SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 17
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Dance for Peace
หัวใจเดียวกัน
ภายใต้งาน Spiritual Journey
Dance for Peace
เริ่มครั้งแรกในเช้าวันที่ 21 ตุลาคม 2557 หรือ ค.ศ. 2014 ซึ่งเป็น
วันสำคัญของพสกนิกรชาวไทย เนื่องจากเป็นวันพระราชสมภพของ
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี หรือ ‘สมเด็จย่า’ ที่เสถียรธรรม
สถาน เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จย่า
Dance for peace…Travel with meเป็นแนวคิดของท่านแม่ชีศันสนีย์
เสถียรสุต ที่ใช้การเต้นเพื่อสร้างสันติภาพบนโลกใบนี้ ศิลปินนักร้อง
ที่เข้ามาจุดประกายคือ Dechen Shak-Dagsay ที่ใช้บทเพลง Voyage
avec moi โดย มีครูแอม ธนิสรา แก้วอินทร์ เป็นผู้ออกแบบท่าเต้น
ภาษามือ
‘วันสมเด็จย่า’ วันแรกของการเริ่มต้น ครูแอม ครูผู้สอนเยาวชน SOS
(Seeds of Spirituality) เตรียมพร้อมมาเป็นพี่เลี้ยง ครูสอนให้เข้าใจ
ภาษามือ ซึ่งเป็นภาษาที่คนทั้งโลกเข้าใจได้ ภาษากาย ซึ่งให้มีกาย
เคลื่อนไหวใจตั้งมั่น ทุกครั้งที่เราเต้นขยับกายคือ เกิดสันติภาพทันที
ที่เคลื่อนกายออกไปรับใช้โลก
หลังจากนั้น ‘ท่านแม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต’ จูงมือนักบวช เยาวชน SOS
และชุมชนจิตอาสา เคลื่อนตัวไปที่ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี โรงพยาบาล
ศิริราช เพื่อให้โลกเห็นพลังแห่งการสร้างสรรค์ที่เยาวชนของโลกมี
อยู่อย่างเต็มเปี่ยม
Dance for Peace…Travel with me
ภาพเหตุการณ์เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2557
ณ สถูปมนต์พระอารยตาราโพธิสัตว์
เสถียรธรรมสถาน
Dance for Peace…Travel with me
ภาพเหตุการณ์เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2557
ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี
โรงพยาบาลศิริราช
–Dechen Shak-Dagsay : Artist
-Sathira-Dhamma-Sathan : Music Video
Voyage avec moi - Dance for Peace
Diving in Dancing out
Reef Guardian Thailand
Diving in Dancing out
ในช่วงเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม พ.ศ. 2557 หรือ ค.ศ. 2014 นั้น
Dance for Peace ได้เข้ามามีส่วนร่วมในโครงการเร่งเสริมความ
ยั่งยืนของระบบจัดการพื้นที่คุ้มครอง(CATSPA) ซึ่งเป็นโครงการความ
ร่วมมือระหว่างกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กับโครงการ
พัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และกองทุนสิ่งแวดล้อมโลก (GEF)
Diving in...Dancing out เป็นแนวคิดของครูแอม ธนิสรา แก้วอินทร์ ที่ใช้
การเต้นเพื่อประชาสัมพันธ์ Reef Guardian Thailand ให้มีผู้คนจาก
นานาประเทศได้รู้จักและติดตาม อีกทั้งหาผู้สนับสนุนกองทุน เพื่อการ
อนุรักษ์ โดยผ่านการใช้เครื่องมือบนโลกออนไลน์ ติด Hashtag ด้วย
วิธีการผลิตเสื้อให้กับนักเต้น มีข้อความว่า Diving in Dancing out ,Reef
Guardian Thailand, FB: Reef Guardian Thailand ซึ่งนักเต้นที่ได้สวมใส่
เสื้อนี้ต้องถ่ายรูปตนขึ้นบนSocial ติด #reefguardianthailand บน FB /
twitter /instagram
‘การจัดตั้งกองทุนเพื่อการอนุรักษ์’ เป็นแนวคิดหนึ่งของประเทศที่ได้
พัฒนาแล้ว ซึ่งประสบผลสำเร็จมากและจุดเริ่มต้นมีลักษณะใกล้เคียง
กับที่กลุ่ม Reef Guardian Thailand ได้กระทำอยู่นี้ นั่นคือ เรียนเชิญ
ทุกภาคส่วนมาร่วมคิด วิเคราะห์ พิจารณา สร้างเป็นแผนงานที่นำไปสู่
เป้าหมาย เป็นต้นแบบในการพัฒนาพื้นที่คุ้มครอง
–Dance for Peace in Bhutan
-Porntip Changyam : Music Video
“We are happy @Bhutan”
จาก ‘วันนั้น’ สู่ ‘วันนี้’ เพื่อ ‘วันหน้า’
วันนั้น เมื่อ พ.ศ. 2545 หรือ ค.ศ. 2002 งานประชุมผู้นำสตรีทางศาสนาและจิตวิญญาณเพื่อสันติภาพโลก (The
Global Peace Initiative of Women) ณ กรุง Geneva ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ คือ ก้าวแรกสู่เส้นทางการบวก
เพื่อสันติภาพ ของท่านแม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต
วันนั้น เมื่อ พ.ศ. 2557 หรือ ค.ศ. 2014 งาน ‘Dance for Peace..Travel with me’ เมื่อท่านแม่ชีศันสนีย์ จูงมือ
นักบวชและเยาวชนสร้างสรรค์พลังที่มีอยู่เต็มเปี่ยม เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จย่า
วันนี้ พ.ศ. 2563 หรือ ค.ศ. 2020 งาน‘Dance for Peace 2020..Send This Love ’ เพราะ ‘ท่วงทำนอง’ คือ
จังหวะของชีวิต รักจังหวะ..รักษ์สรรพชีวิต
วันหน้า พ.ศ. 2564 หรือ ค.ศ. 2021 งาน ‘Dance for Peace 2021.. ‘21 TARA’ เมื่อหนึ่งบวกหนึ่ง..ผลคือ
มหาศาล ลงทุนกับเด็ก คือลงทุนให้โลก เสถียรธรรมสถาน ร่วมกับ 21 ประเทศ
วันหน้า พ.ศ. 2565 หรือ ค.ศ. 2022 ...ถึง พ.ศ.2570 หรือ ค.ศ. 2027 งาน ‘Dance for Peace 2027 ..40
ประเทศทั้งผองพี่น้องกัน
Dance for Peace
2020 หัวใจเดียวกัน
เป้าหมาย : ตื่นตัวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่จะส่งผลถึงสุขภาพตนเองมากกว่าผล
ตอบแทนทางธุรกิจ
เพื่อขยายองค์ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพผ่านเทคนิคการเต้นอย่างมีจังหวะในรูปแบบต่างๆ ให้คนไทยทุกวัยได้
เคลื่อนไหวร่างกายอย่างเหมาะสมกับตนเอง บนทุกพื้นที่ โดยมี Spiritual Movement Model (กายเคลื่อนไหว ใจตั้งมั่น)
ของเสถียรธรรมสถานเป็นต้นแบบ
ระดมทุนทั้งในรูปแบบตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน ผ่าน ‘Dance for Peace 2020..หัวใจเดียวกัน’ สร้างเสริมสุขภาพ ชุมชนที่
อาศัยอยู่บริเวณพื้นที่กันชน (Buffer Zone) ติดกับพื้นที่อนุรักษ์ เพื่อลดความขัดแย้งอันส่งผลกระทบต่อพื้นที่คุ้มครอง
เพราะคนที่อาศัยในพื้นที่กันชนยังต้องมีวิถีชีวิตอยู่เพื่อดูแลป่า และด้วยความเชื่ออย่างหนักแน่นว่า ‘ไม่ว่าผืนป่าแหล่งไหน
บนโลกคือผืนป่าเดียวกัน’
ขับเคลื่อน Dance for Peace 2020..หัวใจเดียวกัน ด้วยกลไกการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และนักเต้นจิตอาสา
เพื่อเป็นแสงสว่าง (Spotlight) ส่องถึงการทำงานของชุมชนคนตัวเล็กที่ปกปักรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ของประเทศไทย
พัฒนาความร่วมมือ 40 ประเทศ ที่ตื่นตัวกับสุขภาพ มีแหล่งวัตถุดิบอาหารปลอดภัย จากการดูแลทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม ใช้ชีวิตอยู่อย่างไม่เบียดเบียนโลก
ภาคีหลัก
สมาคมอุทยานแห่งชาติ, การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
กลุ่มเป้าหมาย Dance for Peace 2020…Send This Love
คนทุกช่วงวัย จำนวน 500 คน แบ่งตามอายุดังนี้
กลุ่ม Creative Movement อายุ 3 - 6 ปี
กลุ่ม Pre teen อายุ 7-12 ปี
กลุ่ม ISV - teen (International Spiritual Volunteer) อายุ 13 - 25 ปี
กลุ่ม ISV - Adult อายุ 26 - 40 ปี
กลุ่ม M&M - Young (Mindfulness Movement) อายุ 41 - 60 ปี
กลุ่ม M&M - Adult อายุ 60 ปีขึ้นไป
สถานที่
เสถียรธรรมสถาน กรุงเทพฯ ถนนวัชรพล เขตบางเขน กรุงเทพฯ
เสถียรธรรมสถาน หุบเขาโพธิสัตว์ ติดอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ผลคาดหวังที่ได้รับ
ครูจิตอาสาหัวใจเดียวกัน หัวใจโพธิสัตว์
สร้างเยาวชนพึ่งตนเองได้ ให้คนอื่นเป็น
สร้างเครือข่ายเชื่อมโยง 40 ประเทศ ‘ไม่ว่าผืนป่าแหล่งไหนบนโลก คือผืน
ป่าเดียวกัน’
พึ่งตนเองได้ ให้คนอื่นเป็น
D a n c e
F o r
P e a e
c
2
0
2
0

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von UNDP

เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการUNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรUNDP
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 

Mehr von UNDP (20)

เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 

Dance for Peace.pdf

  • 2. Dance for Peace เริ่มครั้งแรกในเช้าวันที่ 21 ตุลาคม 2557 หรือ ค.ศ. 2014 ซึ่งเป็น วันสำคัญของพสกนิกรชาวไทย เนื่องจากเป็นวันพระราชสมภพของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี หรือ ‘สมเด็จย่า’ ที่เสถียรธรรม สถาน เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จย่า Dance for peace…Travel with meเป็นแนวคิดของท่านแม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต ที่ใช้การเต้นเพื่อสร้างสันติภาพบนโลกใบนี้ ศิลปินนักร้อง ที่เข้ามาจุดประกายคือ Dechen Shak-Dagsay ที่ใช้บทเพลง Voyage avec moi โดย มีครูแอม ธนิสรา แก้วอินทร์ เป็นผู้ออกแบบท่าเต้น ภาษามือ ‘วันสมเด็จย่า’ วันแรกของการเริ่มต้น ครูแอม ครูผู้สอนเยาวชน SOS (Seeds of Spirituality) เตรียมพร้อมมาเป็นพี่เลี้ยง ครูสอนให้เข้าใจ ภาษามือ ซึ่งเป็นภาษาที่คนทั้งโลกเข้าใจได้ ภาษากาย ซึ่งให้มีกาย เคลื่อนไหวใจตั้งมั่น ทุกครั้งที่เราเต้นขยับกายคือ เกิดสันติภาพทันที ที่เคลื่อนกายออกไปรับใช้โลก หลังจากนั้น ‘ท่านแม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต’ จูงมือนักบวช เยาวชน SOS และชุมชนจิตอาสา เคลื่อนตัวไปที่ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี โรงพยาบาล ศิริราช เพื่อให้โลกเห็นพลังแห่งการสร้างสรรค์ที่เยาวชนของโลกมี อยู่อย่างเต็มเปี่ยม
  • 3. Dance for Peace…Travel with me ภาพเหตุการณ์เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2557 ณ สถูปมนต์พระอารยตาราโพธิสัตว์ เสถียรธรรมสถาน
  • 4. Dance for Peace…Travel with me ภาพเหตุการณ์เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2557 ณ ศาลาศิริราช ๑๐๐ ปี โรงพยาบาลศิริราช
  • 5. –Dechen Shak-Dagsay : Artist -Sathira-Dhamma-Sathan : Music Video Voyage avec moi - Dance for Peace
  • 6. Diving in Dancing out Reef Guardian Thailand
  • 7. Diving in Dancing out ในช่วงเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม พ.ศ. 2557 หรือ ค.ศ. 2014 นั้น Dance for Peace ได้เข้ามามีส่วนร่วมในโครงการเร่งเสริมความ ยั่งยืนของระบบจัดการพื้นที่คุ้มครอง(CATSPA) ซึ่งเป็นโครงการความ ร่วมมือระหว่างกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กับโครงการ พัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และกองทุนสิ่งแวดล้อมโลก (GEF) Diving in...Dancing out เป็นแนวคิดของครูแอม ธนิสรา แก้วอินทร์ ที่ใช้ การเต้นเพื่อประชาสัมพันธ์ Reef Guardian Thailand ให้มีผู้คนจาก นานาประเทศได้รู้จักและติดตาม อีกทั้งหาผู้สนับสนุนกองทุน เพื่อการ อนุรักษ์ โดยผ่านการใช้เครื่องมือบนโลกออนไลน์ ติด Hashtag ด้วย วิธีการผลิตเสื้อให้กับนักเต้น มีข้อความว่า Diving in Dancing out ,Reef Guardian Thailand, FB: Reef Guardian Thailand ซึ่งนักเต้นที่ได้สวมใส่ เสื้อนี้ต้องถ่ายรูปตนขึ้นบนSocial ติด #reefguardianthailand บน FB / twitter /instagram ‘การจัดตั้งกองทุนเพื่อการอนุรักษ์’ เป็นแนวคิดหนึ่งของประเทศที่ได้ พัฒนาแล้ว ซึ่งประสบผลสำเร็จมากและจุดเริ่มต้นมีลักษณะใกล้เคียง กับที่กลุ่ม Reef Guardian Thailand ได้กระทำอยู่นี้ นั่นคือ เรียนเชิญ ทุกภาคส่วนมาร่วมคิด วิเคราะห์ พิจารณา สร้างเป็นแผนงานที่นำไปสู่ เป้าหมาย เป็นต้นแบบในการพัฒนาพื้นที่คุ้มครอง
  • 8.
  • 9.
  • 10. –Dance for Peace in Bhutan -Porntip Changyam : Music Video “We are happy @Bhutan”
  • 11. จาก ‘วันนั้น’ สู่ ‘วันนี้’ เพื่อ ‘วันหน้า’ วันนั้น เมื่อ พ.ศ. 2545 หรือ ค.ศ. 2002 งานประชุมผู้นำสตรีทางศาสนาและจิตวิญญาณเพื่อสันติภาพโลก (The Global Peace Initiative of Women) ณ กรุง Geneva ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ คือ ก้าวแรกสู่เส้นทางการบวก เพื่อสันติภาพ ของท่านแม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต วันนั้น เมื่อ พ.ศ. 2557 หรือ ค.ศ. 2014 งาน ‘Dance for Peace..Travel with me’ เมื่อท่านแม่ชีศันสนีย์ จูงมือ นักบวชและเยาวชนสร้างสรรค์พลังที่มีอยู่เต็มเปี่ยม เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จย่า วันนี้ พ.ศ. 2563 หรือ ค.ศ. 2020 งาน‘Dance for Peace 2020..Send This Love ’ เพราะ ‘ท่วงทำนอง’ คือ จังหวะของชีวิต รักจังหวะ..รักษ์สรรพชีวิต วันหน้า พ.ศ. 2564 หรือ ค.ศ. 2021 งาน ‘Dance for Peace 2021.. ‘21 TARA’ เมื่อหนึ่งบวกหนึ่ง..ผลคือ มหาศาล ลงทุนกับเด็ก คือลงทุนให้โลก เสถียรธรรมสถาน ร่วมกับ 21 ประเทศ วันหน้า พ.ศ. 2565 หรือ ค.ศ. 2022 ...ถึง พ.ศ.2570 หรือ ค.ศ. 2027 งาน ‘Dance for Peace 2027 ..40 ประเทศทั้งผองพี่น้องกัน
  • 12. Dance for Peace 2020 หัวใจเดียวกัน เป้าหมาย : ตื่นตัวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่จะส่งผลถึงสุขภาพตนเองมากกว่าผล ตอบแทนทางธุรกิจ เพื่อขยายองค์ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพผ่านเทคนิคการเต้นอย่างมีจังหวะในรูปแบบต่างๆ ให้คนไทยทุกวัยได้ เคลื่อนไหวร่างกายอย่างเหมาะสมกับตนเอง บนทุกพื้นที่ โดยมี Spiritual Movement Model (กายเคลื่อนไหว ใจตั้งมั่น) ของเสถียรธรรมสถานเป็นต้นแบบ ระดมทุนทั้งในรูปแบบตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน ผ่าน ‘Dance for Peace 2020..หัวใจเดียวกัน’ สร้างเสริมสุขภาพ ชุมชนที่ อาศัยอยู่บริเวณพื้นที่กันชน (Buffer Zone) ติดกับพื้นที่อนุรักษ์ เพื่อลดความขัดแย้งอันส่งผลกระทบต่อพื้นที่คุ้มครอง เพราะคนที่อาศัยในพื้นที่กันชนยังต้องมีวิถีชีวิตอยู่เพื่อดูแลป่า และด้วยความเชื่ออย่างหนักแน่นว่า ‘ไม่ว่าผืนป่าแหล่งไหน บนโลกคือผืนป่าเดียวกัน’ ขับเคลื่อน Dance for Peace 2020..หัวใจเดียวกัน ด้วยกลไกการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และนักเต้นจิตอาสา เพื่อเป็นแสงสว่าง (Spotlight) ส่องถึงการทำงานของชุมชนคนตัวเล็กที่ปกปักรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ของประเทศไทย พัฒนาความร่วมมือ 40 ประเทศ ที่ตื่นตัวกับสุขภาพ มีแหล่งวัตถุดิบอาหารปลอดภัย จากการดูแลทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ใช้ชีวิตอยู่อย่างไม่เบียดเบียนโลก
  • 13. ภาคีหลัก สมาคมอุทยานแห่งชาติ, การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กลุ่มเป้าหมาย Dance for Peace 2020…Send This Love คนทุกช่วงวัย จำนวน 500 คน แบ่งตามอายุดังนี้ กลุ่ม Creative Movement อายุ 3 - 6 ปี กลุ่ม Pre teen อายุ 7-12 ปี กลุ่ม ISV - teen (International Spiritual Volunteer) อายุ 13 - 25 ปี กลุ่ม ISV - Adult อายุ 26 - 40 ปี กลุ่ม M&M - Young (Mindfulness Movement) อายุ 41 - 60 ปี กลุ่ม M&M - Adult อายุ 60 ปีขึ้นไป
  • 14. สถานที่ เสถียรธรรมสถาน กรุงเทพฯ ถนนวัชรพล เขตบางเขน กรุงเทพฯ เสถียรธรรมสถาน หุบเขาโพธิสัตว์ ติดอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ผลคาดหวังที่ได้รับ ครูจิตอาสาหัวใจเดียวกัน หัวใจโพธิสัตว์ สร้างเยาวชนพึ่งตนเองได้ ให้คนอื่นเป็น สร้างเครือข่ายเชื่อมโยง 40 ประเทศ ‘ไม่ว่าผืนป่าแหล่งไหนบนโลก คือผืน ป่าเดียวกัน’ พึ่งตนเองได้ ให้คนอื่นเป็น
  • 15.
  • 16.
  • 17. D a n c e F o r P e a e c 2 0 2 0