SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 57
อูร าชนาวีม หิด ล (อรม
                 ่




.ต .บพิธ ทศเทพพิทัย และพัฒ นา กรมพัฒ นาก
 ต           กองวิจ ัก ษ์
                        กรมอูท หารเรือ
                             ่
หัว ข้อ ในการบรรยาย

 • ความเป็นมาของโครงการ
 • ทำาความรู้จักยานบินเบาะอากาศ
 • สังเกตการณ์การทดสอบยานบินเบาะอากาศ
 ณ อ่าวสัตหีบ
 • แผนการทดสอบ
 • ผลการทดสอบ


กองวิจ ัย และพัฒ นา กรมพัฒ นาการ
ความเป็น มาของโครงการ

          ภาควิชาวิศวกรรมการบิน และอวกาศ
    ยาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
    เกษตรศาสตร์ ได้ร่วมกับ บริษัท
    WIGETWORKS PTE LIMITED ประเทศ
    สิงคโปร์ ขออนุญาตใช้พื้นที่ของ ทร. ใน
    การบินทดสอบยานบินเบาะอากาศ ณ บริเวณ
    อ่าวสัตหีบหน้าท่า อรม.อร. ช่วงเวลาตั้งแต่
    พ.ค.๔๙ – ก.พ.๕๐

กองวิจ ัย และพัฒ นา กรมพัฒ นาการ
ความเป็น มาของโครงการ

         โดยมีจุดประสงค์ทดสอบยานบินเบาะ
    อากาศ เพื่อทดสอบสมรรถนะของยานบิน
    เบาะอากาศ ซึ่งเป็นยานที่ภาควิชาวิศวกรรม
    การบินและอวกาศยานของมหาวิทยาลัย
    เกษตรศาสตร์ ให้ความสนใจและกำาลังมี
    โครงการศึกษาและวิจัยการออกแบบ สร้าง
    และทดสอบการใช้งาน


กองวิจ ัย และพัฒ นา กรมพัฒ นาการ
ความเป็น มาของโครงการ

               ทร.ก็ให้ความสนใจ และอนุญาตให้
    ใช้พื้นที่บริเวณอ่าวสัตหีบ ทั้งนี้เพื่อที่จะได้
    ศึกษาเกี่ยวกับขีดความสามารถและข้อจำากัด
    ของยานประเภทนี้ โดยให้ กร., อร. และ
    สวพ.ทร. จัดกำาลังพลเข้าร่วมสังเกตุการณ์
    ระหว่างการทดสอบ ในการนี้ อร.ได้ตั้งคณะ
    ทำางานศึกษารวบรวมข้อมูลฯ ขึ้นเพื่อที่จะ
    ติดตามและสังเกตการณ์การทดสอบดังกล่าว
    อย่างใกล้ชด   ิ
กองวิจ ัย และพัฒ นา กรมพัฒ นาการ
ทำาความรูจักยานบินเบาะ
         ้
       อากาศ
ทำา ความรู้จ ัก ยานบิน เบาะอากาศ

    • เป็นยานที่บินเผินนำ้า คือสูงกว่าผิวนำ้า
    ประมาณ 3 เมตร
    • มีความเร็วมากกว่าเรือ แต่ชากว่าเครื่อง
                                   ้
    บิน
    • ใช้เครื่องยนต์รถยนต์ธรรมดา รอบสูง
    • ประหยัดเชือเพลิงมากกว่าเครื่องบิน และ
                 ้
    เรือ
    • มีความคล่องตัว กินนำ้าตื้น ไม่รบกวนแนว
    ปะการัง
กองวิจ ัย และพัฒ นา กรมพัฒ นาการ
ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จ
AF3 Wig Craft
          ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จ
จัง หวะ Take Off
จัง หวะ Landing
ข้อมูลยานเบาะอากาศอื่น ๆ จาก
         อินเตอร์เน็ต
ข้อมูลยานเบาะอากาศอื่น ๆ จาก
         อินเตอร์เน็ต
อูร าชนาวีม หิด ล (อรม
  ่




   กรมพัฒ นาการช่า ง
    กรมอู่ท หารเรือ
Flightship


                 ยานบิน เบาะอากาศ
                 มีรูปแบบการใช้งาน 2 แบบ
                 • แบบยานขนส่งเอกชน บรรทุก
                  บรรทุกผู้โดยสารได้ 6 คน
                 • แบบใช้ในภารกิจทหาร บรรทุก
                  2 คน นักบิน และนักบินผู้ช่วย
                  สามารถติดอาวุธได้ แต่นำ้าหนักต้อง
                  ไม่เกินนำ้าหนักบรรทุกรวม




             กรมพัฒ นาการช่า ง
Flightship FS8


Technic
 Dimensions..
al Data
 Wing Span Overall
 Length Overall
                        15.6 m
                        17.45 m
 Height Overall         4.1 m
 Cabin Height           1.5 m
 Cabin Width            2.0 m

 Masses
 Empty Weight            3570 kg
 Max. Take Off Weight    4750 kg




 กรมพัฒ นาการช่า ง
Flightship FS8

 Technic
 al Data
Operating Limits
Max. Operating Loads     4G Vertical
                                           Engine
                                           General Motors 6.5 litre V8 efi 450hp 337kW
Max. Turn Rate           6 Deg/Sec
Max. Wave Height         4m                Propellers
Water Drive Speed        11 km/h           4 Blade Fixed Pith          2.2 m dia
Take Off Landing Speed   55kts(100 km/h)
Cruise Speed             86kts(160 km/h)   Construction
Range fully loaded       2200 km           Structure       FRP Cored Epoxy Composite
Operating Height         3.0 m
Wind Speed               25Kts(46km/h)




 กรมพัฒ นาการช่า ง
การประกอบตัวยานบิน
    เบาะอากาศ
    ณ อรม.อร.
าะอากาศ Flightship รุน FS8
                     ่
ลัก ษณะทางกายภาพทั่ว ๆ ไป
ณะการวางเครื่อ งยนต์
ลัก ษณะใบพัด และการประกอบ
ลัก ษณะการเชื่อ มต่อ ปีก เข้า กับ ตัว เรือ น
ghtship FS8 เมื่อ ประกอบสมบูร ณ์แ ล้ว




                    ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จ
ลัก ษณะการจอดเทีย บท
สามารถจอดกลางทะเลได้ โดยมีกล่องพลาสติก
ลอยนำ้า ต่อกันเป็นแพคล้าย ๆ จิ๊กซอ สามารถ
ถอดประกอบและเคลื่อนย้ายได้




      ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จ
ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จ
ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จ
ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จ
แผนการทดสอบ ณ อ่าวสัตหีบ
พื้นที่ในการบินทดสอบ

การทดสอบยานบินเบาะอากาศ แบ่งพื้นที่การ
ทดสอบออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

• พื้นที่ A บริเวณหน้าท่า อรม.อร.
• พื้นที่ B บริเวณอ่าวจุกเสม็ด
• พื้นที่ C บริเวณอ่าวสัตหีบ
•   พื้นที่ A (บริเวณหน้าท่า อรม.)
    –   ขนาด 100 m X 100 m
    –   Static Test ทดสอบระบบต่าง ๆ
        ทดลองเดินเครื่อง




                                      พืนที่ ‘A’
                                        ้
Direction of run




                                                             พื้นที่ ‘B’



•   พื้นที่ B บริเวณอ่าวจุกเสม็ด
     – ขนาด2 Km X 0.25 Km          WW’s Support Boat

     – ทดสอบวิ่งด้วยความเร็วตำ่า
     – วิ่งจากทิศใต้ไปตะวันตก
•   พื้นที่ C บริเวณอ่าวสัตหีบ
     – พืนที่ขนาด 3.5 Km X 0.5 Km
         ้
     – ทดสอบวิ่งด้วยความเร็วสูง และทดสอบบิน
     – ทิศทางการวิ่งจากทิศใต้ไปทางตะวันตก




                                                 Direction of run



                                                        พืนที่ ‘C’
                                                          ้




                             WW’s Support Boat
ผลการทดสอบ
• จากการทดสอบยานบินเบาะอากาศทีบริเวณอ่าวสัตหีบ
                                     ่
   ในสภาพอากาศปกติ ได้ความเร็วในบริเวณผิวทะเล
  จังหวะ Take Off Landing Speed ความเร็ว
  ประมาณ ๕๐ knot และความเร็วเหนือผิวทะเล
  (Cruise Speed) ทีประมาณ ๘๐ knot สภาพ
                      ่
  เครื่องยนต์ปกติ สรุปได้ว่า ยานบินเบาะอากาศลำานี้
  สามารถทำาการทดสอบการบินเหนือผิวนำ้าได้ผลเป็น
  อย่างดี
• ยานเบาะอากาศถูกออกแบบให้สามารถขับเคลื่อนและ
  ยกตัวยานเบาะอากาศ ด้วยเครื่องยนต์ General
  Motors 6.5 liter V8 efi 450hp 337kW
  สามารถแล่นขณะลอยตัวอยูบนนำ้าได้เป็นอย่างดี ถึง
                              ่
ผลการทดสอบ
จัง หวะเริ่ม
                        ต้น
                       ในช่ว งจัง หวะเริ่ม
                       ต้น คือ จัง หวะ
                       Take Off Landing
                       Speed ซึ่ง ใน
ภาพผลการทดสอบการบิน   บริเ วณอ่้จ ะใช้
                       จัง หวะนี า ว
                       ความเร็ว ที่ ๕๐ kts
สัต หีบ                หรือ ประมาณ ๑๐๐
                        จัง หวะเผิน
                       km/h
                        นำ้า
                        ในช่ว งจัง หวะ
                        เผิน นำ้า คือ จัง หวะ
                        ที่ต ัว ยานพ้น
                        ผิว นำ้า จะมี
                        ความเร็ว (Cruise
บทสรุป
• ความสามารถในการต้านทานแรงลม และคลื่นมี
  อยู่น้อย จึงใช้ขนส่งในทะเลสาบเป็นส่วนใหญ่
  มีความรวดเร็วและคล่องตัวพอสมควร สามารถ
  เข้าปฏิบติภารกิจได้หลากหลายในพื้นที่ที่เรือ
           ั
  ใหญ่ไม่สามารถเข้าถึง หรือเป็นพื้นที่อนุรักษ์
  ทรัพยากรใต้ทะเลเนื่องจากท้องยานกินนำ้าตื้น
  มาก
บทสรุป
ด้านความปลอดภัย
• มีความปลอดภัยสูงเนื่องจากบินตำ่าสูงจากผิว
  ทะเลเพียงแค่ ๓ เมตร สามารถที่จะข้ามสิ่ง
  กีดขวาง เช่น เรือประมงได้ ถ้ามองเห็นในระยะ
  ไกล ก็สามารถที่บนสูงขึ้นได้ ตัวเรือผลิตจาก
                   ิ
  วัสดุผสม (Composite Material) ซึ่งมีความ
  แข็งแรง ทนแรงกระแทกและฉีกขาดได้สูง
บทสรุป
ด้านเทคโนโลยี
• เทคโนโลยีที่ใช้ในยานบินเบาะอากาศ ก็เป็น
  เทคโนโลยีปกติ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องต้นกำาลังขับก็
  เป็นเครื่องยนต์รถยนต์ ตัวเรือก็เป็นวัสดุผสม
  (Composite Material) ที่ประเทศไทยก็มี
  ความสามารถในการผลิตขึ้นใช้เองในประเทศ
  นอกจากนันยังมีความคงทนต่อนำ้าทะเล และที่
              ้
  สำาคัญมีนำ้าหนักเบาอีกด้วย ส่วนระบบนำาร่อง
  เรดาร์ หรือโซนาร์ก็เป็นระบบนำาร่องที่ใช้กันใน
  เรือโดยสาร และเครื่องบินที่ใช้กันอยู่ทั่วไป
บทสรุป
ด้านภารกิจทหาร
• สำาหรับการนำามาใช้งานในภารกิจทางทหาร ยานบิน
   เบาะอากาศประเภทนี้สามารถรอดพ้นจากอันตรายจาก
   ทุนระเบิดทีขึงอยูใต้นำ้าเพราะลำาตัวเรือลอยจากผิวนำ้า
     ่          ่   ่
   และสามารถใช้ในการขนส่งกำาลังทหารและ
   ยุทโธปกรณ์ไปยังพื้นที่เป้าหมาย เช่น เกาะในทะเล
   หรือพืนทีทยากต่อการเข้าถึงของเรือรบขนาดใหญ่
         ้ ่ ี่
   กระทำาการได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนันยังสามารถที่จะ
                                          ้
   ติดอาวุธเพือเสริมเขี้ยวเล็บได้อีกด้วย
              ่
ติดต่อขอข้อมูลเกี่ยวกับยานบินเบาะอากาศได้ที่.....
กองวิจัยและพัฒนา กรมพัฒนาการช่าง กรมอู่ทหารเรือ
โทร. 54042

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von M.L. Kamalasana

Camara for uav jan2012 eas 021
Camara for uav jan2012 eas 021Camara for uav jan2012 eas 021
Camara for uav jan2012 eas 021M.L. Kamalasana
 
คู่มือการใช้งาน Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
คู่มือการใช้งาน  Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.คู่มือการใช้งาน  Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
คู่มือการใช้งาน Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.M.L. Kamalasana
 
แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.
แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.
แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.M.L. Kamalasana
 
ยกภูเขาไปอ่าว
ยกภูเขาไปอ่าวยกภูเขาไปอ่าว
ยกภูเขาไปอ่าวM.L. Kamalasana
 

Mehr von M.L. Kamalasana (7)

World war 2
World war 2World war 2
World war 2
 
Camara for uav jan2012 eas 021
Camara for uav jan2012 eas 021Camara for uav jan2012 eas 021
Camara for uav jan2012 eas 021
 
คู่มือการใช้งาน Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
คู่มือการใช้งาน  Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.คู่มือการใช้งาน  Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
คู่มือการใช้งาน Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
 
แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.
แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.
แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.
 
Cg vs n
Cg vs nCg vs n
Cg vs n
 
Mega trend
Mega trendMega trend
Mega trend
 
ยกภูเขาไปอ่าว
ยกภูเขาไปอ่าวยกภูเขาไปอ่าว
ยกภูเขาไปอ่าว
 

บรรยายยานบินเบาะอากาศ

  • 1. อูร าชนาวีม หิด ล (อรม ่ .ต .บพิธ ทศเทพพิทัย และพัฒ นา กรมพัฒ นาก ต กองวิจ ัก ษ์ กรมอูท หารเรือ ่
  • 2. หัว ข้อ ในการบรรยาย • ความเป็นมาของโครงการ • ทำาความรู้จักยานบินเบาะอากาศ • สังเกตการณ์การทดสอบยานบินเบาะอากาศ ณ อ่าวสัตหีบ • แผนการทดสอบ • ผลการทดสอบ กองวิจ ัย และพัฒ นา กรมพัฒ นาการ
  • 3. ความเป็น มาของโครงการ ภาควิชาวิศวกรรมการบิน และอวกาศ ยาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ได้ร่วมกับ บริษัท WIGETWORKS PTE LIMITED ประเทศ สิงคโปร์ ขออนุญาตใช้พื้นที่ของ ทร. ใน การบินทดสอบยานบินเบาะอากาศ ณ บริเวณ อ่าวสัตหีบหน้าท่า อรม.อร. ช่วงเวลาตั้งแต่ พ.ค.๔๙ – ก.พ.๕๐ กองวิจ ัย และพัฒ นา กรมพัฒ นาการ
  • 4. ความเป็น มาของโครงการ โดยมีจุดประสงค์ทดสอบยานบินเบาะ อากาศ เพื่อทดสอบสมรรถนะของยานบิน เบาะอากาศ ซึ่งเป็นยานที่ภาควิชาวิศวกรรม การบินและอวกาศยานของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ให้ความสนใจและกำาลังมี โครงการศึกษาและวิจัยการออกแบบ สร้าง และทดสอบการใช้งาน กองวิจ ัย และพัฒ นา กรมพัฒ นาการ
  • 5. ความเป็น มาของโครงการ ทร.ก็ให้ความสนใจ และอนุญาตให้ ใช้พื้นที่บริเวณอ่าวสัตหีบ ทั้งนี้เพื่อที่จะได้ ศึกษาเกี่ยวกับขีดความสามารถและข้อจำากัด ของยานประเภทนี้ โดยให้ กร., อร. และ สวพ.ทร. จัดกำาลังพลเข้าร่วมสังเกตุการณ์ ระหว่างการทดสอบ ในการนี้ อร.ได้ตั้งคณะ ทำางานศึกษารวบรวมข้อมูลฯ ขึ้นเพื่อที่จะ ติดตามและสังเกตการณ์การทดสอบดังกล่าว อย่างใกล้ชด ิ กองวิจ ัย และพัฒ นา กรมพัฒ นาการ
  • 7. ทำา ความรู้จ ัก ยานบิน เบาะอากาศ • เป็นยานที่บินเผินนำ้า คือสูงกว่าผิวนำ้า ประมาณ 3 เมตร • มีความเร็วมากกว่าเรือ แต่ชากว่าเครื่อง ้ บิน • ใช้เครื่องยนต์รถยนต์ธรรมดา รอบสูง • ประหยัดเชือเพลิงมากกว่าเครื่องบิน และ ้ เรือ • มีความคล่องตัว กินนำ้าตื้น ไม่รบกวนแนว ปะการัง กองวิจ ัย และพัฒ นา กรมพัฒ นาการ
  • 9. AF3 Wig Craft ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จ
  • 10.
  • 15. อูร าชนาวีม หิด ล (อรม ่ กรมพัฒ นาการช่า ง กรมอู่ท หารเรือ
  • 16. Flightship ยานบิน เบาะอากาศ มีรูปแบบการใช้งาน 2 แบบ • แบบยานขนส่งเอกชน บรรทุก บรรทุกผู้โดยสารได้ 6 คน • แบบใช้ในภารกิจทหาร บรรทุก 2 คน นักบิน และนักบินผู้ช่วย สามารถติดอาวุธได้ แต่นำ้าหนักต้อง ไม่เกินนำ้าหนักบรรทุกรวม กรมพัฒ นาการช่า ง
  • 17. Flightship FS8 Technic Dimensions.. al Data Wing Span Overall Length Overall 15.6 m 17.45 m Height Overall 4.1 m Cabin Height 1.5 m Cabin Width 2.0 m Masses Empty Weight 3570 kg Max. Take Off Weight 4750 kg กรมพัฒ นาการช่า ง
  • 18. Flightship FS8 Technic al Data Operating Limits Max. Operating Loads 4G Vertical Engine General Motors 6.5 litre V8 efi 450hp 337kW Max. Turn Rate 6 Deg/Sec Max. Wave Height 4m Propellers Water Drive Speed 11 km/h 4 Blade Fixed Pith 2.2 m dia Take Off Landing Speed 55kts(100 km/h) Cruise Speed 86kts(160 km/h) Construction Range fully loaded 2200 km Structure FRP Cored Epoxy Composite Operating Height 3.0 m Wind Speed 25Kts(46km/h) กรมพัฒ นาการช่า ง
  • 19. การประกอบตัวยานบิน เบาะอากาศ ณ อรม.อร.
  • 24. ลัก ษณะการเชื่อ มต่อ ปีก เข้า กับ ตัว เรือ น
  • 25.
  • 26. ghtship FS8 เมื่อ ประกอบสมบูร ณ์แ ล้ว ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จ
  • 27. ลัก ษณะการจอดเทีย บท สามารถจอดกลางทะเลได้ โดยมีกล่องพลาสติก ลอยนำ้า ต่อกันเป็นแพคล้าย ๆ จิ๊กซอ สามารถ ถอดประกอบและเคลื่อนย้ายได้ ข้อมูลจากบริษัท WIGETWORKS จ
  • 32. พื้นที่ในการบินทดสอบ การทดสอบยานบินเบาะอากาศ แบ่งพื้นที่การ ทดสอบออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ • พื้นที่ A บริเวณหน้าท่า อรม.อร. • พื้นที่ B บริเวณอ่าวจุกเสม็ด • พื้นที่ C บริเวณอ่าวสัตหีบ
  • 33. พื้นที่ A (บริเวณหน้าท่า อรม.) – ขนาด 100 m X 100 m – Static Test ทดสอบระบบต่าง ๆ ทดลองเดินเครื่อง พืนที่ ‘A’ ้
  • 34. Direction of run พื้นที่ ‘B’ • พื้นที่ B บริเวณอ่าวจุกเสม็ด – ขนาด2 Km X 0.25 Km WW’s Support Boat – ทดสอบวิ่งด้วยความเร็วตำ่า – วิ่งจากทิศใต้ไปตะวันตก
  • 35. พื้นที่ C บริเวณอ่าวสัตหีบ – พืนที่ขนาด 3.5 Km X 0.5 Km ้ – ทดสอบวิ่งด้วยความเร็วสูง และทดสอบบิน – ทิศทางการวิ่งจากทิศใต้ไปทางตะวันตก Direction of run พืนที่ ‘C’ ้ WW’s Support Boat
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50. ผลการทดสอบ • จากการทดสอบยานบินเบาะอากาศทีบริเวณอ่าวสัตหีบ ่ ในสภาพอากาศปกติ ได้ความเร็วในบริเวณผิวทะเล จังหวะ Take Off Landing Speed ความเร็ว ประมาณ ๕๐ knot และความเร็วเหนือผิวทะเล (Cruise Speed) ทีประมาณ ๘๐ knot สภาพ ่ เครื่องยนต์ปกติ สรุปได้ว่า ยานบินเบาะอากาศลำานี้ สามารถทำาการทดสอบการบินเหนือผิวนำ้าได้ผลเป็น อย่างดี • ยานเบาะอากาศถูกออกแบบให้สามารถขับเคลื่อนและ ยกตัวยานเบาะอากาศ ด้วยเครื่องยนต์ General Motors 6.5 liter V8 efi 450hp 337kW สามารถแล่นขณะลอยตัวอยูบนนำ้าได้เป็นอย่างดี ถึง ่
  • 52. จัง หวะเริ่ม ต้น ในช่ว งจัง หวะเริ่ม ต้น คือ จัง หวะ Take Off Landing Speed ซึ่ง ใน ภาพผลการทดสอบการบิน บริเ วณอ่้จ ะใช้ จัง หวะนี า ว ความเร็ว ที่ ๕๐ kts สัต หีบ หรือ ประมาณ ๑๐๐ จัง หวะเผิน km/h นำ้า ในช่ว งจัง หวะ เผิน นำ้า คือ จัง หวะ ที่ต ัว ยานพ้น ผิว นำ้า จะมี ความเร็ว (Cruise
  • 53. บทสรุป • ความสามารถในการต้านทานแรงลม และคลื่นมี อยู่น้อย จึงใช้ขนส่งในทะเลสาบเป็นส่วนใหญ่ มีความรวดเร็วและคล่องตัวพอสมควร สามารถ เข้าปฏิบติภารกิจได้หลากหลายในพื้นที่ที่เรือ ั ใหญ่ไม่สามารถเข้าถึง หรือเป็นพื้นที่อนุรักษ์ ทรัพยากรใต้ทะเลเนื่องจากท้องยานกินนำ้าตื้น มาก
  • 54. บทสรุป ด้านความปลอดภัย • มีความปลอดภัยสูงเนื่องจากบินตำ่าสูงจากผิว ทะเลเพียงแค่ ๓ เมตร สามารถที่จะข้ามสิ่ง กีดขวาง เช่น เรือประมงได้ ถ้ามองเห็นในระยะ ไกล ก็สามารถที่บนสูงขึ้นได้ ตัวเรือผลิตจาก ิ วัสดุผสม (Composite Material) ซึ่งมีความ แข็งแรง ทนแรงกระแทกและฉีกขาดได้สูง
  • 55. บทสรุป ด้านเทคโนโลยี • เทคโนโลยีที่ใช้ในยานบินเบาะอากาศ ก็เป็น เทคโนโลยีปกติ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องต้นกำาลังขับก็ เป็นเครื่องยนต์รถยนต์ ตัวเรือก็เป็นวัสดุผสม (Composite Material) ที่ประเทศไทยก็มี ความสามารถในการผลิตขึ้นใช้เองในประเทศ นอกจากนันยังมีความคงทนต่อนำ้าทะเล และที่ ้ สำาคัญมีนำ้าหนักเบาอีกด้วย ส่วนระบบนำาร่อง เรดาร์ หรือโซนาร์ก็เป็นระบบนำาร่องที่ใช้กันใน เรือโดยสาร และเครื่องบินที่ใช้กันอยู่ทั่วไป
  • 56. บทสรุป ด้านภารกิจทหาร • สำาหรับการนำามาใช้งานในภารกิจทางทหาร ยานบิน เบาะอากาศประเภทนี้สามารถรอดพ้นจากอันตรายจาก ทุนระเบิดทีขึงอยูใต้นำ้าเพราะลำาตัวเรือลอยจากผิวนำ้า ่ ่ ่ และสามารถใช้ในการขนส่งกำาลังทหารและ ยุทโธปกรณ์ไปยังพื้นที่เป้าหมาย เช่น เกาะในทะเล หรือพืนทีทยากต่อการเข้าถึงของเรือรบขนาดใหญ่ ้ ่ ี่ กระทำาการได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนันยังสามารถที่จะ ้ ติดอาวุธเพือเสริมเขี้ยวเล็บได้อีกด้วย ่