SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
บทที่ 3 การจัดการหน่วยความจา
(Memory Management)
T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
หน่วยความจาเป็นส่วนที่สาคัญที่สุดในระบบคอมพิวเตอร์ ถือเป็นศูนย์กลาง
ให้การดาเนินการด้านต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นและมี
ประสิทธิภาพสูงสุด แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
1.หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
2.หน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory)
โดยแต่ละวิธีในการจัดเก็บข้อมูลทั้งสองส่วนมีข้อดีและข้อเสียต่างกันขึ้นอยู่
กับซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ที่เลือกใช้ว่าสอดคล้องและสนับสนุนการทางาน
และวิธีการที่จัดเก็บในหน่วยความจาที่เลือกใช้มากน้อยเพียงใด ดังรูปที่ 2.1
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
การจัดการหน่วยความจา (Memory Management)
ประกอบไปด้วยอารเรย์ขนาดใหญ่ (large array) ซึ่งภายในประกอบ
ไปเวิร์ด (words) และไบต์(bytes) ซึ่งแต่ละที่จะมีเลขตาแหน่ง (address) เป็น
ของตัวเอง
นอกจากนี้หน่วยความจาหลักยังทาหน้าที่เก็บชนิดกระบวนการใน
การประมวลผลคาสั่ง (a typical instruction-execution cycle) เพื่อให้หน่วย
ประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) นาไปใช้ในการประมวล
แล้วจึงส่งผลลัพธ์ของคาสั่งนั้นๆ กลับมาจัดเก็บกลับไว้ในหน่วยความจาหลัก
หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
รูปที่ 2.1.แสดงกระบวนการทางานของหน่วยความจาหลัก (Main Memory)
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
เป็นเทคนิคที่อนุญาตให้โปรเซส (Process) สามารถประมวลผลได้
นอกหน่วยความจาหลักโดยไม่ต้องคานึงถึงขนาดพื้นที่ใช้ในการประมวลผล
ว่าเพียงพอกับขนาดของโปรแกรมหรือไม่
นอกจากนี้ยังง่ายต่อการแชร์ไฟล์(Share files) พื้นที่ว่าง (Address
Space) และเพิ่มประสิทธิภาพให้โปรเซสทางานได้เร็วขึ้น เพราะไม่ต้องคอย
ตรวจสอบขนาดของหน่วยความจาทางกายภาพ (Physical Memory)
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
หน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory)
• โดยทั่วไปโปรเซสที่จะถูกนาไปประมวลผลจะขึ้นอยู่กับการจัดการ
หน่วยความจาที่เลือกใช้โปรเซสอาจจะถูกเคลื่อนย้ายกลับไปกลับมา
ระหว่างดิสก์และหน่วยความจาก่อนที่มันจะถูกประมวลผล
• โดยระบบปฏิบัติการจะมีการเก็บโปรเซสที่รอประมวลผลตามลาดับคิว
(input queue) ของโปรเซสที่จะนาเข้ามาประมวลผลในหน่วยความจาร่วม
ทั้งยังเชื่อมโยงกับค่าเริ่มต้นของตาแหน่ง ระบบคอมพิวเตอร์มักเริ่มต้นค่า
ตาแหน่งเชื่อมโยงที่ค่า 00000 อีกยังแบ่งค่าที่เชื่อมโยงตาแหน่ง ได้เป็น ค่า
จริง (Absolute address) ของโปรเซสที่อยู่ในหน่วยความจา และค่า
ตาแหน่งที่สัมพันธ์ (Relative address) หรือชุดคาสั่งต่างๆ ที่ได้รับหลังจาก
การคอมไฟล์
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
การเชื่อมโยงตาแหน่ง (Address Binding)
1.ช่วงเวลาคอมไฟล์ (Compile time)
คือ ช่วงเวลาที่คาสั่งหรือข้อมูลถูกแปลคาสั่งโดยการคอมไฟล์โดย
ตัวคอมไฟเลอร์ (Compiler) โดยตัวคอมไฟเลอร์จะค้นหาตาแหน่งจริง
(Absolute Code) ในหน่วยความจาเมื่อพบแล้วจะสร้างโค้ดทาให้
ระบบปฏิบัติการสามารถประมวลผลคาสั่งหรือข้อมูลนั้นได้ทันที แต่หาก
ตาแหน่งจริงถูกเปลี่ยนแปลง ตัวคอมไฟเลอร์ก็จะทาการรีคอมไฟล์
(Recompile) โค้ดคาสั่งหรือข้อมูลนั้นใหม่ทุกครั้ง
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
การจาแนกการเชื่อมโยงของคาสั่งและตาแหน่งของข้อมูลในหน่วยความจาสามารถ
แบ่งแต่ละขั้นตอนตามช่วงเวลาได้ดังนี้
2.ช่วงเวลาโหลด (Load time)
ช่วงเวลาที่คาสั่งหรือข้อมูลถูกโหลดเข้าสู่หน่วยความจาโดยลาดับ
แรกตัวคอมไฟเลอร์จะสร้างโค้ดที่สามารถประมวลผลได้ทันที (Relocation
code)ขึ้นมาก่อน หลังจากคาสั่งหรือข้อมูลถูกโหลดเข้าสู่หน่วยความจาแล้ว
ตัวคอมไฟเลอร์จะทาการแปลตาแหน่งที่โหลดเข้ามาให้เป็นตาแหน่งจริง
(Absolute Code) เพื่อให้ระบบปฏิบัติการสามารถประมวลผลคาสั่งหรือ
ข้อมูลนั้นได้โดยไม่ต้องเสียเวลาในการคอมไฟล์ใหม่ทุกครั้ง แต่จะเสียเวลา
เฉพาะตอนโหลดคาสั่งหรือข้อมูลนั้นเข้ามาในหน่วยความจา
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
การจาแนกการเชื่อมโยงของคาสั่งและตาแหน่งของข้อมูลในหน่วยความจาสามารถ
แบ่งแต่ละขั้นตอนตามช่วงเวลาได้ดังนี้ (ต่อ)
3.ช่วงเวลาประมวลผล (Execution time)
ช่วงเวลาที่คาสั่งหรือข้อมูลถูกประมวลผล โดยตัวคอมไฟเลอร์จะทาการ
เชื่อมโยงตาแหน่งและแปลโค้ดคาสั่งหรือข้อมูลของตาแหน่งนั้นๆ เข้าไปเก็บไว้ใน
หน่วยความจาขณะที่ระบบปฏิบัติการกาลังประมวลผล (Run time) ทาให้
ระบบปฏิบัติการต้องเสียเวลาในการแปลตาแหน่งคาสั่งหรือข้อมูลต่างๆ ก่อนถูก
นามาเข้าสู่กระบวนการประมวลผลทุกครั้ง
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
การจาแนกการเชื่อมโยงของคาสั่งและตาแหน่งของข้อมูลในหน่วยความจาสามารถ
แบ่งแต่ละขั้นตอนตามช่วงเวลาได้ดังนี้ (ต่อ)
• จะมีการอ้างอิงถึงตาแหน่งที่เกี่ยวข้องอยู่2 ประเภทคือ
1.ตาแหน่งพื้นที่ทางตรรกะ (Logical Address Space) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า
ตาแหน่งเสมือน (Virtual Address) ซึ่งถูกสร้างขึ้น (Generate) โดยหน่วย
ประมวลผลกลาง (CPU) เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล โดยกลุ่มของตาแหน่ง
พื้นที่ทางตรรกะ (Logical Address Space) ทั้งหมดถูกสร้างโดยโปรแกรม
2.ตาแหน่งพื้นที่ทางกายภาพ (Physical Address Space)
คือตาแหน่งที่อยู่ในหน่วยความจาหลัก (Memory Unit) และทางานโดยตอบสนอง
(Corresponding) กับตาแหน่งทางตรระกะ (Logical Address) เสมอ
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
การเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ทางกายภาพกับพื้นที่ทางตรรกะ
(Logical- Versus Physical-AddressSpace)
• เนื่องจากพื้นที่ที่ใช้ในการประมวลผลในหน่วยความจาทางกายภาพ (Physical Memory)
มีการจากัดขนาดข้อมูล ดังนั้นโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลทั้งหมดของกระบวนการ
(Process)จะต้องมีขนาดเล็กกว่าหน่วยความจาทางกายภาพ (Physical Memory) ในขณะ
ที่โหลดข้อมูลทั้งหมดเข้าสู่พื้นที่ว่างในหน่วยความจา
• ในแต่ละครั้งจะต้องมีการตรวจสอบขนาดของข้อมูล เพื่อจะช่วยให้การประมวลผล
โปรแกรมคาสั่ง และการโหลดข้อมูลเข้าหน่วยความจาทาได้รวดเร็วขึ้น ลักษณะการ
ทางานดังกล่าวนี้เรียกว่า การโหลดแบบพลวัต (Dynamic Loading) ซึ่งวิธีการทางานจะ
ไม่โหลดโปรแกรมย่อย (Routine) จนกว่าจะมีการเรียกใช้งาน (Call) ทาให้ไม่สิ้นเปลือง
เนื้อที่ในหน่วยความจา
การโหลดแบบพลวัต (Dynamic Loading)
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
• วิธีนี้ใช้ในกรณีที่โปรเซสมีขนาดใหญ่กว่าหน่วยความจาที่จัดเก็บ จาเป็นที่จะต้อง
จัดสรรหน่วยความจาให้เหมาะสมโดยการแบ่งส่วน (Overlay) หลักการทางานของ
การแบ่งส่วนโดยที่คาสั่งและข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจาตามขนาดของ
หน่วยความจาที่มี
• ซึ่งจะต้องอาศัยการทางานของตัวขับในการแบ่งส่วน (Overlay Driver) เพื่อโหลด
คาสั่งที่ต้องการใช้งานหน่วยความจาเข้ามาใช้งานจนเสร็จก่อนแล้วจึงสลับให้คาสั่ง
อื่นที่ต้องการใช้งานหน่วยความจาเข้ามาทาใช้งานหน่วยความจาต่อไป
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
การแบ่งส่วน (Overlay)
• เป็ นวิธีที่ในการสลับโปรเซสที่ต้องการจะเข้าหรือออกเพื่อประมวลผลใน
หน่วยความจา โดยหลักการจะต้องสลับโปรเซสเก่าออกมาก่อนแล้วจึงนาเข้าโปรเซส
ใหม่เข้าไปใช้งานหน่วยความจาโดยนาเข้าไปเก็บไว้ในระบบสนับสนุนการจัดเก็บ
(Backing Store)
• โดยใช้Priority-base Scheduling Algorithms ถ้าโปรเซสใดมี Higher-priority process
เข้ามาถึงและต้องการจะใช้บริการหน่วยความจา ตัวจัดการหน่วยความจาสามารถที่
จะทาการสลับเอา Lower-priority process ออกไปก่อนเพื่อให้โปรเซสใดมี Higher-
priority process ทางานให้เสร็จก่อน โปรเซสที่มี Lower-priority process จึงจะสลับ
กลับมา (Swap back) เพื่อทางานในหน่วยความจาต่อไปได้
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
การสับเปลี่ยน (Swapping)
• หน่วยความจาหลักจาเป็นจะต้องอานวยความสะดวกให้กับระบบปฏิบัติการ
และความหลากของผู้ใช้งานโปรเซส ดังนั้นในแต่ละโปรเซส (Process) จึงมี
ความต้องการใช้พื้นที่ในหน่วยความจาอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นหน้าที่ของ
ระบบปฏิบัติการในการจัดสรรพื้นที่หน่วยความจาในหน่วยความจาให้มี
ประสิทธิภาพสูงสุด
• ซึ่งโดยทั่วไปแล้วหน่วยความจาหลัก (Main Memory) จะถูกแบ่งออกเป็น 2
ส่วน คือ หน่วยความจาระดับบน (High Memory) ซึ่งเป็นส่วนที่ใช้ติดต่อกับ
ส่วนของผู้ใช้(User) และหน่วยความจาระดับล่าง (Low Memory) ซึ่งเป็นส่วน
ของระบบปฏิบัติการ (Operating System) ซึ่งแสดงได้ดังรูปที่ 2.6
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
การจัดสรรหน่วยความจาที่ต่อเนื่องกัน
(Continues Memory Allocation)
1.การจัดสรรหน่วยความจาแบบพื้นที่เดียว (Single-partition Allocation)
วิธีนี้หน่วยความจาจะไม่ถูกแบ่งพื้นที่ โดยโปรเซสในส่วนของ
ระบบปฏิบัติการจะอยู่ในส่วนหน่วยความจาระดับล่าง (Low Memory) และส่วน
ของโปรเซสของผู้ใช้อยู่ในส่วนหน่วยความจาระดับบน (High Memory) โดย
เกี่ยวข้องกับรีจิสเตอร์ย้ายตาแหน่ง (Relocation Register) ในการแยกโปรเซส
(Process) ในส่วนของผู้ใช้ออกจากส่วนของระบบปฏิบัติการและรีจิสเตอร์ขอบเขต
(Limit Register) เป็นรีจิสเตอร์ที่ใช้ระบุขนาดของค่าตาแหน่งทางตรรกะ (Logical
Address) โดยค่าตาแหน่งทางตรรกะ (Logical Address) ต้องน้อยกว่ารีจิสเตอร์
ขอบเขต (Limit Register) เสมอ
การจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจาแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
2.การจัดสรรหน่วยความจาแบบหลายพื้นที่ (Multiple-partition Allocation)
วิธีนี้หน่วยความจาจะถูกแบ่งตามจานวน Process มีวิธีการจัดสรร 2 รูปแบบ
ดังนี้2.1 การแบ่งแบบคงที่ (Fixed Partition) โดยการแบ่งพื้นที่หน่วยความจาอออกเป็น
หลาย ๆ พาร์ทิชั่น (Partition) แต่ละพาร์ทิชั่นมีขนาดเท่ากันและบรรจุโปรเซสอยู่ภายใน
เพียงหนึ่งโปรเซสเท่านั้น โดยที่จานวนพาร์ทิชั่นถูกกาหนดโดยจานวนโปรเซสที่มีอยู่ใน
หน่วยความจา
ข้อเสียของวิธีคือ หากโปรเซสที่บรรจุอยู่ในหน่วยความจามีขนาดเล็กกว่าพาร์
ทิชั่นที่กาหนดจะทาให้เหลือพื้นที่ในหน่วยความจา (พาร์ทิชั่นมีพื้นที่ว่างเหลือ) เรียก
พื้นที่ว่างที่เหลือนี้ว่า “Internal Fragmentation” กรณีที่ขนาดของโปรเซสมีขนาดใหญ่กว่า
พาร์ทิชั่นที่กาหนดก็จะไม่สามารถนาโปรเซสนั้นเข้าไปใช้งานพื้นที่ในหน่วยความจา
หลักได้
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
การจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจาแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ (ต่อ)
2.2 การแบ่งแบบพลวัต (Dynamic Partition)
เป็นการแบ่งพื้นที่ตามขนาดของโปรเซส โดยการใช้พื้นที่ว่างทางกายภาพที่
เรียกว่า โฮล (Hold) เมื่อมีโปรเซสต้องการใช้งานพื้นที่ในหน่วยความจา ระบบปฏิบัติการ
จามีหน้าที่ในค้นหาพื้นที่โฮล (Hold) ที่มีขนาดใหญ่เพียงพอกับโปรเซส แล้วจึงนา
โปรเซสนั้นเข้าไปใช้งานหน่วยความจาและจะทาการเก็บข้อมูลของโปรเซสอื่นที่ยัง
ไม่ได้นาเข้าไปใช้งานหน่วยความจาและพื้นที่ว่าง (Free Partition Hold) ที่ยังไม่ได้ถูก
จัดสรรให้กับโปรเซสใดๆ ด้วยแถวคอยการทางาน (Job Queue) โดยสัมพันธ์กับเวลาที่
ใช้งานจริง (Use time) ของแต่โปรเซสด้วย แสดงดังรูปที่ 2.8
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
การจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจาแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ (ต่อ)
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
รูปที่ 2.8 แสดงการแบ่งหน่วยความจาแบบพลวัต (Dynamic Partition)
โดยปกติจานวนบิต (Bits) ที่เก็บอยู่ในตารางเพจ (Page Table) เราสามารถ
กาหนดบิตเพื่อใช้การตรวจสอบและกาหนดเพจในการ อ่าน-เขียน (Read-Write)
หรืออ่านข้อมูลเท่านั้น (Read-Only) ซึ่งเรียกบิตพิเศษนี้ว่า “กลุ่มบิตป้องกัน
(Associating Protection Bits)” ให้กับทุกๆ เฟรม ที่อยู่ในหน่วยความจา (Main
Memory) ซึ่งแบ่งบิตสถานะออกเป็น 2 บิต คือ
1. บิตใช้งานได้(Valid Bit) เป็นบิตสถานะที่บอกว่าข้อมูลในเพจถูกอ่าน
เข้าสู่หน่วยความจาทางกายภาพแล้ว และสามารถนาไปใช้งานได้ทันที
การป้องกันหน่วยความจา (Memory Protection)
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
2. บิตใช้งานไม่ได้(Invalid Bit) เป็นบิตสถานะที่บอกว่าข้อมูลในเพจนั้นไม่มีอยู่
ในหน่วยความจาทางกายภาพแล้ว (Physical Memory) และไม่สามารถนาไปใช้งานได้อาจ
เกิดจากกรณีที่ระบบปฏิบัติการยังไม่ได้อ่านข้อมูลจากเพจเข้าสู่หน่วยความจาหลัก (Main
Memory) หรือข้อมูลของเพจที่ต้องการอ่านนั้นถูกสลับ (Swapped) ออกจากหน่วยความจา
แล้ว
ซึ่งจะทาให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นที่เรียกว่า “การผิดหน้า (Page Fault)” จึงจาเป็นต้อง
โหลดเพจข้อมูลเข้าสู่หน่วยความจาก่อนแล้วจึงเปลี่ยนค่าของบิตใช้งานไม่ได้(Invalid Bit)
ให้เป็นบิตใช้งานได้(Valid Bit) แล้วจึงทาการประมวลผลข้อมูลนั้นใหม่อีกครั้งหนึ่ง
การป้องกันหน่วยความจา (Memory Protection) (ต่อ)
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
การจัดการหน่วยความจา (Memory Management)
เป็นหน้าที่หนึ่งของระบบปฏิบัติการ ซึ่งมีหน้าที่หลักในการจัดสรร
พื้นที่ในการใช้งานให้กับหลายโปรแกรม (Multiprogramming) หรือ
ข้อมูลต่างๆ โดยใช้ฮาร์ดแวร์ (Hardware provided) เข้าไปช่วย
สนับสนุนวิธีการเข้าถึงตาแหน่งในหน่วยความจาทั้งในส่วน
หน่วยความจาทางตรรกะ (Logical memory) และหน่วยความจาทาง
กายภาพ (Physical memory) ซึ่งมีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
เป็นตัวประมวลผล (Generated)
สรุป (Conclusion)
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
สรุป (Conclusion) (ต่อ)
Memory Management Algorithms มี 4 แบบ
1. การจัดสรรแบบต่อเนื่อง (Contiguous allocations)
2. การแบ่งหน้า (Paging)
3. การแบ่งส่วน (Segmentation)
4. การผสมผสานระหว่างวิธีแบ่งหน้าและแบ่งส่วน
(Combination of Paging and Segmentation
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
สรุป (Conclusion) (ต่อ)
Memory Management Strategy
1.ความสามารถของฮาร์แวร์ (Hardware Support) เป็นพื้นฐานที่ชาวย
สนับสนุนการทางานของกระบวนการการแบ่งหน้า (Paging) และการแบ่งส่วน
(Segmentation) โดยโครงสร้างตารางการจับคู่ระหว่างข้อมูลและตาแหน่งของ
หน่วยความจาหลัก
2. ประสิทธิภาพ (Performance) วิธีที่ใช้จัดการหน่วยความจาหลักแต่
ละวิธีจะมีความซับซ้อน และใช้ระยะเวลาในการจับคู่ระหว่างหน่วยความจาทาง
ตรรกะ (Logical memory) และหน่วยความจาทางกายภาพ (Physical memory)
ดังนั้น ระบบปฏิบัติการจึงต้องเลือกใช้วิธีที่เหมาะสมและรวดเร็ว
สรุป (Conclusion) (ต่อ)
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
3. การจัดการพื้นที่ว่าง (Fragmentation) ในระบบคอมพิวเตอร์แบบ
หลายโปรแกรม (Multiprogramming) มีความสามารถในการประมวลผลสูง
จะต้องมีการจัดการพื้นที่ว่างที่เหมาะสมกับขนาดของ Process เพื้อป้องกันปัญหาที่
เกิดขึ้น
4. การย้ายตาแหน่ง (Relocation) การนจัดการหน่วยความจาหลักที่ดี
ควร สามารถย้ายโปรเซส (Process) ในหน่วยความจาหลักได้อย่างอัตโนมัติเพื่อ
แก้ปัญหาการเกิดพิ้นที่ว่าง (Fragmentation) ในหน่วยความจาหลัก
5. การสลับ (Swapping) กลไกการสลับ Process เข้า-ออก จาก
หน่วยความจาหลัก ควรให้มีการสลับโปรเซสให้น้อยที่สุดภายในหนึ่งหน่วยเวลา
สรุป (Conclusion) (ต่อ)
6. การใช้งานร่วมกัน (Sharing) ระบบปฏิบัติการที่ดีควรสามารถ
จัดสรรโรปแกรมหรือข้อมูลต่างๆ ให้สามารถทางานร่วมกันได้ เพื่อให้
โปรเซส (Process) จานวนมากสามารถทางานร่วมกันได้
7. การป้องกัน (Protection) การป้องกันคาสั่งหรือข้อมูลต่างๆ
โครงสร้างข้อกาหนดเงื่อนไขในการอ่านหรือเขียนข้อมูล โดยระบบต้องมี
การตรวจสอบคาสั่งหรือข้อมูลต่างๆ ขณะกาลังประมวลผล พร้อมถึงแสดง
ข้อผิดพลาดได้
Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

More Related Content

What's hot

1+Introduction+To+It Eiwka
1+Introduction+To+It Eiwka1+Introduction+To+It Eiwka
1+Introduction+To+It Eiwkaguest53a11a
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structurekrissapat
 
Ch 1 introos
Ch 1 introosCh 1 introos
Ch 1 introosporpat21
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3Nuttapoom Tossanut
 
ระบบมัลติเพิลโปรเซสเซอร์
ระบบมัลติเพิลโปรเซสเซอร์ระบบมัลติเพิลโปรเซสเซอร์
ระบบมัลติเพิลโปรเซสเซอร์CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
E library
E libraryE library
E libraryangsuma
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์nprave
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ ร.ร.ปากช่อง ปี57
โครงงานคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ ร.ร.ปากช่อง ปี57โครงงานคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ ร.ร.ปากช่อง ปี57
โครงงานคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ ร.ร.ปากช่อง ปี57Kla Chonwat
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการKrusine soyo
 

What's hot (20)

กลุ่ม6
กลุ่ม6กลุ่ม6
กลุ่ม6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1+Introduction+To+It Eiwka
1+Introduction+To+It Eiwka1+Introduction+To+It Eiwka
1+Introduction+To+It Eiwka
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structure
 
Ch 1 introos
Ch 1 introosCh 1 introos
Ch 1 introos
 
B3
B3B3
B3
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3
 
ระบบมัลติเพิลโปรเซสเซอร์
ระบบมัลติเพิลโปรเซสเซอร์ระบบมัลติเพิลโปรเซสเซอร์
ระบบมัลติเพิลโปรเซสเซอร์
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windows
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
E library
E libraryE library
E library
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ ร.ร.ปากช่อง ปี57
โครงงานคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ ร.ร.ปากช่อง ปี57โครงงานคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ ร.ร.ปากช่อง ปี57
โครงงานคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ ร.ร.ปากช่อง ปี57
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
ซีพียู
ซีพียูซีพียู
ซีพียู
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 

Similar to การจัดการหน่วยความจำ

บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10Minny Doza
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Nuth Otanasap
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Vida Yosita
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8noonnn
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บีPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บีPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ปาย1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ปาย1หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ปาย1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ปาย1puangtong
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอนPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจPheeranan Thetkham
 

Similar to การจัดการหน่วยความจำ (20)

บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
ใบงานที่ 3.1 คณิศร no10
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่องลักษณะข้อดีและข้อด้อยของอุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
B6
B6B6
B6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ปาย1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ปาย1หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ปาย1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ปาย1
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University

การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University (20)

ภาษา php
ภาษา phpภาษา php
ภาษา php
 
ภาษา java sript
ภาษา java sriptภาษา java sript
ภาษา java sript
 
session cookies
session cookiessession cookies
session cookies
 
ภาษา css
ภาษา cssภาษา css
ภาษา css
 
ภาษา xhtml
ภาษา xhtmlภาษา xhtml
ภาษา xhtml
 
ภาษา html5
ภาษา html5ภาษา html5
ภาษา html5
 
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 
Entity Relationship
Entity RelationshipEntity Relationship
Entity Relationship
 
แบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบแบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบ
 
การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2
 
การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
 

การจัดการหน่วยความจำ

  • 2. หน่วยความจาเป็นส่วนที่สาคัญที่สุดในระบบคอมพิวเตอร์ ถือเป็นศูนย์กลาง ให้การดาเนินการด้านต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นและมี ประสิทธิภาพสูงสุด แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1.หน่วยความจาหลัก (Main Memory) 2.หน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory) โดยแต่ละวิธีในการจัดเก็บข้อมูลทั้งสองส่วนมีข้อดีและข้อเสียต่างกันขึ้นอยู่ กับซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ที่เลือกใช้ว่าสอดคล้องและสนับสนุนการทางาน และวิธีการที่จัดเก็บในหน่วยความจาที่เลือกใช้มากน้อยเพียงใด ดังรูปที่ 2.1 Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. การจัดการหน่วยความจา (Memory Management)
  • 3. ประกอบไปด้วยอารเรย์ขนาดใหญ่ (large array) ซึ่งภายในประกอบ ไปเวิร์ด (words) และไบต์(bytes) ซึ่งแต่ละที่จะมีเลขตาแหน่ง (address) เป็น ของตัวเอง นอกจากนี้หน่วยความจาหลักยังทาหน้าที่เก็บชนิดกระบวนการใน การประมวลผลคาสั่ง (a typical instruction-execution cycle) เพื่อให้หน่วย ประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) นาไปใช้ในการประมวล แล้วจึงส่งผลลัพธ์ของคาสั่งนั้นๆ กลับมาจัดเก็บกลับไว้ในหน่วยความจาหลัก หน่วยความจาหลัก (Main Memory) Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
  • 4. รูปที่ 2.1.แสดงกระบวนการทางานของหน่วยความจาหลัก (Main Memory) Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
  • 5. เป็นเทคนิคที่อนุญาตให้โปรเซส (Process) สามารถประมวลผลได้ นอกหน่วยความจาหลักโดยไม่ต้องคานึงถึงขนาดพื้นที่ใช้ในการประมวลผล ว่าเพียงพอกับขนาดของโปรแกรมหรือไม่ นอกจากนี้ยังง่ายต่อการแชร์ไฟล์(Share files) พื้นที่ว่าง (Address Space) และเพิ่มประสิทธิภาพให้โปรเซสทางานได้เร็วขึ้น เพราะไม่ต้องคอย ตรวจสอบขนาดของหน่วยความจาทางกายภาพ (Physical Memory) Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. หน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory)
  • 6. • โดยทั่วไปโปรเซสที่จะถูกนาไปประมวลผลจะขึ้นอยู่กับการจัดการ หน่วยความจาที่เลือกใช้โปรเซสอาจจะถูกเคลื่อนย้ายกลับไปกลับมา ระหว่างดิสก์และหน่วยความจาก่อนที่มันจะถูกประมวลผล • โดยระบบปฏิบัติการจะมีการเก็บโปรเซสที่รอประมวลผลตามลาดับคิว (input queue) ของโปรเซสที่จะนาเข้ามาประมวลผลในหน่วยความจาร่วม ทั้งยังเชื่อมโยงกับค่าเริ่มต้นของตาแหน่ง ระบบคอมพิวเตอร์มักเริ่มต้นค่า ตาแหน่งเชื่อมโยงที่ค่า 00000 อีกยังแบ่งค่าที่เชื่อมโยงตาแหน่ง ได้เป็น ค่า จริง (Absolute address) ของโปรเซสที่อยู่ในหน่วยความจา และค่า ตาแหน่งที่สัมพันธ์ (Relative address) หรือชุดคาสั่งต่างๆ ที่ได้รับหลังจาก การคอมไฟล์ Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. การเชื่อมโยงตาแหน่ง (Address Binding)
  • 7. 1.ช่วงเวลาคอมไฟล์ (Compile time) คือ ช่วงเวลาที่คาสั่งหรือข้อมูลถูกแปลคาสั่งโดยการคอมไฟล์โดย ตัวคอมไฟเลอร์ (Compiler) โดยตัวคอมไฟเลอร์จะค้นหาตาแหน่งจริง (Absolute Code) ในหน่วยความจาเมื่อพบแล้วจะสร้างโค้ดทาให้ ระบบปฏิบัติการสามารถประมวลผลคาสั่งหรือข้อมูลนั้นได้ทันที แต่หาก ตาแหน่งจริงถูกเปลี่ยนแปลง ตัวคอมไฟเลอร์ก็จะทาการรีคอมไฟล์ (Recompile) โค้ดคาสั่งหรือข้อมูลนั้นใหม่ทุกครั้ง Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. การจาแนกการเชื่อมโยงของคาสั่งและตาแหน่งของข้อมูลในหน่วยความจาสามารถ แบ่งแต่ละขั้นตอนตามช่วงเวลาได้ดังนี้
  • 8. 2.ช่วงเวลาโหลด (Load time) ช่วงเวลาที่คาสั่งหรือข้อมูลถูกโหลดเข้าสู่หน่วยความจาโดยลาดับ แรกตัวคอมไฟเลอร์จะสร้างโค้ดที่สามารถประมวลผลได้ทันที (Relocation code)ขึ้นมาก่อน หลังจากคาสั่งหรือข้อมูลถูกโหลดเข้าสู่หน่วยความจาแล้ว ตัวคอมไฟเลอร์จะทาการแปลตาแหน่งที่โหลดเข้ามาให้เป็นตาแหน่งจริง (Absolute Code) เพื่อให้ระบบปฏิบัติการสามารถประมวลผลคาสั่งหรือ ข้อมูลนั้นได้โดยไม่ต้องเสียเวลาในการคอมไฟล์ใหม่ทุกครั้ง แต่จะเสียเวลา เฉพาะตอนโหลดคาสั่งหรือข้อมูลนั้นเข้ามาในหน่วยความจา Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. การจาแนกการเชื่อมโยงของคาสั่งและตาแหน่งของข้อมูลในหน่วยความจาสามารถ แบ่งแต่ละขั้นตอนตามช่วงเวลาได้ดังนี้ (ต่อ)
  • 9. 3.ช่วงเวลาประมวลผล (Execution time) ช่วงเวลาที่คาสั่งหรือข้อมูลถูกประมวลผล โดยตัวคอมไฟเลอร์จะทาการ เชื่อมโยงตาแหน่งและแปลโค้ดคาสั่งหรือข้อมูลของตาแหน่งนั้นๆ เข้าไปเก็บไว้ใน หน่วยความจาขณะที่ระบบปฏิบัติการกาลังประมวลผล (Run time) ทาให้ ระบบปฏิบัติการต้องเสียเวลาในการแปลตาแหน่งคาสั่งหรือข้อมูลต่างๆ ก่อนถูก นามาเข้าสู่กระบวนการประมวลผลทุกครั้ง Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. การจาแนกการเชื่อมโยงของคาสั่งและตาแหน่งของข้อมูลในหน่วยความจาสามารถ แบ่งแต่ละขั้นตอนตามช่วงเวลาได้ดังนี้ (ต่อ)
  • 10. • จะมีการอ้างอิงถึงตาแหน่งที่เกี่ยวข้องอยู่2 ประเภทคือ 1.ตาแหน่งพื้นที่ทางตรรกะ (Logical Address Space) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ตาแหน่งเสมือน (Virtual Address) ซึ่งถูกสร้างขึ้น (Generate) โดยหน่วย ประมวลผลกลาง (CPU) เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล โดยกลุ่มของตาแหน่ง พื้นที่ทางตรรกะ (Logical Address Space) ทั้งหมดถูกสร้างโดยโปรแกรม 2.ตาแหน่งพื้นที่ทางกายภาพ (Physical Address Space) คือตาแหน่งที่อยู่ในหน่วยความจาหลัก (Memory Unit) และทางานโดยตอบสนอง (Corresponding) กับตาแหน่งทางตรระกะ (Logical Address) เสมอ Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. การเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ทางกายภาพกับพื้นที่ทางตรรกะ (Logical- Versus Physical-AddressSpace)
  • 11. • เนื่องจากพื้นที่ที่ใช้ในการประมวลผลในหน่วยความจาทางกายภาพ (Physical Memory) มีการจากัดขนาดข้อมูล ดังนั้นโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลทั้งหมดของกระบวนการ (Process)จะต้องมีขนาดเล็กกว่าหน่วยความจาทางกายภาพ (Physical Memory) ในขณะ ที่โหลดข้อมูลทั้งหมดเข้าสู่พื้นที่ว่างในหน่วยความจา • ในแต่ละครั้งจะต้องมีการตรวจสอบขนาดของข้อมูล เพื่อจะช่วยให้การประมวลผล โปรแกรมคาสั่ง และการโหลดข้อมูลเข้าหน่วยความจาทาได้รวดเร็วขึ้น ลักษณะการ ทางานดังกล่าวนี้เรียกว่า การโหลดแบบพลวัต (Dynamic Loading) ซึ่งวิธีการทางานจะ ไม่โหลดโปรแกรมย่อย (Routine) จนกว่าจะมีการเรียกใช้งาน (Call) ทาให้ไม่สิ้นเปลือง เนื้อที่ในหน่วยความจา การโหลดแบบพลวัต (Dynamic Loading) Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
  • 12. • วิธีนี้ใช้ในกรณีที่โปรเซสมีขนาดใหญ่กว่าหน่วยความจาที่จัดเก็บ จาเป็นที่จะต้อง จัดสรรหน่วยความจาให้เหมาะสมโดยการแบ่งส่วน (Overlay) หลักการทางานของ การแบ่งส่วนโดยที่คาสั่งและข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจาตามขนาดของ หน่วยความจาที่มี • ซึ่งจะต้องอาศัยการทางานของตัวขับในการแบ่งส่วน (Overlay Driver) เพื่อโหลด คาสั่งที่ต้องการใช้งานหน่วยความจาเข้ามาใช้งานจนเสร็จก่อนแล้วจึงสลับให้คาสั่ง อื่นที่ต้องการใช้งานหน่วยความจาเข้ามาทาใช้งานหน่วยความจาต่อไป Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. การแบ่งส่วน (Overlay)
  • 13. • เป็ นวิธีที่ในการสลับโปรเซสที่ต้องการจะเข้าหรือออกเพื่อประมวลผลใน หน่วยความจา โดยหลักการจะต้องสลับโปรเซสเก่าออกมาก่อนแล้วจึงนาเข้าโปรเซส ใหม่เข้าไปใช้งานหน่วยความจาโดยนาเข้าไปเก็บไว้ในระบบสนับสนุนการจัดเก็บ (Backing Store) • โดยใช้Priority-base Scheduling Algorithms ถ้าโปรเซสใดมี Higher-priority process เข้ามาถึงและต้องการจะใช้บริการหน่วยความจา ตัวจัดการหน่วยความจาสามารถที่ จะทาการสลับเอา Lower-priority process ออกไปก่อนเพื่อให้โปรเซสใดมี Higher- priority process ทางานให้เสร็จก่อน โปรเซสที่มี Lower-priority process จึงจะสลับ กลับมา (Swap back) เพื่อทางานในหน่วยความจาต่อไปได้ Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. การสับเปลี่ยน (Swapping)
  • 14. • หน่วยความจาหลักจาเป็นจะต้องอานวยความสะดวกให้กับระบบปฏิบัติการ และความหลากของผู้ใช้งานโปรเซส ดังนั้นในแต่ละโปรเซส (Process) จึงมี ความต้องการใช้พื้นที่ในหน่วยความจาอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นหน้าที่ของ ระบบปฏิบัติการในการจัดสรรพื้นที่หน่วยความจาในหน่วยความจาให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด • ซึ่งโดยทั่วไปแล้วหน่วยความจาหลัก (Main Memory) จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หน่วยความจาระดับบน (High Memory) ซึ่งเป็นส่วนที่ใช้ติดต่อกับ ส่วนของผู้ใช้(User) และหน่วยความจาระดับล่าง (Low Memory) ซึ่งเป็นส่วน ของระบบปฏิบัติการ (Operating System) ซึ่งแสดงได้ดังรูปที่ 2.6 Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. การจัดสรรหน่วยความจาที่ต่อเนื่องกัน (Continues Memory Allocation)
  • 15. 1.การจัดสรรหน่วยความจาแบบพื้นที่เดียว (Single-partition Allocation) วิธีนี้หน่วยความจาจะไม่ถูกแบ่งพื้นที่ โดยโปรเซสในส่วนของ ระบบปฏิบัติการจะอยู่ในส่วนหน่วยความจาระดับล่าง (Low Memory) และส่วน ของโปรเซสของผู้ใช้อยู่ในส่วนหน่วยความจาระดับบน (High Memory) โดย เกี่ยวข้องกับรีจิสเตอร์ย้ายตาแหน่ง (Relocation Register) ในการแยกโปรเซส (Process) ในส่วนของผู้ใช้ออกจากส่วนของระบบปฏิบัติการและรีจิสเตอร์ขอบเขต (Limit Register) เป็นรีจิสเตอร์ที่ใช้ระบุขนาดของค่าตาแหน่งทางตรรกะ (Logical Address) โดยค่าตาแหน่งทางตรรกะ (Logical Address) ต้องน้อยกว่ารีจิสเตอร์ ขอบเขต (Limit Register) เสมอ การจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจาแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
  • 16. 2.การจัดสรรหน่วยความจาแบบหลายพื้นที่ (Multiple-partition Allocation) วิธีนี้หน่วยความจาจะถูกแบ่งตามจานวน Process มีวิธีการจัดสรร 2 รูปแบบ ดังนี้2.1 การแบ่งแบบคงที่ (Fixed Partition) โดยการแบ่งพื้นที่หน่วยความจาอออกเป็น หลาย ๆ พาร์ทิชั่น (Partition) แต่ละพาร์ทิชั่นมีขนาดเท่ากันและบรรจุโปรเซสอยู่ภายใน เพียงหนึ่งโปรเซสเท่านั้น โดยที่จานวนพาร์ทิชั่นถูกกาหนดโดยจานวนโปรเซสที่มีอยู่ใน หน่วยความจา ข้อเสียของวิธีคือ หากโปรเซสที่บรรจุอยู่ในหน่วยความจามีขนาดเล็กกว่าพาร์ ทิชั่นที่กาหนดจะทาให้เหลือพื้นที่ในหน่วยความจา (พาร์ทิชั่นมีพื้นที่ว่างเหลือ) เรียก พื้นที่ว่างที่เหลือนี้ว่า “Internal Fragmentation” กรณีที่ขนาดของโปรเซสมีขนาดใหญ่กว่า พาร์ทิชั่นที่กาหนดก็จะไม่สามารถนาโปรเซสนั้นเข้าไปใช้งานพื้นที่ในหน่วยความจา หลักได้ Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. การจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจาแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ (ต่อ)
  • 17. 2.2 การแบ่งแบบพลวัต (Dynamic Partition) เป็นการแบ่งพื้นที่ตามขนาดของโปรเซส โดยการใช้พื้นที่ว่างทางกายภาพที่ เรียกว่า โฮล (Hold) เมื่อมีโปรเซสต้องการใช้งานพื้นที่ในหน่วยความจา ระบบปฏิบัติการ จามีหน้าที่ในค้นหาพื้นที่โฮล (Hold) ที่มีขนาดใหญ่เพียงพอกับโปรเซส แล้วจึงนา โปรเซสนั้นเข้าไปใช้งานหน่วยความจาและจะทาการเก็บข้อมูลของโปรเซสอื่นที่ยัง ไม่ได้นาเข้าไปใช้งานหน่วยความจาและพื้นที่ว่าง (Free Partition Hold) ที่ยังไม่ได้ถูก จัดสรรให้กับโปรเซสใดๆ ด้วยแถวคอยการทางาน (Job Queue) โดยสัมพันธ์กับเวลาที่ ใช้งานจริง (Use time) ของแต่โปรเซสด้วย แสดงดังรูปที่ 2.8 Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. การจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจาแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ (ต่อ)
  • 18. Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. รูปที่ 2.8 แสดงการแบ่งหน่วยความจาแบบพลวัต (Dynamic Partition)
  • 19. โดยปกติจานวนบิต (Bits) ที่เก็บอยู่ในตารางเพจ (Page Table) เราสามารถ กาหนดบิตเพื่อใช้การตรวจสอบและกาหนดเพจในการ อ่าน-เขียน (Read-Write) หรืออ่านข้อมูลเท่านั้น (Read-Only) ซึ่งเรียกบิตพิเศษนี้ว่า “กลุ่มบิตป้องกัน (Associating Protection Bits)” ให้กับทุกๆ เฟรม ที่อยู่ในหน่วยความจา (Main Memory) ซึ่งแบ่งบิตสถานะออกเป็น 2 บิต คือ 1. บิตใช้งานได้(Valid Bit) เป็นบิตสถานะที่บอกว่าข้อมูลในเพจถูกอ่าน เข้าสู่หน่วยความจาทางกายภาพแล้ว และสามารถนาไปใช้งานได้ทันที การป้องกันหน่วยความจา (Memory Protection) Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
  • 20. 2. บิตใช้งานไม่ได้(Invalid Bit) เป็นบิตสถานะที่บอกว่าข้อมูลในเพจนั้นไม่มีอยู่ ในหน่วยความจาทางกายภาพแล้ว (Physical Memory) และไม่สามารถนาไปใช้งานได้อาจ เกิดจากกรณีที่ระบบปฏิบัติการยังไม่ได้อ่านข้อมูลจากเพจเข้าสู่หน่วยความจาหลัก (Main Memory) หรือข้อมูลของเพจที่ต้องการอ่านนั้นถูกสลับ (Swapped) ออกจากหน่วยความจา แล้ว ซึ่งจะทาให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นที่เรียกว่า “การผิดหน้า (Page Fault)” จึงจาเป็นต้อง โหลดเพจข้อมูลเข้าสู่หน่วยความจาก่อนแล้วจึงเปลี่ยนค่าของบิตใช้งานไม่ได้(Invalid Bit) ให้เป็นบิตใช้งานได้(Valid Bit) แล้วจึงทาการประมวลผลข้อมูลนั้นใหม่อีกครั้งหนึ่ง การป้องกันหน่วยความจา (Memory Protection) (ต่อ) Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.
  • 21. Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. การจัดการหน่วยความจา (Memory Management) เป็นหน้าที่หนึ่งของระบบปฏิบัติการ ซึ่งมีหน้าที่หลักในการจัดสรร พื้นที่ในการใช้งานให้กับหลายโปรแกรม (Multiprogramming) หรือ ข้อมูลต่างๆ โดยใช้ฮาร์ดแวร์ (Hardware provided) เข้าไปช่วย สนับสนุนวิธีการเข้าถึงตาแหน่งในหน่วยความจาทั้งในส่วน หน่วยความจาทางตรรกะ (Logical memory) และหน่วยความจาทาง กายภาพ (Physical memory) ซึ่งมีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) เป็นตัวประมวลผล (Generated) สรุป (Conclusion)
  • 22. Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. สรุป (Conclusion) (ต่อ) Memory Management Algorithms มี 4 แบบ 1. การจัดสรรแบบต่อเนื่อง (Contiguous allocations) 2. การแบ่งหน้า (Paging) 3. การแบ่งส่วน (Segmentation) 4. การผสมผสานระหว่างวิธีแบ่งหน้าและแบ่งส่วน (Combination of Paging and Segmentation
  • 23. Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. สรุป (Conclusion) (ต่อ) Memory Management Strategy 1.ความสามารถของฮาร์แวร์ (Hardware Support) เป็นพื้นฐานที่ชาวย สนับสนุนการทางานของกระบวนการการแบ่งหน้า (Paging) และการแบ่งส่วน (Segmentation) โดยโครงสร้างตารางการจับคู่ระหว่างข้อมูลและตาแหน่งของ หน่วยความจาหลัก 2. ประสิทธิภาพ (Performance) วิธีที่ใช้จัดการหน่วยความจาหลักแต่ ละวิธีจะมีความซับซ้อน และใช้ระยะเวลาในการจับคู่ระหว่างหน่วยความจาทาง ตรรกะ (Logical memory) และหน่วยความจาทางกายภาพ (Physical memory) ดังนั้น ระบบปฏิบัติการจึงต้องเลือกใช้วิธีที่เหมาะสมและรวดเร็ว
  • 24. สรุป (Conclusion) (ต่อ) Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552. 3. การจัดการพื้นที่ว่าง (Fragmentation) ในระบบคอมพิวเตอร์แบบ หลายโปรแกรม (Multiprogramming) มีความสามารถในการประมวลผลสูง จะต้องมีการจัดการพื้นที่ว่างที่เหมาะสมกับขนาดของ Process เพื้อป้องกันปัญหาที่ เกิดขึ้น 4. การย้ายตาแหน่ง (Relocation) การนจัดการหน่วยความจาหลักที่ดี ควร สามารถย้ายโปรเซส (Process) ในหน่วยความจาหลักได้อย่างอัตโนมัติเพื่อ แก้ปัญหาการเกิดพิ้นที่ว่าง (Fragmentation) ในหน่วยความจาหลัก 5. การสลับ (Swapping) กลไกการสลับ Process เข้า-ออก จาก หน่วยความจาหลัก ควรให้มีการสลับโปรเซสให้น้อยที่สุดภายในหนึ่งหน่วยเวลา
  • 25. สรุป (Conclusion) (ต่อ) 6. การใช้งานร่วมกัน (Sharing) ระบบปฏิบัติการที่ดีควรสามารถ จัดสรรโรปแกรมหรือข้อมูลต่างๆ ให้สามารถทางานร่วมกันได้ เพื่อให้ โปรเซส (Process) จานวนมากสามารถทางานร่วมกันได้ 7. การป้องกัน (Protection) การป้องกันคาสั่งหรือข้อมูลต่างๆ โครงสร้างข้อกาหนดเงื่อนไขในการอ่านหรือเขียนข้อมูล โดยระบบต้องมี การตรวจสอบคาสั่งหรือข้อมูลต่างๆ ขณะกาลังประมวลผล พร้อมถึงแสดง ข้อผิดพลาดได้ Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.