SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
บทที่ 7 อินเทอรเน็ตเบื้องตน

อินเทอรเน็ตคืออะไร

อินเทอรเน็ต(Internet) คือเครือขายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือขายเล็ก ๆ มากมาย รวมเปน
เครือขายเดียวกันทั้งโลก หรือทั้งจักรวาล
อินเทอรเน็ต(Internet)คือ เครือขายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงกันระหวางคอมพิวเตอรทั้งหมด ที่
ตองการเขามาในเครือขาย
อินเทอรเน็ต(Internetคือ) การเชื่อมตอกันระหวางเครือขาย
อินเทอรเน็ต(Internet) คือเครือขายของเครือขาย (A network of network)
สําหรับคําวา internet หากแยกศัพทจะไดออกมา 2 คําคือ คําวา Inter และคําวา net ซึ่ง Inter
หมายถึงระหวาง หรือทามกลาง และคําวา Net มาจากคําวา Network หรือเครือขาย เมื่อนํา
ความหมายของทั้ง 2 คํามารวมกัน จึงแปลไดวา การเชื่อมตอกันระหวางเครือขาย

ISP คืออะไร

ISP หรือ ผูใหบริการอินเทอรเน็ต คืออะไร ISP คือ บริษัทที่ใหบริการอินเทอรเน็ต (ซึ่งบางครั้ง
เรียก ISPs ก็มีความหมายอยางเดียวกัน-ผูเขียน) ยอมาจากคําวา Internet Service Provider ตาม
หนังสือศัพทคอมพิวเตอร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพครั้งที่ 4 ไดระบุความหมายวาหมายถึง
"ผูใหบริการอินเตอรเน็ต" ISPเปนหนวยงานที่บริการใหเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล
หรือเครือขายคอมพิวเตอรของบริษัท เขากับเครือขายอินเทอรเน็ตทั่วโลก ในปจจุบันประเทศ
ไทยมีผูใหบริการอินเทอรเน็ตอยูดวยกัน 2 ประเภท คือ หนวยงานราชการหรือสถาบันการศึกษา
กับบริษัทผูใหบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชยทั่วไป ISP ที่เปนหนวยงานราชการ หรือ
สถาบันการศึกษา มักจะเปนการใหบริการฟรีสําหรับสมาชิกขององคการเทานั้น แตสําหรับ ISP
ประเภทที่ใหบริการในเชิงพาณิชย ผูใชที่ตองการใชงานอินเทอรเน็ตจะตองสมัครเขาเปนสมาชิก
ของ ISP รายนั้นๆ ซึ่งตองเสียคาใชจายตาง ๆ ในการใชงานอินเทอรเน็ต ซึ่งอัตราคาบริการจะ
ขึ้นอยูกับ ISP แตละราย ขอดีสําหรับผูใชบริการอินเทอรเน็ตในเชิงพาณิชยก็คือ การใหบริการที่
มีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งรองรับกับความตองการของผูใชที่แตกตางกัน มีทั้งรูปแบบสวนบุคคล
ซึ่งจะใหบริการกับประชาชนทั่วไปที่ตองการใชงานอินเทอรเน็ต และบริการในรูปแบบของ
องคกร หรือบริษัท ซึ่งใหบริการกับบริษัทหางราน หรือองคกรตาง ๆ ที่ตองการใหพนักงานใน
องคกรไดใชงานเครือขายอินเทอรเน็ต ISP จะเปนเสมือนตัวแทนของผูใชอินเทอรเน็ตเพื่อเขาถึง
แหลงขอมูลตาง ๆ ถาผูใชอินเทอรเน็ตตองการขอมูลอะไรก็สามารถติดตอผาน ISP ไดทุกเวลา
โดยวิธีการสมัครสมาชิกนั้น เราสามารถโทรศัพทติดตอไปยัง ISP ที่ใหบริการตาง ๆ ซึ่งเรา
สามารถเลือกรับบริการได 2 วิธี คือ ซื้อชุดอินเทอรเน็ตสําเร็จรูปตามรานทั่วไปมาใช และสมัคร
เปนสมาชิกรายเดือน โดยใชวิธีการติดตอเขาไปยัง ISP โดยตรง ซึ่งวิธีการ และรายละเอียดใน
การใหบริการของแตละที่นั้นจะแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับรูปแบบการใหบริการของ ISP รายนั้น
ๆ จะกําหนด ในการเลือก ISP นั้น ตองพิจารณาความเหมาะสมในการใชงานของเราเปนหลัก
โดยมีหลักในการพิจารณาหลายอยางดวยกัน เชน ความนาเชื่อถือของผูใหบริการอินเทอรเน็ตวา
มีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับหรือไม ดําเนินธุรกิจดานนี้มากี่ป มีสมาชิกใชบริการมากนอยขนาดไหน
มีการขยายสาขาเพื่อใหบริการไปยังตางจังหวัดหรือไม มีการลงทุนที่จะพัฒนาการใหบริการมาก
นอยเพียงใด เปนตน ประสิทธิภาพของตัวระบบ ก็เปนสวนสําคัญที่เราจําเปนตองพิจารณาดวย
เชน ความเร็วในการรับ/สง สม่ําเสมอหรือไม (บางครั้งเร็วบางครั้งชามาก) สายโทรศัพทตนทาง
หลุดบอยหรือไม หรือในบางกรณีที่เรากําลังถายโอนขอมูล มายังเครื่องคอมพิวเตอรปรากฏวาใช
งานไมได การเชื่อมตอไปยังตางประเทศ ไปทีใดบางดวยความเร็วเทาไหร และการเชื่อมตอกับ
                                                ่
ผูใชอินเทอรเน็ตในประเทศเปนอยางไร มีสายสัญญาณหลักที่เร็ว หรือมีประสิทธิภาพสูงมาก
เพียงใด เพราะปจจัยเหลานี้จะมีผลตอความเร็วในการใชอินเทอรเน็ตดวย งานหลักของ ISP ISP
: Internet Service Provider คือ บริษทที่ใหบริการทางดานอินเทอรเน็ต เปนเสมือนตัวแทนของ
                                      ั
ผูใชอินเทอรเน็ตเพื่อเขาถึงแหลงขอมูลตาง ๆ ถาผูใชอินเทอรเน็ตตองการขอมูลอะไรก็สามารถ
ติดตอผาน ISP ไดทุกเวลา ตลอด 24 ชั่วโมง โดยการเลือก ISP นั้น ตองพิจารณาความเหมาะสม
ในการใชงานของเราเปนหลัก รวมถึงคาบริการก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่เราตองคํานึงถึง โดย
หลักการพิจารณา ISP นั้น เราตองดูวา ISP มีสายสัญญาณหลักที่เร็ว หรือมีประสิทธิภาพสูงมาก
เพียงใด มีสมาชิกใชบริการมากนอยขนาดไหน เพราะปจจัยเหลานี้จะมีผลตอความเร็วในการใช
อินเทอรเน็ตดวย โดยวิธีการสมัครสมาชิกนั้น เราสามารถโทรศัพทติดตอไปยัง ISP ที่ใหบริการ
ตาง ๆ ซึ่งเราสามารถเลือกรับบริการได 2 วิธี คือ ซื้อชุดอินเทอรเน็ตสําเร็จรูปตามรานทั่วไปไป
ใช และสมัครเปนสมาชิกรายเดือน โดยใชวิธีการติดตอเขาไปยัง ISP โดยตรง ซึ่งวิธีการ และ
รายละเอียดในการใหบริการของแตละที่นั้นจะแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับรูปแบบการใหบริการ
ของ ISP รายนั้น ๆ จะกําหนด หนาที่โดยทั่วไปของ ISP ก็อยางที่บอกแตแรกวาคําวา ISP มี
หลายความหมาย หลายบทบาท ซึ่งแตละบทบาทนั้นความรับผิดก็จะแตกตางกันออกไป ในที่นี้
จะขอกลาวถึงในความหมายที่เขาใจกันโดยทั่วไป คือ ผูใหบริการอินเทอรเนตโดยจะรวมไปถึง
บริการ Webhosting ซึ่งหมายถึง บริการใหเชาพื้นที่ Website และผูที่ทําหนาที่ดูแล Webboard
สาธารณะ โดยอาจรวมถึง Webmaster ที่มีความรับผิดชอบโดยตรงกับขอมูลที่ปรากฏบนเว็บ
ดวย หนาที่หลักๆของ ISP ก็คือ การใหบริการทางอินเทอรเน็ต การดูแล Website การตรวจสอบ
ขอมูลที่จะผานออกไปลงในเว็บ ผูใหบริการ ISP มี 18 แหงคือ 1.บริษัท ล็อกซเลย อินฟอรเมชั่น
เซอรวิส จํากัด 2. บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเทอรเน็ต จํากัด 3. บริษัท อินโฟ แอคเซส
จํากัด 4. บริษัท สามารถ อินโฟเน็ต จํากัด 5. บริษัท เอเน็ต จํากัด 6. บริษัท ไอเน็ต (ประเทศไทย)
จํากัด 7. บริษัท เวิลดเน็ต แอน เซอรวิส จํากัด 8. บริษัท ดาตา ลายไทย จํากัด 9. บริษัท เอเชีย อิน
โฟเน็ต จํากัด 10. บริษัท ดิไอเดีย คอรปอเรชั่น ประเทศไทย จํากัด 11. บริษัท สยาม โกลบอล
แอกเซส จํากัด 12. บริษัท ซีเอส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 13. บริษัท อินเทอรเน็ตประเทศไทย จํากัด
14. บริษัท ชมะนันท เวิลดเน็ต จํากัด 15. บริษัท ฟารอีสต อินเทอรเน็ต จํากัด 16. บริษัท อีซีเน็ต
จํากัด 17. บริษัท เคเบิล วายเลส จํากัด 18. บริษัท รอยเน็ต จํากัด (มหาชน)

อินเทอรเน็ตมีความเปนมาอยางไร

           ◦ อินเทอรเน็ตซึ่งเปนโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects
             Agency Network) ซึ่งเปนหนวยงานที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ
             (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกกอตั้งเมื่อประมาณ ปค.ศ.1960(พ.ศ.
             2503) และไดถูกพัฒนาเรื่อยมา
           ◦ ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) ARPA ไดรับทุนสนันสนุน จากหลายฝาย ซึ่งหนึ่งใน
             ผูสนับสนุนก็ คือ Edward Kenedy และเปลี่ยนชื่อจาก ARPA เปน
             DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พรอมเปลียนแปลง่
             นโยบายบางอยาง และในปค.ศ.1969(พ.ศ.2512)นี้เองที่ไดทดลองการเชื่อมตอ
             คอมพิวเตอรคนละชนิด จาก 4 แหงเขาหากันเปนครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัย
             แคลิฟอรเนีย สถาบันวิจัยสแตนฟอรด มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย และ
             มหาวิทยาลัยยูทาห เครือขายทดลองประสบความสําเร็จอยางมาก ดังนั้นในปค.ศ.
             1975(พ.ศ.2518) จึงไดเปลี่ยนจากเครือขายทดลอง เปนเครือขายที่ใชงานจริง ซึ่ง
             DARPA ไดโอนหนาที่รับผิดชอบโดยตรง ใหแก หนวยการสื่อสารของกองทัพ
             สหรัฐ (Defense Communications Agency - ปจจุบันคือ Defense Informations
Systems Agency) แตในปจจุบัน Internet มีคณะทํางานที่รับผิดชอบบริหาร
     เครือขายโดยรวม เชน ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงคหลัก, IAB
     (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมัติมาตรฐานใหมในInternet, IETF
     (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใชกับ Internet ซึ่งเปนการ
     ทํางานโดยอาสาสมัคร ทั้งสิ้น
◦   ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) DARPA ตัดสินใจนํา TCP/IP (Transmission Control
     Protocal/Internet Protocal) มาใชกับคอมพิวเตอรทุกเครื่องในระบบ ทําใหเปน
     มาตรฐานของวิธีการติดตอ ในระบบเครือขาย Internet จนกระทั่งปจจุบัน จึง
     สังเกตุไดวา ในเครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่องที่จะตอ internet ไดจะตองเพิ่ม
     TCP/IP ลงไปเสมอ เพราะ TCP/IP คือ ขอกําหนดที่ทําใหคอมพิวเตอรทั่วโลก
     ทุก platform คุยกันรูเรื่อง และสื่อสารกันไดอยางถูกตอง
◦   การกําหนดชื่อโดเมน (Domain Name System) มีขึ้นเมื่อ ค.ศ.1986(พ.ศ.2529)
     เพื่อสรางฐานขอมูลแบบกระจาย (Distribution database) อยูในแตละเครือขาย
     และให ISP(Internet Service Provider) ชวยจัดทําฐานขอมูลของตนเอง จึงไม
     จําเปนตองมีฐานขอมูลแบบรวมศูนย เหมือนแตกอน เชน การเรียกเว็บ
     www.yonok.ac.th จะไปที่ตรวจสอบวามีชื่อนี้ หรือไม ที่ www.thnic.co.th ซึ่งมี
     ฐานขอมูลของเว็บที่ลงทายดวย th ทั้งหมด เปนตน
◦   DARPA ไดทําหนาที่รับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื่อยมาจนถึง ค.ศ.1980(พ.ศ.
     2533) และให มูลนิธิวิทยาศาสตรแหงชาติ (National Science Foundation - NSF)
     เขามาดูแลแทนรวม กับอีกหลายหนวยงาน
◦   ในความเปนจริง ไมมีใครเปนเจาของ internet และไมมีใครมีสิทธิขาดแตเพียงผู
     เดียว ในการกําหนดมาตรฐานใหมตาง ๆ ผูติดสินวาสิ่งไหนดี มาตรฐานไหนจะ
     ไดรับการยอมรับคือ ผูใช ที่กระจายอยูทั่วทุกมุมโลก ที่ไดทดลองใชมาตรฐาน
     เหลานั้น และจะใชตอไปหรือไมเทานั้น สวนมาตรฐานเดิมที่เปนพื้นฐานของ
     ระบบ เชน TCP/IP หรือ Domain name ก็จะตองยึดตามนั้นตอไป เพราะ Internet
     เปนระบบกระจายฐานขอมูล การจะเปลี่ยนแปลงระบบพื้นฐาน จึงไมใชเรื่องงาย
     นัก
อินเทอรเน็ตเชื่อมตอกันไดอยางไร
http://scitech.rmutsv.ac.th/Departments/w/e-learning/comIT/html/o8.4.htm


เนื่องจากเครือขายอินเทอรเน็ตเหมือนรากแหที่แผไปทั่ว จึงมีจุดท ี่เชื่อมตอกันไปไดมากมาย
โดยผานเครื่องคอมพิวเตอรที่เชื่อมตออยูเดิม ซึ่งผูที่ไดรับการเชื่อมตอ ก็จะลงทุน

More Related Content

What's hot

Integrated services digital network isdn
Integrated services digital network  isdnIntegrated services digital network  isdn
Integrated services digital network isdnPiw ARSENAL
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1Rang Keerati
 
สอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียนสอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียนJuthaa Juni
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตBoMz Zilch
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1Rang Keerati
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rang Keerati
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดsirwit
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตObigo Cast Gaming
 
รู้จักกับ ทรู คอร์ปอเรชั่น New
รู้จักกับ ทรู คอร์ปอเรชั่น Newรู้จักกับ ทรู คอร์ปอเรชั่น New
รู้จักกับ ทรู คอร์ปอเรชั่น NewPePae Loeicity
 

What's hot (16)

Integrated services digital network isdn
Integrated services digital network  isdnIntegrated services digital network  isdn
Integrated services digital network isdn
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
 
สอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียนสอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียน
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
Connect1
Connect1Connect1
Connect1
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
รู้จักกับ ทรู คอร์ปอเรชั่น New
รู้จักกับ ทรู คอร์ปอเรชั่น Newรู้จักกับ ทรู คอร์ปอเรชั่น New
รู้จักกับ ทรู คอร์ปอเรชั่น New
 
Phu
PhuPhu
Phu
 
สอบปลสยภาค
สอบปลสยภาคสอบปลสยภาค
สอบปลสยภาค
 

Viewers also liked

Parallel minds silverlight
Parallel minds silverlightParallel minds silverlight
Parallel minds silverlightparallelminder
 
Defeating Online Destraction
Defeating Online DestractionDefeating Online Destraction
Defeating Online DestractionRambo Ruiz
 
Scan, Import, and Automatically File documents to SkyDrive with ccScan
Scan, Import, and Automatically File documents to SkyDrive with ccScanScan, Import, and Automatically File documents to SkyDrive with ccScan
Scan, Import, and Automatically File documents to SkyDrive with ccScanCapture Components LLC
 
Food Processing Industry - Scaling New Heights
Food Processing Industry - Scaling New HeightsFood Processing Industry - Scaling New Heights
Food Processing Industry - Scaling New HeightsDivyaroop Bhatnagar
 
CUSTOMER CENTRIC ENTERPRISE - Big Data Part 1. Aligning IT and Marketing
CUSTOMER CENTRIC ENTERPRISE - Big Data Part 1. Aligning IT and MarketingCUSTOMER CENTRIC ENTERPRISE - Big Data Part 1. Aligning IT and Marketing
CUSTOMER CENTRIC ENTERPRISE - Big Data Part 1. Aligning IT and MarketingPetri Pekkarinen
 
Restoring SharePoint Frontend server
Restoring SharePoint Frontend serverRestoring SharePoint Frontend server
Restoring SharePoint Frontend serverparallelminder
 
Research Methodology" The Scholar's Life."
Research Methodology" The Scholar's Life."Research Methodology" The Scholar's Life."
Research Methodology" The Scholar's Life."Vadher Ankita
 
Search for My Tongue by Sujata Bhatt.
Search for My Tongue by Sujata Bhatt.Search for My Tongue by Sujata Bhatt.
Search for My Tongue by Sujata Bhatt.Vadher Ankita
 

Viewers also liked (18)

Score m456
Score m456Score m456
Score m456
 
Parallel minds silverlight
Parallel minds silverlightParallel minds silverlight
Parallel minds silverlight
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Defeating Online Destraction
Defeating Online DestractionDefeating Online Destraction
Defeating Online Destraction
 
Work5
Work5Work5
Work5
 
Scan, Import, and Automatically File documents to SkyDrive with ccScan
Scan, Import, and Automatically File documents to SkyDrive with ccScanScan, Import, and Automatically File documents to SkyDrive with ccScan
Scan, Import, and Automatically File documents to SkyDrive with ccScan
 
Tcp
TcpTcp
Tcp
 
Details all55
Details all55Details all55
Details all55
 
Food Processing Industry - Scaling New Heights
Food Processing Industry - Scaling New HeightsFood Processing Industry - Scaling New Heights
Food Processing Industry - Scaling New Heights
 
Cbcs2
Cbcs2Cbcs2
Cbcs2
 
System
SystemSystem
System
 
Score m4 2555(1)
Score m4 2555(1)Score m4 2555(1)
Score m4 2555(1)
 
CUSTOMER CENTRIC ENTERPRISE - Big Data Part 1. Aligning IT and Marketing
CUSTOMER CENTRIC ENTERPRISE - Big Data Part 1. Aligning IT and MarketingCUSTOMER CENTRIC ENTERPRISE - Big Data Part 1. Aligning IT and Marketing
CUSTOMER CENTRIC ENTERPRISE - Big Data Part 1. Aligning IT and Marketing
 
Restoring SharePoint Frontend server
Restoring SharePoint Frontend serverRestoring SharePoint Frontend server
Restoring SharePoint Frontend server
 
Research Methodology" The Scholar's Life."
Research Methodology" The Scholar's Life."Research Methodology" The Scholar's Life."
Research Methodology" The Scholar's Life."
 
World class
World classWorld class
World class
 
Search for My Tongue by Sujata Bhatt.
Search for My Tongue by Sujata Bhatt.Search for My Tongue by Sujata Bhatt.
Search for My Tongue by Sujata Bhatt.
 
Cut
CutCut
Cut
 

Similar to Internet7.1

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Min Jidapa
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Maprangmp
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1gotchagon
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นAmmarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ammarirat
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตburin rujjanapan
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)Paveenut
 

Similar to Internet7.1 (20)

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
 
Ch02
Ch02Ch02
Ch02
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
 

Internet7.1

  • 1. บทที่ 7 อินเทอรเน็ตเบื้องตน อินเทอรเน็ตคืออะไร อินเทอรเน็ต(Internet) คือเครือขายนานาชาติ ที่เกิดจากเครือขายเล็ก ๆ มากมาย รวมเปน เครือขายเดียวกันทั้งโลก หรือทั้งจักรวาล อินเทอรเน็ต(Internet)คือ เครือขายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงกันระหวางคอมพิวเตอรทั้งหมด ที่ ตองการเขามาในเครือขาย อินเทอรเน็ต(Internetคือ) การเชื่อมตอกันระหวางเครือขาย อินเทอรเน็ต(Internet) คือเครือขายของเครือขาย (A network of network) สําหรับคําวา internet หากแยกศัพทจะไดออกมา 2 คําคือ คําวา Inter และคําวา net ซึ่ง Inter หมายถึงระหวาง หรือทามกลาง และคําวา Net มาจากคําวา Network หรือเครือขาย เมื่อนํา ความหมายของทั้ง 2 คํามารวมกัน จึงแปลไดวา การเชื่อมตอกันระหวางเครือขาย ISP คืออะไร ISP หรือ ผูใหบริการอินเทอรเน็ต คืออะไร ISP คือ บริษัทที่ใหบริการอินเทอรเน็ต (ซึ่งบางครั้ง เรียก ISPs ก็มีความหมายอยางเดียวกัน-ผูเขียน) ยอมาจากคําวา Internet Service Provider ตาม หนังสือศัพทคอมพิวเตอร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพครั้งที่ 4 ไดระบุความหมายวาหมายถึง "ผูใหบริการอินเตอรเน็ต" ISPเปนหนวยงานที่บริการใหเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล หรือเครือขายคอมพิวเตอรของบริษัท เขากับเครือขายอินเทอรเน็ตทั่วโลก ในปจจุบันประเทศ ไทยมีผูใหบริการอินเทอรเน็ตอยูดวยกัน 2 ประเภท คือ หนวยงานราชการหรือสถาบันการศึกษา กับบริษัทผูใหบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชยทั่วไป ISP ที่เปนหนวยงานราชการ หรือ สถาบันการศึกษา มักจะเปนการใหบริการฟรีสําหรับสมาชิกขององคการเทานั้น แตสําหรับ ISP ประเภทที่ใหบริการในเชิงพาณิชย ผูใชที่ตองการใชงานอินเทอรเน็ตจะตองสมัครเขาเปนสมาชิก ของ ISP รายนั้นๆ ซึ่งตองเสียคาใชจายตาง ๆ ในการใชงานอินเทอรเน็ต ซึ่งอัตราคาบริการจะ ขึ้นอยูกับ ISP แตละราย ขอดีสําหรับผูใชบริการอินเทอรเน็ตในเชิงพาณิชยก็คือ การใหบริการที่ มีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งรองรับกับความตองการของผูใชที่แตกตางกัน มีทั้งรูปแบบสวนบุคคล ซึ่งจะใหบริการกับประชาชนทั่วไปที่ตองการใชงานอินเทอรเน็ต และบริการในรูปแบบของ องคกร หรือบริษัท ซึ่งใหบริการกับบริษัทหางราน หรือองคกรตาง ๆ ที่ตองการใหพนักงานใน
  • 2. องคกรไดใชงานเครือขายอินเทอรเน็ต ISP จะเปนเสมือนตัวแทนของผูใชอินเทอรเน็ตเพื่อเขาถึง แหลงขอมูลตาง ๆ ถาผูใชอินเทอรเน็ตตองการขอมูลอะไรก็สามารถติดตอผาน ISP ไดทุกเวลา โดยวิธีการสมัครสมาชิกนั้น เราสามารถโทรศัพทติดตอไปยัง ISP ที่ใหบริการตาง ๆ ซึ่งเรา สามารถเลือกรับบริการได 2 วิธี คือ ซื้อชุดอินเทอรเน็ตสําเร็จรูปตามรานทั่วไปมาใช และสมัคร เปนสมาชิกรายเดือน โดยใชวิธีการติดตอเขาไปยัง ISP โดยตรง ซึ่งวิธีการ และรายละเอียดใน การใหบริการของแตละที่นั้นจะแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับรูปแบบการใหบริการของ ISP รายนั้น ๆ จะกําหนด ในการเลือก ISP นั้น ตองพิจารณาความเหมาะสมในการใชงานของเราเปนหลัก โดยมีหลักในการพิจารณาหลายอยางดวยกัน เชน ความนาเชื่อถือของผูใหบริการอินเทอรเน็ตวา มีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับหรือไม ดําเนินธุรกิจดานนี้มากี่ป มีสมาชิกใชบริการมากนอยขนาดไหน มีการขยายสาขาเพื่อใหบริการไปยังตางจังหวัดหรือไม มีการลงทุนที่จะพัฒนาการใหบริการมาก นอยเพียงใด เปนตน ประสิทธิภาพของตัวระบบ ก็เปนสวนสําคัญที่เราจําเปนตองพิจารณาดวย เชน ความเร็วในการรับ/สง สม่ําเสมอหรือไม (บางครั้งเร็วบางครั้งชามาก) สายโทรศัพทตนทาง หลุดบอยหรือไม หรือในบางกรณีที่เรากําลังถายโอนขอมูล มายังเครื่องคอมพิวเตอรปรากฏวาใช งานไมได การเชื่อมตอไปยังตางประเทศ ไปทีใดบางดวยความเร็วเทาไหร และการเชื่อมตอกับ ่ ผูใชอินเทอรเน็ตในประเทศเปนอยางไร มีสายสัญญาณหลักที่เร็ว หรือมีประสิทธิภาพสูงมาก เพียงใด เพราะปจจัยเหลานี้จะมีผลตอความเร็วในการใชอินเทอรเน็ตดวย งานหลักของ ISP ISP : Internet Service Provider คือ บริษทที่ใหบริการทางดานอินเทอรเน็ต เปนเสมือนตัวแทนของ ั ผูใชอินเทอรเน็ตเพื่อเขาถึงแหลงขอมูลตาง ๆ ถาผูใชอินเทอรเน็ตตองการขอมูลอะไรก็สามารถ ติดตอผาน ISP ไดทุกเวลา ตลอด 24 ชั่วโมง โดยการเลือก ISP นั้น ตองพิจารณาความเหมาะสม ในการใชงานของเราเปนหลัก รวมถึงคาบริการก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่เราตองคํานึงถึง โดย หลักการพิจารณา ISP นั้น เราตองดูวา ISP มีสายสัญญาณหลักที่เร็ว หรือมีประสิทธิภาพสูงมาก เพียงใด มีสมาชิกใชบริการมากนอยขนาดไหน เพราะปจจัยเหลานี้จะมีผลตอความเร็วในการใช อินเทอรเน็ตดวย โดยวิธีการสมัครสมาชิกนั้น เราสามารถโทรศัพทติดตอไปยัง ISP ที่ใหบริการ ตาง ๆ ซึ่งเราสามารถเลือกรับบริการได 2 วิธี คือ ซื้อชุดอินเทอรเน็ตสําเร็จรูปตามรานทั่วไปไป ใช และสมัครเปนสมาชิกรายเดือน โดยใชวิธีการติดตอเขาไปยัง ISP โดยตรง ซึ่งวิธีการ และ รายละเอียดในการใหบริการของแตละที่นั้นจะแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับรูปแบบการใหบริการ ของ ISP รายนั้น ๆ จะกําหนด หนาที่โดยทั่วไปของ ISP ก็อยางที่บอกแตแรกวาคําวา ISP มี หลายความหมาย หลายบทบาท ซึ่งแตละบทบาทนั้นความรับผิดก็จะแตกตางกันออกไป ในที่นี้
  • 3. จะขอกลาวถึงในความหมายที่เขาใจกันโดยทั่วไป คือ ผูใหบริการอินเทอรเนตโดยจะรวมไปถึง บริการ Webhosting ซึ่งหมายถึง บริการใหเชาพื้นที่ Website และผูที่ทําหนาที่ดูแล Webboard สาธารณะ โดยอาจรวมถึง Webmaster ที่มีความรับผิดชอบโดยตรงกับขอมูลที่ปรากฏบนเว็บ ดวย หนาที่หลักๆของ ISP ก็คือ การใหบริการทางอินเทอรเน็ต การดูแล Website การตรวจสอบ ขอมูลที่จะผานออกไปลงในเว็บ ผูใหบริการ ISP มี 18 แหงคือ 1.บริษัท ล็อกซเลย อินฟอรเมชั่น เซอรวิส จํากัด 2. บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเทอรเน็ต จํากัด 3. บริษัท อินโฟ แอคเซส จํากัด 4. บริษัท สามารถ อินโฟเน็ต จํากัด 5. บริษัท เอเน็ต จํากัด 6. บริษัท ไอเน็ต (ประเทศไทย) จํากัด 7. บริษัท เวิลดเน็ต แอน เซอรวิส จํากัด 8. บริษัท ดาตา ลายไทย จํากัด 9. บริษัท เอเชีย อิน โฟเน็ต จํากัด 10. บริษัท ดิไอเดีย คอรปอเรชั่น ประเทศไทย จํากัด 11. บริษัท สยาม โกลบอล แอกเซส จํากัด 12. บริษัท ซีเอส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 13. บริษัท อินเทอรเน็ตประเทศไทย จํากัด 14. บริษัท ชมะนันท เวิลดเน็ต จํากัด 15. บริษัท ฟารอีสต อินเทอรเน็ต จํากัด 16. บริษัท อีซีเน็ต จํากัด 17. บริษัท เคเบิล วายเลส จํากัด 18. บริษัท รอยเน็ต จํากัด (มหาชน) อินเทอรเน็ตมีความเปนมาอยางไร ◦ อินเทอรเน็ตซึ่งเปนโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเปนหนวยงานที่สังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกกอตั้งเมื่อประมาณ ปค.ศ.1960(พ.ศ. 2503) และไดถูกพัฒนาเรื่อยมา ◦ ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) ARPA ไดรับทุนสนันสนุน จากหลายฝาย ซึ่งหนึ่งใน ผูสนับสนุนก็ คือ Edward Kenedy และเปลี่ยนชื่อจาก ARPA เปน DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พรอมเปลียนแปลง่ นโยบายบางอยาง และในปค.ศ.1969(พ.ศ.2512)นี้เองที่ไดทดลองการเชื่อมตอ คอมพิวเตอรคนละชนิด จาก 4 แหงเขาหากันเปนครั้งแรก คือ มหาวิทยาลัย แคลิฟอรเนีย สถาบันวิจัยสแตนฟอรด มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย และ มหาวิทยาลัยยูทาห เครือขายทดลองประสบความสําเร็จอยางมาก ดังนั้นในปค.ศ. 1975(พ.ศ.2518) จึงไดเปลี่ยนจากเครือขายทดลอง เปนเครือขายที่ใชงานจริง ซึ่ง DARPA ไดโอนหนาที่รับผิดชอบโดยตรง ใหแก หนวยการสื่อสารของกองทัพ สหรัฐ (Defense Communications Agency - ปจจุบันคือ Defense Informations
  • 4. Systems Agency) แตในปจจุบัน Internet มีคณะทํางานที่รับผิดชอบบริหาร เครือขายโดยรวม เชน ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงคหลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมัติมาตรฐานใหมในInternet, IETF (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใชกับ Internet ซึ่งเปนการ ทํางานโดยอาสาสมัคร ทั้งสิ้น ◦ ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) DARPA ตัดสินใจนํา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มาใชกับคอมพิวเตอรทุกเครื่องในระบบ ทําใหเปน มาตรฐานของวิธีการติดตอ ในระบบเครือขาย Internet จนกระทั่งปจจุบัน จึง สังเกตุไดวา ในเครื่องคอมพิวเตอรทุกเครื่องที่จะตอ internet ไดจะตองเพิ่ม TCP/IP ลงไปเสมอ เพราะ TCP/IP คือ ขอกําหนดที่ทําใหคอมพิวเตอรทั่วโลก ทุก platform คุยกันรูเรื่อง และสื่อสารกันไดอยางถูกตอง ◦ การกําหนดชื่อโดเมน (Domain Name System) มีขึ้นเมื่อ ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เพื่อสรางฐานขอมูลแบบกระจาย (Distribution database) อยูในแตละเครือขาย และให ISP(Internet Service Provider) ชวยจัดทําฐานขอมูลของตนเอง จึงไม จําเปนตองมีฐานขอมูลแบบรวมศูนย เหมือนแตกอน เชน การเรียกเว็บ www.yonok.ac.th จะไปที่ตรวจสอบวามีชื่อนี้ หรือไม ที่ www.thnic.co.th ซึ่งมี ฐานขอมูลของเว็บที่ลงทายดวย th ทั้งหมด เปนตน ◦ DARPA ไดทําหนาที่รับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื่อยมาจนถึง ค.ศ.1980(พ.ศ. 2533) และให มูลนิธิวิทยาศาสตรแหงชาติ (National Science Foundation - NSF) เขามาดูแลแทนรวม กับอีกหลายหนวยงาน ◦ ในความเปนจริง ไมมีใครเปนเจาของ internet และไมมีใครมีสิทธิขาดแตเพียงผู เดียว ในการกําหนดมาตรฐานใหมตาง ๆ ผูติดสินวาสิ่งไหนดี มาตรฐานไหนจะ ไดรับการยอมรับคือ ผูใช ที่กระจายอยูทั่วทุกมุมโลก ที่ไดทดลองใชมาตรฐาน เหลานั้น และจะใชตอไปหรือไมเทานั้น สวนมาตรฐานเดิมที่เปนพื้นฐานของ ระบบ เชน TCP/IP หรือ Domain name ก็จะตองยึดตามนั้นตอไป เพราะ Internet เปนระบบกระจายฐานขอมูล การจะเปลี่ยนแปลงระบบพื้นฐาน จึงไมใชเรื่องงาย นัก