SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
นศ.ทพ.ณัฐภรณ์ หลวงเทพ

                          Cervical enamel projection and Palatogingival groove

                                          ั
           Bacterial plaque ถือว่าเป็ นปจจัยเริมต้นในการดาเนินโรคของโรคปริทนต์ อีกทังลักษณะทางกายภาพของ
                                               ่                           ั         ้
  ั                                                                                      ั
ฟน เช่น cervical enamel projections, enamel pearls และ developmental grooves ก็เป็ นปจจัยหนึ่งทีม ี
                                                                                                 ่
ความสัมพันธ์กบการดาเนินโรคทีรนแรงขึนและการทาลายอวัยวะปริทนต์เฉพาะที่ Enamel projection และ enamel
                 ั                ุ่        ้                     ั
                                   ั                                                         ั ั
pearls มักสัมพันธ์กบการเกิดในฟนกราม นอกจากนี้ enamel projection ทีเกิดบริเวณง่ามรากฟนของฟนกรามมักจะ
                     ั                                                  ่
ไม่ม ี true attachment และมักจะมีความไวต่อการเกิดร่องลึกปริทนต์ได้สง จากรายงานทีผานมาพบว่า enamel
                                                               ั      ู            ่ ่
projection และ furcation involvement มีความสัมพันธ์ใกล้ชดกัน ดังนันจึงมีการนาเสนอกรณีศกษาของ Bilateral
                                                            ิ       ้                      ึ
cervicoenamel projection และวิธการจัดการโดยการเปิดแผ่นเหงือกด้วยวิธี odontoplasty และ regenerative
                                     ี
procedure โดยการนา graft ไปแทนทีบริเวณทีม ี defect เพือลดความลึกร่องปริทนต์และเพิมระดับของการยึดเกาะโดย
                                        ่        ่        ่                  ั         ่
มีการติดตามเป็ นระยะ
                                  ั       ั                           ั
         โรคปริทนต์ไม่ได้เกิดจากปจจัยใดปจจัยหนึ่งเพียงอย่างเดียว ปจจัยหลักทีทาให้เกิด gingival inflammation
                ั                                                                ่
           ิ       ่         ั                                              ั
คือ คราบจุลนทรีย์ ซึงเป็ นปจจัยนาในการเกิดโรค การตอบสนองของ host ต่อปจจัยทีเป็ นต้นเหตุของการเกิดโรค
                                                                                   ่
แสดงออกได้หลากหลาย เมือร่างกายไม่สามารถตรวจสอบหรือละเลยต่อสาเหตุททาให้เกิดโรคได้กจะทาให้เกิดการ
                           ่                                                  ่ี           ็
ทาลายทีไม่ผนกลับ นอกจากนี้ยงมี local factor อื่นทีเป็ นสาเหตุให้เกิด inflammatory และdegenerative ประกอบด้วย
        ่ ั                    ั                  ่
     ั
1. ปจจัยทีสงเสริมให้เกิดการยึดติดและรวมกลุ่มของคราบจุลนทรีย์ รวมไปถึงคราบหินน้ าลาย, ลักษณะทางกายวิภาค
             ่่                                       ิ
           ั
ของรากฟน, การมีวสดุบรณะทีไม่เพียงพอ, overhangs, การสะสมของเศษคราบอาหาร, การใส่เครืองมือจัดฟน,
                    ั ู      ่                                                           ่         ั
                ั ั      ่                                 ั
ตาแหน่งของฟน, ปจจัยทีเกิดจากการรักษาของแพทย์, การถอนฟนกรามซีทสาม, การมีรองลึกปริทนต์ และการมีฟนผุ
                                                                    ่ ่ี        ่          ั            ั
2. ลักษณะทางกายภาพทีคล้ายกับ palatoradicular grooves, cervical enamel projection, enamel pearls, cysts,
                           ่
foreign bodies, paltal rugae
3. สุขนิสย พฤติกรรมส่วนบุคคลและการได้รบอุบตเหตุ
         ั                              ั ั ิ
       ั                       ั                                         ั
4. ปจจัยทางกล เช่น การแปรงฟนแรงเกินไป, การใช้ abrasive dentrifices ปจจัยทางอุณหภูมและทางรังสี เช่น
                                                                                      ิ
                                                                  ั
tissue burn จากการรับประทานอาหารร้อนเกินไป, electrosurgery และปจจัยทางชีวเคมี เช่น การบาดเจ็บทีเกิดจาก
                                                                                                 ่
วัสดุทางทันตกรรม, การสูบบุหรี่
                              ั ่ ี
         รูปร่างลักษณะของฟนทีมความผิดปกติ เช่น cervical enamel projection, enamel pearl หรือ palatogingival
                 ั
grooves เป็ นปจจัยเสริมทีมผลทาให้บริเวณนันมีการสะสมคราบจุลนทรีย์ ทาให้การทาความสะอาด, การขูดหินน้าลาย
                          ่ ี                ้                     ิ
               ั
และเกลารากฟนยากขึน ซึงทาให้เกิด periodontal breakdown ตามมา Cervical enamel projections (CEPs) เกิด
                       ้ ่
           ่                                                                           ั
จากการมีสวนของ enamel จาก cemento-enamel junction ไปยังบริเวณ furcation ของฟนหลายราก ลักษณะทีเกิดนี้     ่
มีรปร่างคล้ายสามเหลียมและสอบเข้า (tapering) การมี CEPs นี้ เป็ นเหตุให้เกิดการสะสมของคราบจุลนทรียได้งาย
   ู                 ่                                                                            ิ    ์ ่
และยังพบว่าเป็ นเหตุให้เกิด gingivitis และ periodontitis รุนแรงขึน หรือทาให้การรักษาโรคปริทนต์ยงยากขึน
                                                                 ้                         ั ุ่     ้
นศ.ทพ.ณัฐภรณ์ หลวงเทพ

Classification

         Masters and Hoskins ได้จาแนกในปี 1964 โดยขึนกับระดับการขยายของ cervical enamel projection ไป
                                                       ้
ยังบริเวณ furcation
                  ั ่                      ั              ั
Grade I เคลือบฟนยืนยาวจากรอยต่อเคลือบฟนและเคลือบรากฟนเล็กน้อย ลักษณะนี้พบบ่อย รักษาด้วยการกรอส่วน
 ่          ั
ยืนเคลือบฟนออก เพือให้เกิดการยึดติดของเยื่อบุผวเชือมต่อ
                       ่                       ิ ่
                   ั                         ั              ั                             ั
Grade II เคลือบฟนยื่นยาวจากรอยต่อเคลือบฟนและเคลือบรากฟนมากกว่า Grade I แต่ไม่ถงช่องรากฟน (furcation)
                                                                                ึ
                     ั                          ั
Grade III เคลือบฟนยื่นยาวไปถึงบริเวณช่องรากฟน (furcation)

         Grade II และ Grade III รักษาด้วยการทาศัลยกรรมปริทนต์ โดยแก้ไขร่องลึกปริทนต์ และกรอส่วนยื่นเคลือบ
                                                              ั                    ั
  ั                                                                   ั
ฟนให้หมด ใช้สารละลายกรดซิทริก (citric acid) อิมตัว pH เท่ากับ 1 ทาผิวฟนประมาณ 2-3 นาที ล้างด้วยน้ าเกลือและ
                                              ่
                 ่                              ั                ั              ิี   ั
เย็บแผ่นเหงือก เพือเกิดการยึดเกาะของอวัยวะปริทนต์ ถ้ากระดูกเบ้าฟนเหลือน้อยก็ใช้วธถอนฟน

Prevalence

                                                    ั
1. prevalence ของ CEPs อยูในช่วง 8.6 – 32.6% ในฟนกรามใหญ่
                            ่
                                           ้ ่ ั          ั
2. prevalence ของ CEPs จะแตกต่างกันไปขึนอยูกบว่าเป็ นฟนกรามใหญ่ซทหนึ่ง, สอง หรือสาม
                                                                    ่ี ่ี
       ั                                                         ั
3. ในฟน mandibular molar พบ prevalence ของ CEPs มากกว่าในฟน maxillary molar
4. พบ prevalence สูงทีสดใน mandibular และ maxillary second molars
                      ุ่
5. CEPs เคยมีรายงานว่าพบที่ maxillary central incisors และ premolar
6. พบมากทีดาน buccal
            ่ ้
7. Grade II enamel projection มี prevalence สูงกว่า

Significance

1. Atkinson ปี 1949 พบความสัมพันธ์ระหว่าง CEPs และการเกิดร่องลึกปริทนต์ ั
2. Masters และ Hoskins ปี 1964 ได้กล่าวว่าเมือ CEPs extend ไปที่ root furcation แล้ว fiber ของ periodontal
                                             ่
                                                                                                ั
ligament จะไม่เกิดการยึดติดของ connective tissue attachment บน enamel จึงสรุปว่า CEPs เป็ นปจจัยเสริมทีทาให้
                                                                                                          ่
เกิดโรคปริทนต์
           ั

Case Report

          ชายอายุ 24 ปี มาด้วยอาการ bleeding gum หลังจากการซักประวัติ ตรวจทางคลินิกและภาพถ่ายรังสีวนิจฉัย
                                                                                                      ิ
เป็ น localized chronic periodontitis ลักษณะทางคลินิกพบ deep periodontal pockets บริเวณด้านลินและพบ
                                                                                             ้
                                   ้                  ั
furcation involvement grade II ทังด้านซ้ายและขวาของฟนกรามล่างซีแรก ภาพถ่ายทางรังสีพบ cervical enamel
                                                                 ่
projection; ได้รกษาโดย open flap debridement ทาให้เห็น Grade II cervical enamel projection บริเวณด้านลินของ
                 ั                                                                                      ้
ซี่ #36 และ #46 จากนันทาการลดระดับของ crestal bone ด้วยวิธี odontoplasty ตามด้วย regenerative procedure
                       ้
หลังจากนันนัดมาติดตาม 6 เดือนพบว่า clinical attachment เพิมขึนและร่องปริทนต์ลดลง
            ้                                             ่ ้             ั
นศ.ทพ.ณัฐภรณ์ หลวงเทพ

Discussion

                            ่                               ่         ุ่  ั
          CEPs เป็ นการเปลียนแปลงลักษณะทางกายภาพทีพบบ่อยทีสดในฟน molar มักเกิดบริเวณ mid-cervical
line และมีรปร่าง V-shaped ผิวเรียบหรือขรุขระ สัมพันธ์กบ chronic periodontal infection in furcal areas and with
           ู                                            ั
inflammatory cysts ทีเรียกว่า buccal bifurcation cysts ซึงมักเกิดใน younger children CEPs สามารถตรวจได้โดย
                      ่                                   ่
การใช้ explorer หรือ probe, radiograph หรือระหว่าง surgical intervention CEPs มักจะเกียวข้องกับการเกิดร่อง
                                                                                        ่
ปริทนต์ลุกลามอย่างรวดเร็ว เพราะตาแหน่งและลักษณะทางกายภาพ เนื่องจากการยึดติดของ organic connective
     ั
tissue attachment จะไม่เกิดบน enamel ทาให้ความต้านทานต่อการ breakdown ของ bacterial plaque ลดลงจึงเกิด
                                        ่ ั          ั
การดาเนินโรคอย่างรวดเร็ว รวมทังการทีฟนหรือรากฟนข้างเคียงอยูชดกันเกินไป นอกจากนี้การทาความสะอาด
                                 ้                                ่ ิ
             ั       ั ่ ่ี
บริเวณซอกฟนของฟนซีทรากชิดกันมากจะทาได้ยาก เกิดการสะสมของคราบจุลนทรียซงเป็ นสาเหตุของโรคปริทนต์
                                                                             ิ     ์ ่ึ                    ั
                                              ั
         ในบางรายงานได้แนะนาวิธการรักษาฟนหลายรากทีม ี furcation involvement ซึงสัมพันธ์กบ enamel
                                   ี                     ่                         ่         ั
projections โดยหนึ่งในเทคนิคนันคือ surgical procedures เช่น modified Widman flap หรือ exicisional new
                              ้
attachment procedure combined with furcationplasty เป็ นการช่วยสร้าง collagen fiber attachment ใน grade I
และทาให้ furcal lesion ใน grade II ตืนขึน รวมทังยังสามารถเข้าไปทาความสะอาดด้วยอุปกรณ์อ่นๆ ใน grade III
                                     ้ ้        ้                                          ื
และ IV ได้สะดวกขึน สาหรับใน case นี้ ได้ทาการรักษาโดย surgical procedure โดยภาพถ่ายรังสีแสดงให้เห็นว่า
                   ้
cervical enamel projections ขยายออกไปต่ากว่า crest of bone ได้เปิด flap และ debridement ทาให้เห็นว่าเป็ น
grade II cervical enamel projection ทางด้าน lingual ของ mandibular first molar ทังทางด้านซ้ายและขวา
                                                                                 ้

Conclusion

                                          ั
        Cervical enamel projections เป็ นปจจัยรองทีตองพิจารณาในการเกิดการทาลายอวัยวะปริทนต์ และ
                                                   ่ ้                                       ั
                          ั
attachment loss แม้วาจะมีปจจัยเสียงในการทาลายมากขึน แต่ใน mandibular teeth ทีม ี bifurcation defects ควรมี
                    ่            ่                     ้                     ่
เกณฑ์ในการทา regenerative procedures



Palatogingival groove (Radicular Groove, Disto-lingual Groove)

                                             ่ ิ                     ั
        Palatogingival groove เป็ นพัฒนาการทีผดปกติแต่กาเนิด มักพบในฟนตัดบนซีขางมากกว่าซีกลาง ร่องลึก
                                                                             ่ ้        ่
                                                                           ั               ั
เริมจากแอ่งตรงกลาง (central fossa) ทางด้านเพดานปาก มีทศทางจากรอยต่อเคลือบฟนกับเคลือบรากฟน ลงลึกทาง
   ่                                                   ิ
ปลายรากในระยะทางทีแตกต่างกัน เกิดคราบจุลนทรียสะสมได้งายและกาจัดออกยาก ทาให้เกิดร่องลึกปริทนต์ในแนว
                     ่                     ิ     ์       ่                                   ั
แคบ และทาลายอวัยวะปริทนต์ลุกลามอย่างรวดเร็ว มีการศึกษาโดย Hov และ Tsal สรุปได้วา
                          ั                                                      ่

        1) อัตราการเกิด palatogingival groove นี้จะไม่ขนกับเพศ
                                                       ้ึ

              ่       ั    ่ ้                            ั
        2) พบทีบริเวณฟนตัดซีขาง (lateral incisor) มากกว่าฟนตัดซีกลาง (cental incisor)
                                                               ่
นศ.ทพ.ณัฐภรณ์ หลวงเทพ

        3) ส่วนใหญ่จะพบอยูตรงกลาง (mid-palatal) มากกว่าอยูดานใกล้กลางหรือไกลกลาง (mesial or distal) แต่
                           ่                                ่ ้
           อย่างไรก็ตามพบว่าการมี palatogingival groove ทีบริเวณด้านใกล้กลางหรือไกลกลางจะสัมพันธ์กบการ
                                                          ่                                       ั
           มีรองลึกปริทนต์มากกว่า
              ่        ั

        4) พบว่ามีความสัมพันธ์กนโดยตรงระหว่างการมี palatogingival groove กับการสะสมของแผ่นคราบ
                                ั
           จุลนทรียและการเกิดร่องลึกปริทนต์
              ิ    ์                    ั
              ั ่
Prognosis ของฟนทีม ี Palatogingival groove ขึนกับ
                                             ้

    -   Location

    -   Depth

    -   Extension of the groove and extend of periodontal destruction

การรักษา

    1. Curettage of the affected tissues

    2. Elimination of the groove โดยการ grinding

    3. Sealing ด้วย filling material

ถ้า groove extend ไปยัง middle third ของ root apex การรักษาทีแนะนา คือ surgical procedure รวมทังการใช้
                                                               ่                                 ้
                             ั ั
barrier/ intraosseous graft ปจจุบนได้มการนาเอา enamel matrix derivatives (Emdogain) เป็ น barrier ในการรักษา
                                      ี
ซึงผลิตภัณฑ์น้ีประกอบด้วย hydrophobic enamel matrix proteins ทีสกัดมาจาก porcine มีรายงานจาก Hoshino
  ่                                                               ่
และ Hamamoto ว่าสามารถนา Emdogain ไปใช้ในการ transplant และ replant teeth เพือช่วยให้เกิดการสร้าง
                                                                                   ่
periodontal ligament, promote healing of root resorption, ป้องกันการเกิด ankylosis

Reference

Nilofar B. Attar, Mangesh B. Phadnaik. Bilateral cervicoenamel projection and its management: A case report
with lingual involvement. Journal of Indian Society of Periodontology. 2009;13:168-71.

Kanika Attam et.al. Palatogingival Groove: Endodontic-periodontal Management-Case report. J Endod
2010;36:1717-20.

More Related Content

More from dentyomaraj

ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailanddentyomaraj
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาdentyomaraj
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54dentyomaraj
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักdentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑dentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓dentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
Chaipattana tsunami
Chaipattana tsunamiChaipattana tsunami
Chaipattana tsunamidentyomaraj
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubdentyomaraj
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัวdentyomaraj
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะdentyomaraj
 
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechการพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechdentyomaraj
 
หลวงตาบัว
หลวงตาบัวหลวงตาบัว
หลวงตาบัวdentyomaraj
 
Poster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgeryPoster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgerydentyomaraj
 
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้  roojPoster ฟันเทียมถอดได้  rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้ roojdentyomaraj
 
What goes around comes around
What goes around comes aroundWhat goes around comes around
What goes around comes arounddentyomaraj
 
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับdentyomaraj
 

More from dentyomaraj (20)

ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
Chaipattana tsunami
Chaipattana tsunamiChaipattana tsunami
Chaipattana tsunami
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะ
 
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechการพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
 
หลวงตาบัว
หลวงตาบัวหลวงตาบัว
หลวงตาบัว
 
Poster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgeryPoster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgery
 
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้  roojPoster ฟันเทียมถอดได้  rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
 
What goes around comes around
What goes around comes aroundWhat goes around comes around
What goes around comes around
 
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
 

Cervical enamel projection and palatogingival groove 060154

  • 1. นศ.ทพ.ณัฐภรณ์ หลวงเทพ Cervical enamel projection and Palatogingival groove ั Bacterial plaque ถือว่าเป็ นปจจัยเริมต้นในการดาเนินโรคของโรคปริทนต์ อีกทังลักษณะทางกายภาพของ ่ ั ้ ั ั ฟน เช่น cervical enamel projections, enamel pearls และ developmental grooves ก็เป็ นปจจัยหนึ่งทีม ี ่ ความสัมพันธ์กบการดาเนินโรคทีรนแรงขึนและการทาลายอวัยวะปริทนต์เฉพาะที่ Enamel projection และ enamel ั ุ่ ้ ั ั ั ั pearls มักสัมพันธ์กบการเกิดในฟนกราม นอกจากนี้ enamel projection ทีเกิดบริเวณง่ามรากฟนของฟนกรามมักจะ ั ่ ไม่ม ี true attachment และมักจะมีความไวต่อการเกิดร่องลึกปริทนต์ได้สง จากรายงานทีผานมาพบว่า enamel ั ู ่ ่ projection และ furcation involvement มีความสัมพันธ์ใกล้ชดกัน ดังนันจึงมีการนาเสนอกรณีศกษาของ Bilateral ิ ้ ึ cervicoenamel projection และวิธการจัดการโดยการเปิดแผ่นเหงือกด้วยวิธี odontoplasty และ regenerative ี procedure โดยการนา graft ไปแทนทีบริเวณทีม ี defect เพือลดความลึกร่องปริทนต์และเพิมระดับของการยึดเกาะโดย ่ ่ ่ ั ่ มีการติดตามเป็ นระยะ ั ั ั โรคปริทนต์ไม่ได้เกิดจากปจจัยใดปจจัยหนึ่งเพียงอย่างเดียว ปจจัยหลักทีทาให้เกิด gingival inflammation ั ่ ิ ่ ั ั คือ คราบจุลนทรีย์ ซึงเป็ นปจจัยนาในการเกิดโรค การตอบสนองของ host ต่อปจจัยทีเป็ นต้นเหตุของการเกิดโรค ่ แสดงออกได้หลากหลาย เมือร่างกายไม่สามารถตรวจสอบหรือละเลยต่อสาเหตุททาให้เกิดโรคได้กจะทาให้เกิดการ ่ ่ี ็ ทาลายทีไม่ผนกลับ นอกจากนี้ยงมี local factor อื่นทีเป็ นสาเหตุให้เกิด inflammatory และdegenerative ประกอบด้วย ่ ั ั ่ ั 1. ปจจัยทีสงเสริมให้เกิดการยึดติดและรวมกลุ่มของคราบจุลนทรีย์ รวมไปถึงคราบหินน้ าลาย, ลักษณะทางกายวิภาค ่่ ิ ั ของรากฟน, การมีวสดุบรณะทีไม่เพียงพอ, overhangs, การสะสมของเศษคราบอาหาร, การใส่เครืองมือจัดฟน, ั ู ่ ่ ั ั ั ่ ั ตาแหน่งของฟน, ปจจัยทีเกิดจากการรักษาของแพทย์, การถอนฟนกรามซีทสาม, การมีรองลึกปริทนต์ และการมีฟนผุ ่ ่ี ่ ั ั 2. ลักษณะทางกายภาพทีคล้ายกับ palatoradicular grooves, cervical enamel projection, enamel pearls, cysts, ่ foreign bodies, paltal rugae 3. สุขนิสย พฤติกรรมส่วนบุคคลและการได้รบอุบตเหตุ ั ั ั ิ ั ั ั 4. ปจจัยทางกล เช่น การแปรงฟนแรงเกินไป, การใช้ abrasive dentrifices ปจจัยทางอุณหภูมและทางรังสี เช่น ิ ั tissue burn จากการรับประทานอาหารร้อนเกินไป, electrosurgery และปจจัยทางชีวเคมี เช่น การบาดเจ็บทีเกิดจาก ่ วัสดุทางทันตกรรม, การสูบบุหรี่ ั ่ ี รูปร่างลักษณะของฟนทีมความผิดปกติ เช่น cervical enamel projection, enamel pearl หรือ palatogingival ั grooves เป็ นปจจัยเสริมทีมผลทาให้บริเวณนันมีการสะสมคราบจุลนทรีย์ ทาให้การทาความสะอาด, การขูดหินน้าลาย ่ ี ้ ิ ั และเกลารากฟนยากขึน ซึงทาให้เกิด periodontal breakdown ตามมา Cervical enamel projections (CEPs) เกิด ้ ่ ่ ั จากการมีสวนของ enamel จาก cemento-enamel junction ไปยังบริเวณ furcation ของฟนหลายราก ลักษณะทีเกิดนี้ ่ มีรปร่างคล้ายสามเหลียมและสอบเข้า (tapering) การมี CEPs นี้ เป็ นเหตุให้เกิดการสะสมของคราบจุลนทรียได้งาย ู ่ ิ ์ ่ และยังพบว่าเป็ นเหตุให้เกิด gingivitis และ periodontitis รุนแรงขึน หรือทาให้การรักษาโรคปริทนต์ยงยากขึน ้ ั ุ่ ้
  • 2. นศ.ทพ.ณัฐภรณ์ หลวงเทพ Classification Masters and Hoskins ได้จาแนกในปี 1964 โดยขึนกับระดับการขยายของ cervical enamel projection ไป ้ ยังบริเวณ furcation ั ่ ั ั Grade I เคลือบฟนยืนยาวจากรอยต่อเคลือบฟนและเคลือบรากฟนเล็กน้อย ลักษณะนี้พบบ่อย รักษาด้วยการกรอส่วน ่ ั ยืนเคลือบฟนออก เพือให้เกิดการยึดติดของเยื่อบุผวเชือมต่อ ่ ิ ่ ั ั ั ั Grade II เคลือบฟนยื่นยาวจากรอยต่อเคลือบฟนและเคลือบรากฟนมากกว่า Grade I แต่ไม่ถงช่องรากฟน (furcation) ึ ั ั Grade III เคลือบฟนยื่นยาวไปถึงบริเวณช่องรากฟน (furcation) Grade II และ Grade III รักษาด้วยการทาศัลยกรรมปริทนต์ โดยแก้ไขร่องลึกปริทนต์ และกรอส่วนยื่นเคลือบ ั ั ั ั ฟนให้หมด ใช้สารละลายกรดซิทริก (citric acid) อิมตัว pH เท่ากับ 1 ทาผิวฟนประมาณ 2-3 นาที ล้างด้วยน้ าเกลือและ ่ ่ ั ั ิี ั เย็บแผ่นเหงือก เพือเกิดการยึดเกาะของอวัยวะปริทนต์ ถ้ากระดูกเบ้าฟนเหลือน้อยก็ใช้วธถอนฟน Prevalence ั 1. prevalence ของ CEPs อยูในช่วง 8.6 – 32.6% ในฟนกรามใหญ่ ่ ้ ่ ั ั 2. prevalence ของ CEPs จะแตกต่างกันไปขึนอยูกบว่าเป็ นฟนกรามใหญ่ซทหนึ่ง, สอง หรือสาม ่ี ่ี ั ั 3. ในฟน mandibular molar พบ prevalence ของ CEPs มากกว่าในฟน maxillary molar 4. พบ prevalence สูงทีสดใน mandibular และ maxillary second molars ุ่ 5. CEPs เคยมีรายงานว่าพบที่ maxillary central incisors และ premolar 6. พบมากทีดาน buccal ่ ้ 7. Grade II enamel projection มี prevalence สูงกว่า Significance 1. Atkinson ปี 1949 พบความสัมพันธ์ระหว่าง CEPs และการเกิดร่องลึกปริทนต์ ั 2. Masters และ Hoskins ปี 1964 ได้กล่าวว่าเมือ CEPs extend ไปที่ root furcation แล้ว fiber ของ periodontal ่ ั ligament จะไม่เกิดการยึดติดของ connective tissue attachment บน enamel จึงสรุปว่า CEPs เป็ นปจจัยเสริมทีทาให้ ่ เกิดโรคปริทนต์ ั Case Report ชายอายุ 24 ปี มาด้วยอาการ bleeding gum หลังจากการซักประวัติ ตรวจทางคลินิกและภาพถ่ายรังสีวนิจฉัย ิ เป็ น localized chronic periodontitis ลักษณะทางคลินิกพบ deep periodontal pockets บริเวณด้านลินและพบ ้ ้ ั furcation involvement grade II ทังด้านซ้ายและขวาของฟนกรามล่างซีแรก ภาพถ่ายทางรังสีพบ cervical enamel ่ projection; ได้รกษาโดย open flap debridement ทาให้เห็น Grade II cervical enamel projection บริเวณด้านลินของ ั ้ ซี่ #36 และ #46 จากนันทาการลดระดับของ crestal bone ด้วยวิธี odontoplasty ตามด้วย regenerative procedure ้ หลังจากนันนัดมาติดตาม 6 เดือนพบว่า clinical attachment เพิมขึนและร่องปริทนต์ลดลง ้ ่ ้ ั
  • 3. นศ.ทพ.ณัฐภรณ์ หลวงเทพ Discussion ่ ่ ุ่ ั CEPs เป็ นการเปลียนแปลงลักษณะทางกายภาพทีพบบ่อยทีสดในฟน molar มักเกิดบริเวณ mid-cervical line และมีรปร่าง V-shaped ผิวเรียบหรือขรุขระ สัมพันธ์กบ chronic periodontal infection in furcal areas and with ู ั inflammatory cysts ทีเรียกว่า buccal bifurcation cysts ซึงมักเกิดใน younger children CEPs สามารถตรวจได้โดย ่ ่ การใช้ explorer หรือ probe, radiograph หรือระหว่าง surgical intervention CEPs มักจะเกียวข้องกับการเกิดร่อง ่ ปริทนต์ลุกลามอย่างรวดเร็ว เพราะตาแหน่งและลักษณะทางกายภาพ เนื่องจากการยึดติดของ organic connective ั tissue attachment จะไม่เกิดบน enamel ทาให้ความต้านทานต่อการ breakdown ของ bacterial plaque ลดลงจึงเกิด ่ ั ั การดาเนินโรคอย่างรวดเร็ว รวมทังการทีฟนหรือรากฟนข้างเคียงอยูชดกันเกินไป นอกจากนี้การทาความสะอาด ้ ่ ิ ั ั ่ ่ี บริเวณซอกฟนของฟนซีทรากชิดกันมากจะทาได้ยาก เกิดการสะสมของคราบจุลนทรียซงเป็ นสาเหตุของโรคปริทนต์ ิ ์ ่ึ ั ั ในบางรายงานได้แนะนาวิธการรักษาฟนหลายรากทีม ี furcation involvement ซึงสัมพันธ์กบ enamel ี ่ ่ ั projections โดยหนึ่งในเทคนิคนันคือ surgical procedures เช่น modified Widman flap หรือ exicisional new ้ attachment procedure combined with furcationplasty เป็ นการช่วยสร้าง collagen fiber attachment ใน grade I และทาให้ furcal lesion ใน grade II ตืนขึน รวมทังยังสามารถเข้าไปทาความสะอาดด้วยอุปกรณ์อ่นๆ ใน grade III ้ ้ ้ ื และ IV ได้สะดวกขึน สาหรับใน case นี้ ได้ทาการรักษาโดย surgical procedure โดยภาพถ่ายรังสีแสดงให้เห็นว่า ้ cervical enamel projections ขยายออกไปต่ากว่า crest of bone ได้เปิด flap และ debridement ทาให้เห็นว่าเป็ น grade II cervical enamel projection ทางด้าน lingual ของ mandibular first molar ทังทางด้านซ้ายและขวา ้ Conclusion ั Cervical enamel projections เป็ นปจจัยรองทีตองพิจารณาในการเกิดการทาลายอวัยวะปริทนต์ และ ่ ้ ั ั attachment loss แม้วาจะมีปจจัยเสียงในการทาลายมากขึน แต่ใน mandibular teeth ทีม ี bifurcation defects ควรมี ่ ่ ้ ่ เกณฑ์ในการทา regenerative procedures Palatogingival groove (Radicular Groove, Disto-lingual Groove) ่ ิ ั Palatogingival groove เป็ นพัฒนาการทีผดปกติแต่กาเนิด มักพบในฟนตัดบนซีขางมากกว่าซีกลาง ร่องลึก ่ ้ ่ ั ั เริมจากแอ่งตรงกลาง (central fossa) ทางด้านเพดานปาก มีทศทางจากรอยต่อเคลือบฟนกับเคลือบรากฟน ลงลึกทาง ่ ิ ปลายรากในระยะทางทีแตกต่างกัน เกิดคราบจุลนทรียสะสมได้งายและกาจัดออกยาก ทาให้เกิดร่องลึกปริทนต์ในแนว ่ ิ ์ ่ ั แคบ และทาลายอวัยวะปริทนต์ลุกลามอย่างรวดเร็ว มีการศึกษาโดย Hov และ Tsal สรุปได้วา ั ่ 1) อัตราการเกิด palatogingival groove นี้จะไม่ขนกับเพศ ้ึ ่ ั ่ ้ ั 2) พบทีบริเวณฟนตัดซีขาง (lateral incisor) มากกว่าฟนตัดซีกลาง (cental incisor) ่
  • 4. นศ.ทพ.ณัฐภรณ์ หลวงเทพ 3) ส่วนใหญ่จะพบอยูตรงกลาง (mid-palatal) มากกว่าอยูดานใกล้กลางหรือไกลกลาง (mesial or distal) แต่ ่ ่ ้ อย่างไรก็ตามพบว่าการมี palatogingival groove ทีบริเวณด้านใกล้กลางหรือไกลกลางจะสัมพันธ์กบการ ่ ั มีรองลึกปริทนต์มากกว่า ่ ั 4) พบว่ามีความสัมพันธ์กนโดยตรงระหว่างการมี palatogingival groove กับการสะสมของแผ่นคราบ ั จุลนทรียและการเกิดร่องลึกปริทนต์ ิ ์ ั ั ่ Prognosis ของฟนทีม ี Palatogingival groove ขึนกับ ้ - Location - Depth - Extension of the groove and extend of periodontal destruction การรักษา 1. Curettage of the affected tissues 2. Elimination of the groove โดยการ grinding 3. Sealing ด้วย filling material ถ้า groove extend ไปยัง middle third ของ root apex การรักษาทีแนะนา คือ surgical procedure รวมทังการใช้ ่ ้ ั ั barrier/ intraosseous graft ปจจุบนได้มการนาเอา enamel matrix derivatives (Emdogain) เป็ น barrier ในการรักษา ี ซึงผลิตภัณฑ์น้ีประกอบด้วย hydrophobic enamel matrix proteins ทีสกัดมาจาก porcine มีรายงานจาก Hoshino ่ ่ และ Hamamoto ว่าสามารถนา Emdogain ไปใช้ในการ transplant และ replant teeth เพือช่วยให้เกิดการสร้าง ่ periodontal ligament, promote healing of root resorption, ป้องกันการเกิด ankylosis Reference Nilofar B. Attar, Mangesh B. Phadnaik. Bilateral cervicoenamel projection and its management: A case report with lingual involvement. Journal of Indian Society of Periodontology. 2009;13:168-71. Kanika Attam et.al. Palatogingival Groove: Endodontic-periodontal Management-Case report. J Endod 2010;36:1717-20.