคะแนนในบทเรียน
2.	 คะแนนจากการบันทึกสมุดการเรียนตามสภาพจริง
3.	 คะแนนจากการค้นคว้าระหว่างเรียน
8.	 กิจกรรมการเรียนรู้
	 1.	 การนำเข้าสู่บทเรียน โดยใช้แผนภาพ คำถามต่างๆ กราฟ รูปภาพหรือการทบทวนคำถามในบทเรียนที่

ผ่านมาร่วมกับสื่อรูปแบบ Power Point โดยอภิปรายระหว่างนักเรียนกับครู
	 2.	 การทดลองกิจกรรมการเรียนรู้
	 -	 ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
	 -	 ผลของความร้อนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร
	 -	 อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ
	 -	 การพาความร้อน
80
	 -	 การนำความร้อน
	 -	 การดูดซับความร้อนของวัตถุที่มีสีต่างกัน
	 -	 การตรวจสอบขนาดของเนื้อสาร ตามคู่มือการสอนของ สสวท.
	 3.	 บันทึกผลการทดลองและอภิปรายผลโดยใช้สื่อรูปแบบ Power Point
	 4.	 สรุปผลการทดลองโดยใช้สื่อรูปแบบ Power Point ร่วมอภิปราย
9.	 สื่อการเรียนรู้
	 1.	 แผนภาพ งานเทศกาลสงกรานต์ ภาพจำลองและการเปรียบเทียบอนุภาคของของแข็ง ภาพแบบจำลองและ
การเปรียบเทียบอนุภาคของของเหลว ภาพจำลองและการเปรียบเทียบอนุภาคของของแก๊ส ภาพโคมลอย
ภาพเรือเดินสมุทร ภาพเทอร์มอมิเตอร์แบบต่างๆ ภาพรอยต่อของสะพานจะมีช่องว่างเพื่อขยายตัว 

ภาพแสดงการเปลี่ยนสถานะของน้ำแข็ง เมื่อได้รับความร้อนจนถึงอุณหภูมิ 20 ํC ได้รับความร้อนจนเดือด
ภาพความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนสถานะของสาร ภาพห้องทำงานที่ติดเครื่องปรับอากาศ ภาพตรวจสอบ
ขนาดอนุภาคของสาร ภาพปรากฏการณ์ทินดอลล์ ภาพคอลลอยด์บางชนิด (ครีมสลัด)
	 2.	 ตารางความหนาแน่นของสาร ตารางการเปรียบเทียบสเกลเทอร์มอมิเตอร์ตามหน่วยอุณหภูมิ ตาราง
จุดหลอมเหลวและจุดเดือด
	 3.	 อุปกรณ์ การทดลองกิจกรรมการเรียนรู้
	 -	 ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
	 -	 ผลของความร้อนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร
	 -	 อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ
	 -	 การพาความร้อน
	 -	 การนำความร้อน
	 -	 การดูดซับความร้อนของวัตถุที่มีสีต่างกัน
	 -	 การตรวจสอบขนาดของเนื้อสาร ตามคู่มือการสอนของ สสวท.
	 4.	 สื่อคอมพิวเตอร์ โปรแกรม Power Point
10.	เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
ประเด็นการประเมิน
ระดับคุณภาพ
4 (ดีมาก)
 3 (ดี)
 2 (พอใช้)
 1 (ปรับปรุง)
สมุดบันทึกการเรียน
ตามสภาพจริง
บันทึกเรียบร้อย
วาดภาพระบายสี
ทุกกิจกรรม
มีการบันทึกเรียบร้อย
วาดระบายสีภาพ
ขาดเป็นบางกิจกรรม
มีการบันทึกเรียบร้อย
พอใช้ ไม่วาดภาพ
ขาดเป็นบางกิจกรรม
มีการบันทึกไม่
เรียบร้อย ไม่วาดภาพ
ขาดเกินครึ่ง ไม่มีภาพ
เลย
นำอุปกรณ์มาร่วม
การทำกิจกรรม
7 กิจกรรม
 5 กิจกรรม
 3 กิจกรรม
 น้อยกว่า 3 กิจกรรม
81
หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ผู้สอน นายสัญญลักษณ์ โสณายะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สารละลาย เวลา 3 ชั่วโมง
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
สสาระที่ 3		 สารละลาย
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิด
ปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ง และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
	 1.	 ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็นร้อยละ และอภิปรายการนำความรู้เกี่ยวกับ
สารละลายไปใช้ประโยชน์
	 2.	 ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานของสาร เมื่อมีการเปลี่ยนสถานะและเกิดการ
ละลาย
	 3.	 ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสารละลาย
2.	 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
	 -	 สารละลายประกอบด้วยตัวละลายและตัวทำละลาย ในชีวิตประจำวัน ได้มีการนำความร้อนเรื่องสารละลาย
ไปใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรม อาหาร การแพทย์ และด้านอื่นๆ
	 -	 เมื่อสารเกิดละลาย มวลของสารจะไม่เปลี่ยนแปลง แต่สมบัติทางกายภาพเปลี่ยนแปลงรวมทั้งมีการ

ถ่ายโอนพลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม
	 -	 อุณหภูมิ ความดัน ชนิดของสาร มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสาร
3.	 สาระการเรียนรู้
	 -	 สารละลายประกอบด้วยตัวละลายและตัวทำละลาย สารละลายที่ระบุความเข้มข้นเป็นร้อยละหมายถึง
สารละลายที่มีอัตราส่วนของปริมาณตัวละลาย ในชีวิตประจำวัน ได้มีการนำความร้อนเรื่องสารละลาย

ไปใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรม อาหาร การแพทย์ และด้านอื่นๆ
	 -	 เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย มวลของสารจะไม่เปลี่ยนแปลง แต่สมบัติทางกายภาพ
เปลี่ยนแปลงรวมทั้งมีการถ่ายโอนพลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม
	 -	 อุณหภูมิ ความดัน ชนิดของสาร มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสาร
82
4.	 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.	 ความสามารถในการสื่อสาร
2.	 ความสามารถในการคิด
3.	 ความสามารถในการแก้ปัญหา
4.	 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.	 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.	 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.	 ใฝ่เรียนรู้
2.	 มีวินัย
3.	 มีจิตสาธารณะ
6.	 ชิ้นงาน/ภาระงาน
1.	 การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
	 -	 องค์ประกอบของสารประกอบ
	 -	 การละลายของสาร
	 -	 การเตรียมสารละลายเป็นของแข็งและตัวทำละลายเป็นของเหลว
	 -	 การเตรียมสารละลายที่ตัวละลายและตัวทำละลายเป็นของเหลว
	 -	 การละลายของสารบางชนิด
2.	 สมุดบันทึกการเรียนรู้ตามสภาพจริงการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 5 กิจกรรม และการค้นหาทางอินเทอร์เน็ต
7.	 การวัดและประเมินผล
1.	 คะแนนจากการสอบเก็บคะแนนในบทเรียน
2.	 คะแนนจากการบันทึกสมุดการเรียนตามสภาพจริง
3.	 คะแนนจากการค้นคว้าระหว่างเรียน
8.	 กิจกรรมการเรียนรู้
	 1.	 การนำเข้าสู่บทเรียน โดยใช้แผนภาพ คำถามต่างๆ กราฟ รูปภาพหรือการทบทวนคำถามในบทเรียนที่

ผ่านมาร่วมกับสื่อรูปแบบ Power Point โดยอภิปรายระหว่างนักเรียนกับครู
	 2.	 การทดลองกิจกรรมการเรียนรู้
	 -	 องค์ประกอบของสารประกอบ
	 -	 การละลายของสาร
	 -	 การเตรียมสารละลายเป็นของแข็งและตัวทำละลายเป็นของเหลว
	 -	 การเตรียมสารละลายที่ตัวละลายและตัวทำละลายเป็นของเหลว
	 -	 การละลายของสารบางชนิด
83
	 3.	 บันทึกผลการทดลองและอภิปรายผลโดยใช้สื่อรูปแบบ Power Point
	 4.	 สรุปผลการทดลองโดยใช้สื่อรูปแบบ Power Point ร่วมอภิปรายประกอบรายการ
9.	 สื่อการเรียนรู้
	 1.	 แผนภาพ น้ำอัดลม ภาพเชลแล็กและเฟอร์นิเจอร์ที่ทาเชลแล็ก ภาพสารละลายเจือจางและสารละลาย

เข้มข้น ภาพเหรียญที่ระลึกแต่ละแบบมีส่วนผสมของโลหะแตกต่างกัน ภาพการใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย 

การปลูกพืชด้วยสารละลาย ใช้ทินเนอร์ละลายสารเพื่อใช้สำหรับทาเฟอร์นิเจอร์ น้ำเกลือสำหรับคนไข้ 

ภาพการเปลี่ยนแปลงพลังงานขณะเกิดการละลายประเภทคายความร้อน ภาพการแยกตัวของสารจาก
สารละลาย เมื่ออุณหภูมิลดลง ภาพน้ำอัดลม ภาพน้ำอัดลมเขย่าขวดก่อนขณะเริ่มเปิดฝาขวด ภาพลักษณะ
ของผลึก
	 2.	 ตารางการละลายของสาร
	 3.	 อุปกรณ์ การทดลองกิจกรรมการเรียนรู้
	 -	 องค์ประกอบของสารประกอบ
	 -	 การละลายของสาร
	 -	 การเตรียมสารละลายเป็นของแข็งและตัวทำละลายเป็นของเหลว
	 -	 การเตรียมสารละลายที่ตัวละลายและตัวทำละลายเป็นของเหลว
	 -	 การละลายของสารบางชนิด
	 4.	 สื่อคอมพิวเตอร์ โปรแกรม Power Point
10.	เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
ประเด็นการประเมิน
ระดับคุณภาพ
4 (ดีมาก)
 3 (ดี)
 2 (พอใช้)
 1 (ปรับปรุง)
สมุดบันทึกการเรียน
ตามสภาพจริง
บันทึกเรียบร้อย
วาดภาพระบายสี
ทุกกิจกรรม
มีการบันทึกเรียบร้อย
วาดระบายสีภาพ
ขาดเป็นบางกิจกรรม
มีการบันทึกเรียบร้อย
พอใช้ ไม่วาดภาพ
ขาดเป็นบางกิจกรรม
มีการบันทึกไม่
เรียบร้อย ไม่วาดภาพ
ขาดเกินครึ่ง ไม่มีภาพ
เลย
นำอุปกรณ์มาร่วม
การทำกิจกรรม
5 กิจกรรม
 4 กิจกรรม
 3 กิจกรรม
 น้อยกว่า 3 กิจกรรม
84
หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ผู้สอน นายสัญญลักษณ์ โสณายะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สารละลายกรดและเบส เวลา 3 ชั่วโมง
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
สาระที่ 4	 	 สารละลายกรดและเบส
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
	 1.	 ทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
	 2.	 ตรวจสอบค่า pH ของสารละลายและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
2.	 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวันอาจมีความเป็นกรด-เบสแตกต่างกัน จึงควรเลือกใช้ให้ถูกต้องปลอดภัยต่อ
ตนเองและสิ่งแวดล้อม สามารถทดสอบได้ด้วยกระดาษมัส หรือกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์
3.	 สาระการเรียนรู้
	 -	 สารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลายอาจจะมีสมบัติเป็นกรด กลาง หรือ เบส ซึ่งสามารถทดสอบได้ด้วย
กระดาษลิตมัส หรือกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์
	 -	 ความเป็นกรดและเบสของสารละลายระบุค่า pH ซึ่งตรวจสอบได้ด้วยเครื่องมือวัดค่า pH หรือ ยูนิเวอร์ซัล-

อินดิเคเตอร์ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวันอาจมีความเป็นกรด-เบสแตกต่างกัน จึงควรเลือกใช้ให้ถูกต้อง
ปลอดภัยต่อตนเองและสิ่งแวดล้อม
4.	 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.	 ความสามารถในการสื่อสาร
2.	 ความสามารถในการคิด
3.	 ความสามารถในการแก้ปัญหา
4.	 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.	 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
85
5.	 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.	 ใฝ่เรียนรู้
2.	 มีวินัย
3.	 มีจิตสาธารณะ
6.	 ชิ้นงาน/ภาระงาน
1.	 การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
	 -	 ทดสอบสารละลายกรดและสารละลายเบสในชีวิตประจำวัน
	 -	 สมบัติบางประการของสารละลายกรดและสารละลายเบส
	 -	 อินดิเคเตอร์ตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
	 -	 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบส
	 -	 ยาลดกรดมีสมบัติอย่างไร
	 -	 สารทำความสะอาดร่างกาย
2.	 สมุดบันทึกการเรียนรู้ตามสภาพจริงการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 6 กิจกรรม และการค้นหาทางอินเทอร์เน็ต
7.	 การวัดและประเมินผล
1.	 คะแนนจากการสอบเก็บคะแนนในบทเรียน
2.	 คะแนนจากการบันทึกสมุดการเรียนตามสภาพจริง
3.	 คะแนนจากการค้นคว้าระหว่างเรียน
8.	 กิจกรรมการเรียนรู้
	 1.	 การนำเข้าสู่บทเรียน โดยใช้แผนภาพ คำถามต่างๆ กราฟ รูปภาพหรือการทบทวนคำถามในบทเรียนที่

ผ่านมาร่วมกับสื่อรูปแบบ Power Point โดยอภิปรายระหว่างนักเรียนกับครูตั้งแต่กิจกรรมที่ 1-6
	 2.	 ทำกิจกรรมการเรียนรู้โดยทำการทดลอง
	 -	 ทดสอบสารละลายกรดและสารละลายเบสในชีวิตประจำวัน
	 -	 สมบัติบางประการของสารละลายกรดและสารละลายเบส
	 -	 อินดิเคเตอร์ตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
	 -	 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบส
	 -	 ยาลดกรดมีสมบัติอย่างไร
	 -	 สารทำความสะอาดร่างกาย
	 3.	 บันทึกผลการทดลองและอภิปรายผลโดยใช้สื่อรูปแบบ Power Point ตั้งแต่กิจกรรมที่ 1-6
	 4.	 สรุปผลการทดลองโดยใช้สื่อรูปแบบ Power Point ร่วมอภิปรายประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
86
9.	 สื่อการเรียนรู้
	 1.	 แผนภาพ การออกกำลังกาย ภาพสารละลายกรดและเบส ภาพประติมากรรมที่ทำจากหินปูนหรือหินอ่อน

เกิดการผุกร่อนจากฝนกรด ภาพลูกโป่งสวรรค์ ภาพกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ ภาพเครื่องมือวัดค่า
pH ภาพแสดงค่า pH ของสารตัวอย่างโดยใช้สารละลายยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ ภาพกรดและเบสในชีวิต
ประจำวัน ภาพยาลดกรด ภาพตัวอย่างเครื่องหมายอันตรายแสดงความเป็นอันตรายของสารตามระบบ
สากลขององค์การสหประชาชาติ
	 2.	 ตารางการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์บางชนิด
	 3.	 อุปกรณ์ การทดลองกิจกรรมการเรียนรู้
	 -	 ทดสอบสารละลายกรดและสารละลายเบสในชีวิตประจำวัน
	 -	 สมบัติบางประการของสารละลายกรดและสารละลายเบส
	 -	 อินดิเคเตอร์ตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
	 -	 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบส
	 -	 ยาลดกรดมีสมบัติอย่างไร
	 -	 สารทำความสะอาดร่างกาย
	 4.	 สื่อคอมพิวเตอร์ โปรแกรม Power Point
10.	เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
ประเด็นการประเมิน
ระดับคุณภาพ
4 (ดีมาก)
 3 (ดี)
 2 (พอใช้)
 1 (ปรับปรุง)
สมุดบันทึกการเรียน
ตามสภาพจริง
บันทึกเรียบร้อย
วาดภาพระบายสี
ทุกกิจกรรม
มีการบันทึกเรียบร้อย
วาดระบายสีภาพ
ขาดเป็นบางกิจกรรม
มีการบันทึกเรียบร้อย
พอใช้ ไม่วาดภาพ
ขาดเป็นบางกิจกรรม
มีการบันทึกไม่
เรียบร้อย ไม่วาดภาพ
ขาดเกินครึ่ง ไม่มีภาพ
เลย
นำอุปกรณ์มาร่วม
การทำกิจกรรม
6 กิจกรรม
 4 กิจกรรม
 3 กิจกรรม
 น้อยกว่า 3 กิจกรรม

Más contenido relacionado

Was ist angesagt?

แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 

Was ist angesagt? (20)

แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 

Ähnlich wie แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56

Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)Joie Petit
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนWichai Likitponrak
 
Plant morphology 2555 2 outline
Plant morphology 2555 2 outlinePlant morphology 2555 2 outline
Plant morphology 2555 2 outlineJoy Toujours
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานKobwit Piriyawat
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานKobwit Piriyawat
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555Teacher Sophonnawit
 
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressureหน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressureKruKan Thusshawoot
 
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์sasiton sangangam
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101Kobwit Piriyawat
 
โครงสร าง ค32101-1
โครงสร าง ค32101-1โครงสร าง ค32101-1
โครงสร าง ค32101-1Benjawan Martkamjan
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิตnang_phy29
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clil
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clilแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clil
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ClilWanida Keawprompakdee
 

Ähnlich wie แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56 (20)

13038713421595
1303871342159513038713421595
13038713421595
 
Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 
Plant morphology 2555 2 outline
Plant morphology 2555 2 outlinePlant morphology 2555 2 outline
Plant morphology 2555 2 outline
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555
 
อังกฤษม.2
อังกฤษม.2อังกฤษม.2
อังกฤษม.2
 
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressureหน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
 
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
 
โครงสร าง ค32101-1
โครงสร าง ค32101-1โครงสร าง ค32101-1
โครงสร าง ค32101-1
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต
 
CLIL lesson plan
CLIL lesson planCLIL lesson plan
CLIL lesson plan
 
Clill complete
Clill completeClill complete
Clill complete
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clil
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clilแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clil
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Clil
 
โครงงานกลุ่มที่ 4.doc
โครงงานกลุ่มที่ 4.docโครงงานกลุ่มที่ 4.doc
โครงงานกลุ่มที่ 4.doc
 

Mehr von dnavaroj

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisdnavaroj
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...dnavaroj
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559dnavaroj
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...dnavaroj
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2dnavaroj
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1dnavaroj
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)dnavaroj
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันdnavaroj
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 

Mehr von dnavaroj (20)

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 

Último

Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptxWeb_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptxnkrafacyberclub
 
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมWannisaThongnoi1
 
Tree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and ImplementationTree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and ImplementationPaulSombat
 
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdfCryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdfnkrafacyberclub
 
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionTeerawutSavangboon
 
inverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formularinverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formularTeerawutSavangboon
 

Último (7)

Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptxWeb_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
Web_Exploitation_Cyber_Operation_Contest.pptx
 
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม
 
Tree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and ImplementationTree and Graph Algorithms and Implementation
Tree and Graph Algorithms and Implementation
 
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdfCryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
Cryptography_Cyber_Operation_Contest.pdf
 
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimensionฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
ฺBasic vector algebra in 2 dimension and 3 dimension
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
 
inverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formularinverse matrix of cofactors adjoint formular
inverse matrix of cofactors adjoint formular
 

แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56

  • 1. 67 ว21101 วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้น ม. 1 ภาคเรียนที่ 1 1. จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 15 หน่วยกิต 2. หนังสือเรียนที่ใช้ในการเรียน - แบบเรียน วิทยาศาสตร์ 1 ผู้แต่ง สสวท. สำนักพิมพ์ องค์การค้า สกสค. 3. ผู้เขียนคู่มือครู ชื่อ นายสัญญลักษณ์ โสณายะ ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝ่ายบริการ สถานที่ทำงาน โรงเรียนวังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110 โทรศัพท์ 08-9254-3830
  • 2. 68 มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง สาระที่ 1 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร มาตรฐานการเรียนรู้ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ตัวชี้วัด 1. ว 8.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 สาระที่ 2 สารรอบตัว มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไป ใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1. ว 3.1 ม.1/1 ม.1/2 2. ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 สาระที่ 3 สารละลาย มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารการเกิดละลายการเกิด ปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1. ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 สาระที่ 4 สารละลายกรดและเบส มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1. ว 3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4
  • 3. 69 หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระสำคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 1 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร ว8.1 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3, ม.1/4,ม.1/5,ม.1/6, ม.1/7,ม.1/8 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ จิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหาสามารถอธิบายภายใต้ ข้อมูลที่มีอยู่ขณะนั้น 15 15 2 สารรอบตัว ว3.1ม.1/1 ว3.2ม.1/2,ม.1/3 เข้าใจสมบัติของสารแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคการเปลี่ยนสถานะ การเกิดปฏิกิริยาและนำไปใช้ 15 15 สอบกลางภาค 20 3 สารละลาย ว3.2ม.1/1,ม.1/2, ม.1/3 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของ การเปลี่ยนสถานะของสาร การเกิดสารละลายการเกิดปฏิกิริยา และการนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 13 15 4 สารละลายกรดและเบส ว3.1ม.1/2,ม.1/3, ม.1/4 เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และนำไปใช้ประโยชน์ 17 15 สอบปลายภาค 20 รวมตลอดภาคเรียน 100 โครงสร้างรายวิชา รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง
  • 4. 70 กำหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี จำนวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน ผลการเรียนรู้ ข้อที่ สิ่งที่ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม(ครู/นักเรียน) 1 18พ.ค.54 09.30-11.30น. 2 แนะนำการเรียนรู้/วิทยาศาสตร์คืออะไร กระบวนการของวิทยาศาสตร์ ว8.1ม.1/1, ม.1/2,ม.1/8 กิจกรรม1.1 2 19พ.ค.54 09.30-10.30น. 1 กระบวนการของวิทยาศาสตร์ ว8.1ม.1/2, ม.1/3 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรมที่1.2และ1.3 3 25พ.ค.54 09.30-11.30น. 2 กระบวนการของวิทยาศาสตร์/ ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ว8.1ม.1/2, ม.1/3 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรมที่1.4 4 26พ.ค.54 09.30-10.30น. 1 ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ว8.1ม.1/1, ม.1/2,ม.1/3, ม.1/4 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรมที่1.5และ1.6 5 1มิ.ย.54 09.30-11.30น. 2 ลักษณะสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ เครื่องมือและอุปกรณ์ช่วยวิทยาศาสตร์ ว8.1ม.1/3, ม.1/4,ม.1/5 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรมเสริมร้อนเย็น 6 2มิ.ย.54 09.30-10.30น. 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ช่วยวิทยาศาสตร์ (การเปลี่ยนอุณหภูมิโดยใช้สูตร) ว8.1ม.1/3, ม.1/4,ม.1/5 7 8มิ.ย.54 09.30-11.30น. 2 วิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้เมื่อเครื่องมือ อุปกรณ์เปลี่ยนไป ว8.1ม.1/4, ม.1/5 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม1.7ลอย-จม 8 9มิ.ย.54 09.30-10.30น. 1 การหาความหนาแน่นจากกิจกรรมลอย-จม ว8.1ม.1/1, ม.1/8 9 15มิ.ย.54 09.30-11.30น. 2 การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ว8.1ม.1/1, ม.1/8 10 16มิ.ย.54 09.30-10.30น. 1 แบบฝึกหัดท้ายบท ว8.1ม.1/1, ม.1/8 11 22มิ.ย.54 09.30-11.30น. 2 สถานะของสาร ว3.2ม.1/3 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม2.1 12 23มิ.ย.54 09.30-10.30น. 1 สถานะของสาร ว3.2ม.1/2
  • 5. 71 ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี จำนวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน ผลการเรียนรู้ ข้อที่ สิ่งที่ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม(ครู/นักเรียน) 13 29มิ.ย.54 09.30-11.30น. 2 ความร้อน ว3.2ม.1/2 14 30มิ.ย.54 09.30-10.30น. 1 ความร้อน ว3.2ม.1/2 15 6ก.ค.54 09.30-11.30น. 2 อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ ว3.2ม.1/2 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม2.2 16 7ก.ค.54 09.30-10.30น. 1 อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ ว3.2ม.1/2 17 13ก.ค.54 09.30-11.30น. 2 การถ่ายโอนความร้อน(การพาความร้อน) การถ่ายโอนความร้อน(การนำความร้อน) ว3.2ม.1/2 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม2.3และ2.4 18 14ก.ค.54 09.30-10.30น. 1 การดูดซับความร้อนที่ผิวมีสีต่างกัน ว3.2ม.1/1 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม2.5 19 20ก.ค.54 09.30-11.30น. 2 การจัดกลุ่มสารตามลักษณะ และขนาดของอนุภาค ว3.2ม.1/1 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม2.6 20 21ก.ค.54 09.30-10.30น. 1 แบบฝึกหัดท้ายบท ว3.1ม.1/1 ว3.2ม.1/2, ม.1/3 21 27ก.ค.54 09.30-11.30น. 2 องค์ประกอบของสารละลาย การละลายของสารในตัวทำละลาย ว3.2ม.1/2 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม3.1และ3.2 22 28ก.ค.54 09.30-10.30น. 1 การละลายของสารในตัวทำละลาย ว3.2ม.1/2 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม3.2ตอน2 23 3ส.ค.54 09.30-11.30น. 2 ตัวละลายเป็นของแข็งตัวทำละลายเป็น ของเหลว ว3.2ม.1/2 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม3.3 24 4ส.ค.54 09.30-10.30น. 1 ตัวละลายและตัวทำละลายเป็นของเหลว ว3.2ม.1/3 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม3.4 กำหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง
  • 6. 72 ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี จำนวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน ผลการเรียนรู้ ข้อที่ สิ่งที่ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม(ครู/นักเรียน) 25 10ส.ค.54 09.30-11.30น. 2 ตัวละลายและตัวทำละลายเป็นของเหลว ว3.2ม.1/3 26 11ส.ค.54 09.30-10.30น. 1 พลังงานกับการละลายของสาร การละลายของสารบางชนิด ว3.2ม.1/2 27 17ส.ค.54 09.30-11.30น. 2 ปัจจัยที่มีผลต่อการละลาย ว3.2ม.1/3 28 18ส.ค.54 09.30-10.30น. 1 คำถามท้ายบท ว3.2ม.1/2, ม.1/3 29 24ส.ค.54 09.30-11.30น. 2 การทดสอบความเป็นกรดและเบสของสาร สมบัติบางประการของกรดและเบส ว3.1ม.1/3 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม4.1และ4.2 30 25ส.ค.54 09.30-10.30น. 1 สมบัติบางประการของกรดและเบส ว3.1ม.1/3 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม4.2ตอน2 31 31ส.ค.54 09.30-11.30น. 2 อินดิเคเตอร์ตรวจสอบความเป็นกรดและเบส ว3.1ม.1/4 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม4.3 32 1ก.ย.54 09.30-10.30น. 1 pHของสารละลายกรดและเบส ว3.1ม.1/4 33 7ก.ย.54 09.30-11.30น. 2 pHของสารละลายกรดและเบส ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบส ว3.1ม.1/4 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม4.4 34 8ก.ย.54 09.30-10.30น. 1 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบส ว3.1ม.1/4 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม4.4 35 14ก.ย.54 09.30-11.30น. 2 กรดและเบสในชีวิตประจำวัน (ยาลดกรดมีสมบัติอย่างไร) ว3.1ม.1/4 อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม4.5 36 15ก.ย.54 09.30-10.30น. 1 กรดและเบสในชีวิตประจำวัน (ยาลดกรดมีสมบัติอย่างไร) ว3.1ม.1/4 กำหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง
  • 7. 73 ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี จำนวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน ผลการเรียนรู้ ข้อที่ สิ่งที่ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม(ครู/นักเรียน) 37 21ก.ย.54 09.30-11.30น. 2 สารทำความสะอาดที่ใช้กับร่างกาย อุปกรณ์ทดลอง กิจกรรม4.6 38 22ก.ย.54 09.30-10.30น. 1 แบบฝึกหัดท้ายบท 39 28ก.ย.54 09.30-11.30น. 2 ทบทวน 36 29ก.ย.54 09.30-10.30น. 1 ทบทวน กำหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง
  • 8. 74 ผังมโนทัศน์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ 1 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร - กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - ลักษณะสำคัญทางวิทยาศาสตร์ - เครื่องมือและอุปกรณ์ - เปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีเครื่องมือและอุปกรณ์เปลี่ยนแปลงไป - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีผลต่อโลกอย่างไร สารรอบตัว - สถานะของสาร - ความร้อน - สารละลาย - สารละลายกรดและเบส สารละลาย - การละลายของสารในตัวทำละลาย - ความเข้มข้นของสารละลาย - พลังงานกับการละลายของสาร สารละลายกรดและเบส - สมบัติของสารละลายกรดและสารละลายเบส - การตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย - pH ของสารละลายกรดและเบส
  • 9. 75 หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ผู้สอน นายสัญญลักษณ์ โสณายะ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร เวลา 3 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ 1 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร มาตรฐานการเรียนรู้ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ ในช่วงนั้นๆ ตัวชี้วัด 1. ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็น หรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ สร้างสมมติฐาน เลือกเทคนิค สำรวจตรวจสอบ 2. จัดทำข้อมูล วิเคราะห์ สร้างแบบจำลอง สร้างคำถาม บันทึกและอธิบายผลการสังเกต เขียนรายงาน โครงงาน 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้มีการค้นคว้าความรู้โดยการทำงานเป็นระบบอย่างมีขั้นตอน การสังเกต สมมติฐาน การเก็บข้อมูล การสร้างคำอธิบาย การสรุปผลการทดลอง การฝึกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ให้ตระหนักความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และนำไปใช้อย่างสร้างสรรค์ 3. สาระการเรียนรู้ การทำกิจกรรมเพื่อค้นหาความรู้โดยการทำงานเป็นระบบอย่างมีขั้นตอน การสังเกต การตั้งสมมติฐาน การเก็บ ข้อมูลสร้างคำอธิบาย การสรุปผลการทดลอง การฝึกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ วิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้เมื่อเครื่องมือ เปลี่ยนแปลงไป ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และถูกนำไปใช้อย่างสร้างสรรค์หรือทำลายเกิดจากการกระทำของมนุษย์ ทั้งสิ้น นักเรียนควรมีศีลธรรมเป็นตัวกำกับ ทั้งนี้เพื่อประโยชน์สุขของมวลมนุษย์และเพื่อโลกที่สวยงามต่อไป 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
  • 10. 76 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3. มีจิตสาธารณะ 6. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ - ไข่เก่า ไข่ใหม่ - ใบพัดมหัศจรรย์ - ไข่จมไข่ลอย - ร้อนหรือเย็น 2. สมุดบันทึกการเรียนตามสภาพจริง และการค้นหาทางอินเทอร์เน็ต 7. การวัดและประเมินผล 1. คะแนนจากการสอบเก็บคะแนนในบทเรียน 2. คะแนนจากการบันทึกสมุดการเรียนตามสภาพจริง 3. คะแนนจากการค้นคว้าระหว่างเรียน 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. การนำเข้าสู่บทเรียน โดยใช้แผนภาพ คำถามต่างๆ กราฟ รูปภาพหรือการทบทวนในบทเรียนที่ผ่านมาโดย อภิปรายระหว่างนักเรียนกับครู 2. การทดลองไข่เก่าไข่ใหม่ การทดลองไข่ตั้งไข่นอน การทดลองใบพัดมหัศจรรย์ การทดลองร้อนหรือเย็น 3. บันทึกผลการทดลองและอภิปรายผล 4. สรุปผลการทดลอง 9. สื่อการเรียนรู้ 1. แผนภาพ จันทรุปราคา-สุริยุปราคา ปรากฏการณ์ดาวตก สิ่งที่เห็นด้วยตา 2. แผนภูมิรูปแท่งจำนวนนักเรียน ม.1 3. อุปกรณ์การทดลอง ไข่เก่า ไข่ใหม่ ใบพัดมหัศจรรย์ ไข่จม-ไข่ลอย กิจกรรมร้อนหรือเย็น 4. สื่อ Computer Program Power Point
  • 11. 77 10. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง) สมุดบันทึกการเรียน ตามสภาพจริง บันทึกเรียบร้อย วาดภาพระบายสี ทุกกิจกรรม มีการบันทึกเรียบร้อย วาดระบายสีภาพ ขาดเป็นบางกิจกรรม มีการบันทึกเรียบร้อย พอใช้ ไม่วาดภาพ ขาดเป็นบางกิจกรรม มีการบันทึกไม่ เรียบร้อย ไม่วาดภาพ ขาดเกินครึ่ง ไม่มีภาพ เลย นำอุปกรณ์มาร่วม การทำกิจกรรม 4 กิจกรรม 3 กิจกรรม 2 กิจกรรม 1 กิจกรรม
  • 12. 78 หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ผู้สอน นายสัญญลักษณ์ โสณายะ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สารรอบตัว เวลา 3 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ 2 สารรอบตัว มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไป ใช้ประโยชน์ มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิด ปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1. ทดลองจำแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์และอธิบายสมบัติของสารในแต่ละ กลุ่ม 2. อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร 3. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานของสารเมื่อการเปลี่ยนสถานะและเกิดการ ละลาย 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การจำแนกสารใช้สมบัติทางกายภาพของสาร เช่น เนื้อสาร ขนาดอนุภาค สีรูปร่าง ความแข็ง ความหนาแน่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว การจัดเรียงระยะห่าง ระหว่างอนุภาค และแรงยึดเหนี่ยวเป็นเกณฑ์ ในการจำแนกการเปลี่ยน สถานะและการถ่ายโอนพลังงานของสารมวลสารจะไม่เปลี่ยนแปลงเปลี่ยนแต่สมบัติทางกายภาพ 3. สาระการเรียนรู้ เมื่อใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์จำแนกสารได้เป็นสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม ซึ่งสารแต่ละกลุ่มจะมีสมบัติแตกต่าง กัน เมื่อใช้ขนาดอนุภาคของสารเป็นเกณฑ์จำแนกสารเป็นสารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลาย ซึ่งสารแต่ละกลุ่ม จะมีสมบัติแตกต่างกัน สี รูปร่าง ขนาด ความแข็ง ความหนาแน่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว เป็นสมบัติทางกายภาพของ สาร สารในสถานะต่างๆ มีลักษณะการจัดเรียงอนุภาค ระยะห่างระหว่างอนุภาค และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค แตกต่างกัน เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย มวลของสารจะไม่เปลี่ยนแปลง แต่สมบัติทางกายภาพ เปลี่ยนแปลงรวมทั้งมีการถ่ายโอนพลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม
  • 13. 79 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3. มีจิตสาธารณะ 6. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ - ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ - ผลของความร้อนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร - อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ - การพาความร้อน - การนำความร้อน - การดูดซับความร้อนของวัตถุที่มีสีต่างกัน - การตรวจสอบขนาดของเนื้อสาร 2. สมุดบันทึกการเรียนรู้ตามสภาพจริงการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 7 กิจกรรม และการค้นหาทางอินเทอร์เน็ต 7. การวัดและประเมินผล 1. คะแนนจากการสอบเก็บคะแนนในบทเรียน 2. คะแนนจากการบันทึกสมุดการเรียนตามสภาพจริง 3. คะแนนจากการค้นคว้าระหว่างเรียน 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. การนำเข้าสู่บทเรียน โดยใช้แผนภาพ คำถามต่างๆ กราฟ รูปภาพหรือการทบทวนคำถามในบทเรียนที่ ผ่านมาร่วมกับสื่อรูปแบบ Power Point โดยอภิปรายระหว่างนักเรียนกับครู 2. การทดลองกิจกรรมการเรียนรู้ - ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ - ผลของความร้อนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร - อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ - การพาความร้อน
  • 14. 80 - การนำความร้อน - การดูดซับความร้อนของวัตถุที่มีสีต่างกัน - การตรวจสอบขนาดของเนื้อสาร ตามคู่มือการสอนของ สสวท. 3. บันทึกผลการทดลองและอภิปรายผลโดยใช้สื่อรูปแบบ Power Point 4. สรุปผลการทดลองโดยใช้สื่อรูปแบบ Power Point ร่วมอภิปราย 9. สื่อการเรียนรู้ 1. แผนภาพ งานเทศกาลสงกรานต์ ภาพจำลองและการเปรียบเทียบอนุภาคของของแข็ง ภาพแบบจำลองและ การเปรียบเทียบอนุภาคของของเหลว ภาพจำลองและการเปรียบเทียบอนุภาคของของแก๊ส ภาพโคมลอย ภาพเรือเดินสมุทร ภาพเทอร์มอมิเตอร์แบบต่างๆ ภาพรอยต่อของสะพานจะมีช่องว่างเพื่อขยายตัว ภาพแสดงการเปลี่ยนสถานะของน้ำแข็ง เมื่อได้รับความร้อนจนถึงอุณหภูมิ 20 ํC ได้รับความร้อนจนเดือด ภาพความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนสถานะของสาร ภาพห้องทำงานที่ติดเครื่องปรับอากาศ ภาพตรวจสอบ ขนาดอนุภาคของสาร ภาพปรากฏการณ์ทินดอลล์ ภาพคอลลอยด์บางชนิด (ครีมสลัด) 2. ตารางความหนาแน่นของสาร ตารางการเปรียบเทียบสเกลเทอร์มอมิเตอร์ตามหน่วยอุณหภูมิ ตาราง จุดหลอมเหลวและจุดเดือด 3. อุปกรณ์ การทดลองกิจกรรมการเรียนรู้ - ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ - ผลของความร้อนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร - อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ - การพาความร้อน - การนำความร้อน - การดูดซับความร้อนของวัตถุที่มีสีต่างกัน - การตรวจสอบขนาดของเนื้อสาร ตามคู่มือการสอนของ สสวท. 4. สื่อคอมพิวเตอร์ โปรแกรม Power Point 10. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง) สมุดบันทึกการเรียน ตามสภาพจริง บันทึกเรียบร้อย วาดภาพระบายสี ทุกกิจกรรม มีการบันทึกเรียบร้อย วาดระบายสีภาพ ขาดเป็นบางกิจกรรม มีการบันทึกเรียบร้อย พอใช้ ไม่วาดภาพ ขาดเป็นบางกิจกรรม มีการบันทึกไม่ เรียบร้อย ไม่วาดภาพ ขาดเกินครึ่ง ไม่มีภาพ เลย นำอุปกรณ์มาร่วม การทำกิจกรรม 7 กิจกรรม 5 กิจกรรม 3 กิจกรรม น้อยกว่า 3 กิจกรรม
  • 15. 81 หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ผู้สอน นายสัญญลักษณ์ โสณายะ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สารละลาย เวลา 3 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สสาระที่ 3 สารละลาย มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิด ปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ง และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1. ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็นร้อยละ และอภิปรายการนำความรู้เกี่ยวกับ สารละลายไปใช้ประโยชน์ 2. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานของสาร เมื่อมีการเปลี่ยนสถานะและเกิดการ ละลาย 3. ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสารละลาย 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด - สารละลายประกอบด้วยตัวละลายและตัวทำละลาย ในชีวิตประจำวัน ได้มีการนำความร้อนเรื่องสารละลาย ไปใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรม อาหาร การแพทย์ และด้านอื่นๆ - เมื่อสารเกิดละลาย มวลของสารจะไม่เปลี่ยนแปลง แต่สมบัติทางกายภาพเปลี่ยนแปลงรวมทั้งมีการ ถ่ายโอนพลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม - อุณหภูมิ ความดัน ชนิดของสาร มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสาร 3. สาระการเรียนรู้ - สารละลายประกอบด้วยตัวละลายและตัวทำละลาย สารละลายที่ระบุความเข้มข้นเป็นร้อยละหมายถึง สารละลายที่มีอัตราส่วนของปริมาณตัวละลาย ในชีวิตประจำวัน ได้มีการนำความร้อนเรื่องสารละลาย ไปใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรม อาหาร การแพทย์ และด้านอื่นๆ - เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย มวลของสารจะไม่เปลี่ยนแปลง แต่สมบัติทางกายภาพ เปลี่ยนแปลงรวมทั้งมีการถ่ายโอนพลังงานระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อม - อุณหภูมิ ความดัน ชนิดของสาร มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสาร
  • 16. 82 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3. มีจิตสาธารณะ 6. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ - องค์ประกอบของสารประกอบ - การละลายของสาร - การเตรียมสารละลายเป็นของแข็งและตัวทำละลายเป็นของเหลว - การเตรียมสารละลายที่ตัวละลายและตัวทำละลายเป็นของเหลว - การละลายของสารบางชนิด 2. สมุดบันทึกการเรียนรู้ตามสภาพจริงการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 5 กิจกรรม และการค้นหาทางอินเทอร์เน็ต 7. การวัดและประเมินผล 1. คะแนนจากการสอบเก็บคะแนนในบทเรียน 2. คะแนนจากการบันทึกสมุดการเรียนตามสภาพจริง 3. คะแนนจากการค้นคว้าระหว่างเรียน 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. การนำเข้าสู่บทเรียน โดยใช้แผนภาพ คำถามต่างๆ กราฟ รูปภาพหรือการทบทวนคำถามในบทเรียนที่ ผ่านมาร่วมกับสื่อรูปแบบ Power Point โดยอภิปรายระหว่างนักเรียนกับครู 2. การทดลองกิจกรรมการเรียนรู้ - องค์ประกอบของสารประกอบ - การละลายของสาร - การเตรียมสารละลายเป็นของแข็งและตัวทำละลายเป็นของเหลว - การเตรียมสารละลายที่ตัวละลายและตัวทำละลายเป็นของเหลว - การละลายของสารบางชนิด
  • 17. 83 3. บันทึกผลการทดลองและอภิปรายผลโดยใช้สื่อรูปแบบ Power Point 4. สรุปผลการทดลองโดยใช้สื่อรูปแบบ Power Point ร่วมอภิปรายประกอบรายการ 9. สื่อการเรียนรู้ 1. แผนภาพ น้ำอัดลม ภาพเชลแล็กและเฟอร์นิเจอร์ที่ทาเชลแล็ก ภาพสารละลายเจือจางและสารละลาย เข้มข้น ภาพเหรียญที่ระลึกแต่ละแบบมีส่วนผสมของโลหะแตกต่างกัน ภาพการใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย การปลูกพืชด้วยสารละลาย ใช้ทินเนอร์ละลายสารเพื่อใช้สำหรับทาเฟอร์นิเจอร์ น้ำเกลือสำหรับคนไข้ ภาพการเปลี่ยนแปลงพลังงานขณะเกิดการละลายประเภทคายความร้อน ภาพการแยกตัวของสารจาก สารละลาย เมื่ออุณหภูมิลดลง ภาพน้ำอัดลม ภาพน้ำอัดลมเขย่าขวดก่อนขณะเริ่มเปิดฝาขวด ภาพลักษณะ ของผลึก 2. ตารางการละลายของสาร 3. อุปกรณ์ การทดลองกิจกรรมการเรียนรู้ - องค์ประกอบของสารประกอบ - การละลายของสาร - การเตรียมสารละลายเป็นของแข็งและตัวทำละลายเป็นของเหลว - การเตรียมสารละลายที่ตัวละลายและตัวทำละลายเป็นของเหลว - การละลายของสารบางชนิด 4. สื่อคอมพิวเตอร์ โปรแกรม Power Point 10. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง) สมุดบันทึกการเรียน ตามสภาพจริง บันทึกเรียบร้อย วาดภาพระบายสี ทุกกิจกรรม มีการบันทึกเรียบร้อย วาดระบายสีภาพ ขาดเป็นบางกิจกรรม มีการบันทึกเรียบร้อย พอใช้ ไม่วาดภาพ ขาดเป็นบางกิจกรรม มีการบันทึกไม่ เรียบร้อย ไม่วาดภาพ ขาดเกินครึ่ง ไม่มีภาพ เลย นำอุปกรณ์มาร่วม การทำกิจกรรม 5 กิจกรรม 4 กิจกรรม 3 กิจกรรม น้อยกว่า 3 กิจกรรม
  • 18. 84 หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ผู้สอน นายสัญญลักษณ์ โสณายะ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สารละลายกรดและเบส เวลา 3 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ 4 สารละลายกรดและเบส มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไป ใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1. ทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย 2. ตรวจสอบค่า pH ของสารละลายและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวันอาจมีความเป็นกรด-เบสแตกต่างกัน จึงควรเลือกใช้ให้ถูกต้องปลอดภัยต่อ ตนเองและสิ่งแวดล้อม สามารถทดสอบได้ด้วยกระดาษมัส หรือกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ 3. สาระการเรียนรู้ - สารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลายอาจจะมีสมบัติเป็นกรด กลาง หรือ เบส ซึ่งสามารถทดสอบได้ด้วย กระดาษลิตมัส หรือกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ - ความเป็นกรดและเบสของสารละลายระบุค่า pH ซึ่งตรวจสอบได้ด้วยเครื่องมือวัดค่า pH หรือ ยูนิเวอร์ซัล- อินดิเคเตอร์ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวันอาจมีความเป็นกรด-เบสแตกต่างกัน จึงควรเลือกใช้ให้ถูกต้อง ปลอดภัยต่อตนเองและสิ่งแวดล้อม 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
  • 19. 85 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3. มีจิตสาธารณะ 6. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ - ทดสอบสารละลายกรดและสารละลายเบสในชีวิตประจำวัน - สมบัติบางประการของสารละลายกรดและสารละลายเบส - อินดิเคเตอร์ตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย - ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบส - ยาลดกรดมีสมบัติอย่างไร - สารทำความสะอาดร่างกาย 2. สมุดบันทึกการเรียนรู้ตามสภาพจริงการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 6 กิจกรรม และการค้นหาทางอินเทอร์เน็ต 7. การวัดและประเมินผล 1. คะแนนจากการสอบเก็บคะแนนในบทเรียน 2. คะแนนจากการบันทึกสมุดการเรียนตามสภาพจริง 3. คะแนนจากการค้นคว้าระหว่างเรียน 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. การนำเข้าสู่บทเรียน โดยใช้แผนภาพ คำถามต่างๆ กราฟ รูปภาพหรือการทบทวนคำถามในบทเรียนที่ ผ่านมาร่วมกับสื่อรูปแบบ Power Point โดยอภิปรายระหว่างนักเรียนกับครูตั้งแต่กิจกรรมที่ 1-6 2. ทำกิจกรรมการเรียนรู้โดยทำการทดลอง - ทดสอบสารละลายกรดและสารละลายเบสในชีวิตประจำวัน - สมบัติบางประการของสารละลายกรดและสารละลายเบส - อินดิเคเตอร์ตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย - ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบส - ยาลดกรดมีสมบัติอย่างไร - สารทำความสะอาดร่างกาย 3. บันทึกผลการทดลองและอภิปรายผลโดยใช้สื่อรูปแบบ Power Point ตั้งแต่กิจกรรมที่ 1-6 4. สรุปผลการทดลองโดยใช้สื่อรูปแบบ Power Point ร่วมอภิปรายประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
  • 20. 86 9. สื่อการเรียนรู้ 1. แผนภาพ การออกกำลังกาย ภาพสารละลายกรดและเบส ภาพประติมากรรมที่ทำจากหินปูนหรือหินอ่อน เกิดการผุกร่อนจากฝนกรด ภาพลูกโป่งสวรรค์ ภาพกระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ ภาพเครื่องมือวัดค่า pH ภาพแสดงค่า pH ของสารตัวอย่างโดยใช้สารละลายยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ ภาพกรดและเบสในชีวิต ประจำวัน ภาพยาลดกรด ภาพตัวอย่างเครื่องหมายอันตรายแสดงความเป็นอันตรายของสารตามระบบ สากลขององค์การสหประชาชาติ 2. ตารางการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์บางชนิด 3. อุปกรณ์ การทดลองกิจกรรมการเรียนรู้ - ทดสอบสารละลายกรดและสารละลายเบสในชีวิตประจำวัน - สมบัติบางประการของสารละลายกรดและสารละลายเบส - อินดิเคเตอร์ตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย - ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดและเบส - ยาลดกรดมีสมบัติอย่างไร - สารทำความสะอาดร่างกาย 4. สื่อคอมพิวเตอร์ โปรแกรม Power Point 10. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง) สมุดบันทึกการเรียน ตามสภาพจริง บันทึกเรียบร้อย วาดภาพระบายสี ทุกกิจกรรม มีการบันทึกเรียบร้อย วาดระบายสีภาพ ขาดเป็นบางกิจกรรม มีการบันทึกเรียบร้อย พอใช้ ไม่วาดภาพ ขาดเป็นบางกิจกรรม มีการบันทึกไม่ เรียบร้อย ไม่วาดภาพ ขาดเกินครึ่ง ไม่มีภาพ เลย นำอุปกรณ์มาร่วม การทำกิจกรรม 6 กิจกรรม 4 กิจกรรม 3 กิจกรรม น้อยกว่า 3 กิจกรรม