SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
Download to read offline
ความสําคัญของการ
พัฒนาเว็บไซต์สําหรับการบริการข ้อมูลของวท.


           ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์
                  เนคเทค/สวทช
                  9:30-10:00 น.
                27 กรกฎาคม 2554
ั
สงคมความรู ้
นิยาม

      ั
•สงคมความรู ้หมายถึงสงคมั
  ึ     ้
ซงใชความรู ้เป็ นทรัพยากร
หลักในการผลิตแทนการใช ้
ทรัพยากรเงินและแรงงาน
อย่างในอดีต
    ั
•สงคมความรู ้ “สร ้าง แบ่งปั น
             ้
และใชความรู ้เพือความ
เจริญรุงเรืองและความ
          ่
เป็ นอยูทดีของประชาชน”
            ่ ี


                                 http://www.modernization.com.cn/index2.htm

wikipedia
ความรู ้เป็ นต ้นทุนทีสําคัญ
      ั                                 ่                   ่ ั
  •สงคมความรู ้มีมานานแล ้ว มิใชเพิงเกิดใหม่ ตัวอย่างเชนสงคมชาวประมงแบ่งปั นความรู ้
  เรืองการพยากรณ์อากาศในหมูของตน และความรู ้นึได ้กลายเป็ นต ้นทุนของสงคม
                                      ่                                      ั
  ชาวประมงเป็ นต ้น
        ิ
  •สงทีเกิดขึนใหม่คอ   ื
                                  ั ั
          ด ้วยเทคโนโลยีปัจจุบนสงคมความรู ้มิได ้ถูกจํากัดด ้วยสภาพภูมศาสตร์
                                                                      ิ
                                                                           ้
          เทคโนโลยีปัจจุบนบันดาลให ้เกิดการแบ่งปั น การเก็บและการเรียกใช(archiving
                            ั
          and retrieving) ความรู ้ทีกว ้างไกล
          ความรู ้ได ้กลายเป็ นต ้นทุนทีสําคัญในยุคปั จจุบน
                                                          ั
          ความสําเร็จของแต่ละสงคมจึงขึนอยูกบการรู ้จักใชประโยชน์จากความรู ้
                                    ั           ่ ั           ้


  ทุนทางความรู ้(knowledge capital)
                                     ึ
 •หมายถึงการทีองค์กรใดองค์กรหนึงซงมีความรู ้ทีมีคณค่าภายในของตนเองและสามารถสามารถแบ่งปั น
                                                 ุ
 เพือยกระดับความสามารถในการแข่งขันขององค์กร
 •ทุนทางความรู ้บ่งวาการแบ่งปั นทักษะและสารสนเทศเป็ นการแบ่งปั นพลัง
 •ทุนทางความรู ้เกิดจากการสะสมประสบการณ์ สารสนเทศ ความรู ้ การเรียนรู ้และทักษะของบุคคลหรือ
 พนักงานของกลุมหรือขององค์กร
                   ่
 •ในบรรดาต ้นทุนทางการผลิตทังหลาย(เงิน คน ความรู ้) ทุนทางความรู ้สร ้างการแข่งขันทียังยืนทีสุด
                                               ่                                      ์
 •มันอาจเก็บบันทึกเป็ นสารสนเทศทางเทคนิก (เชนในอุตสาหกรรมเคมีและอิเล็กทรอนิกสเป็ นต ้น) หรือ
                                                                                    ่
 มันอาจอยูในตัวบุคคลในรูปแบบของประสบการณ์หรือทักษะทีบุคคลนันได ้สร ้างสมไว ้ (เชนในอตสาหกร
            ่
 รมก่อสร ้างหรือโรงงานเหล็ก).
 •ทุนความรู ้เป็ นองค์ประกอบทีสําคัญของทุนมนุษย์
โครงสร ้างพืนฐานของความรู ้


  ั
•สงคมความรู ้ต ้องการโครงสร ้างพืนฐาน
       1.กายภาพ: สถานทีประชุม, แผงติดประกาศ, …..
       2.เทคโนโลยี: language, content sharing, mailing lists, web
       portals, wikis, chat rooms, videoconferencing, virtual
       meetings, collaborative development environments, distance
       education ...

•การผลักดันซอฟต์แวร์ฟรี(Free software movement ) เป็ น
ตัวอย่างของความสําเร็จของสงคมความรู ้
                           ั
นิยามและวิวฒนาการของ
              ั
 ั              ื    ื
สงคมสารสนเทศ:สอและสอผสม
นิยาม
  ื
สอ(media)
         ื                                          ่ ่
•ดังเดิมสอจะหมายถึงทีตัวกลางในการเก็บและชองทางรับสงสารสนเทศและข ้อมูล
                          ้                   ่
อีกนัยหนึงคือเครืองมือทีใชในการเก็บและรับสงสารสนเทศหรือข ้อมูล
•บ่อยครังทีคํานีจะใชในความหมายเดียวกับกันสอสําหรับมวลชน(mass media) เชน
                      ้                           ื                   ่
                    ื
โทรทัศน์ วิทยุ หนังสอพิมพ์, อินเทอร์เน็ ตเป็ นต ้น




  ื
สอผสม(Multimedia)
                   ื
•สอผสมจะหมายถึงสอ(media)และสาระ
    ื
(content) ทีประกอบกันทําให ้ได ้รูปแบบ
ต่างๆของสาระ
      ื
•สอผสมจะหมายรวมถึงการผสมกัน
              ี
ระหว่างอักษรเสยง ภาพนิง แอนนิเมชน   ั
                       ั
วิดทศน์ ตลอดจนการมีปฎิสมพันธ์ระหว่าง
    ิ ั
สอกับผู ้ใช ้
  ื


Adapted from wikipedia
ยุคเริมต ้นของการเขียน




 •อักขระปรากฏบนแผ่นอิฐเป็ นสูตรในการหมัก
 เบียร์                                                        ชนสวนกระดาษปาปิ ร ัสในคริส
                                                                  ิ ่
 •หลักฐานทีแสดงว่าชนชาติสมาเรียนทีอาศย
                               ุ        ั                      ศตวรรษที4 ซงมีขอความ
                                                                              ึ    ้
                                     ่
 ในประเทศเมโซโปเตเมีย(ปั จจุบันเป็ นสวน                        อ ักขระยิวเปนบทสวดที89:4-7
                                                                           ็
 หนึงของอิรัก)เมือ 3200ปี ก่อนคริสตกาล                         ในค ัมภีรไบเบิลฉบ ับเก่า
                                                                        ์
 เป็ นชนชาติแรกทีรู ้จักการเขียน


 Source:Who Began Writing? Many Theories, Few Answers
 By JOHN NOBLE WILFORD,The   New York Times -- April 6, 1999

 http://www.virtual-egypt.com
ภาพวาดฝาผนัง
ก่อนประวัตศาสตร์
          ิ




•ถํา Lascaux อยูทางตะวันตกเฉียงใต ้ของฝรังเศส
                ่
•ภาพบนฝาถํายุคหิน(15,000-10,000 ก่อน              •ถํา Magura อยูทางตะวันตกเฉียง
                                                                     ่
คริสตกาล) กว่า2,000 ภาพซงสามารถแบ่งออกเป็ น3
                           ึ
                                                  เหนือของบุลกาเรียห่างจากเมืองหลวง
                  ั                  ั
กลุมได ้แก่ — ภาพสตว์ ภาพมนุษย์และสญลักษณ์จตน
   ่                                          ิ
การ(abstract signs)                               โซเฟี ย180กม.
                                                  •ภาพวาดแสดงผู ้หญิงและชาย สตว์  ั
                                                  ต ้นไม ้ เครืองมือ ดวงดาวและดวง
                                                  อาทิตย์ ก่อนยุคบรอนซ(3,000ปี ก่อน
                                                                          ์
                                                  คริสตกาล)


 http://www.oddee.com/item_93915.aspx
ื
ยุคแห่งการพิมพ์หนั งสอ




     ั
  โยฮน กูเต็นเบิร(ค.ศ.1400
                 ์
  -1468), ชาวเยอรมันผู ้      แท่นพิมพ์เปลียนตัวอักษรได ้
  ประดิษฐ์เครืองพิมพ์        ของกูเต็นเบิรก
                                          ์                 คัมภีรไบเบิลพิมพ์ด ้วยเครืองพิมพ์กเต็นเบิรก
                                                                  ์                           ู       ์




   •คัมภีรไบเบิลทีพิมพ์ด ้วยเครืองพิมพ์กเต็นเบิรกระหว่าง
          ์                             ู       ์
                        ั
   ค.ศ.1454-1455เป็ นสญลักษณ์ทบ่งถึงการเริมต ้น “ยุค
                                    ี
                     ื
   แห่งการพิมพ์หนั งสอ” (ต ้นฉบับยังเก็บไว ้ทีLibrary of
   Congress, US)
ื             ์
หนังสออิเล็กทรอนิกส(eBook): Kindle DX
(6 May 2009)



     Amazon today unveiled a new,
     larger version of its Kindle ebook
     reader, which is aimed at
     students – and heralded as a
     potential saviour by some parts
     of the newspaper industry.
    (guardian.co.uk, Wednesday 6 May 2009 )    ปริมาณการขายAmazon e-book สูงกว่า
                                                     ื
                                               หน ังสอธรรมดาเปนครงแรกเมือปลายปี
                                                              ็  ั
                                               ค.ศ.2009 (guardian.co.uk, 28 Dec 2009)
                                                   วางขายราว
  •วางตลาดฤดูร ้อนของสหรัฐอเมริกาในราคา             ื
                                              •ผู ้ซอสามารถเข ้าถึง 60%ของตําราเรียน
  $489                                        ของสํานั กพิมพ์ Pearson, Wiley และ
       ้                     ื
  •ใชแสดงตําราและข่าวหนั งสอพิมพ์             Cangage
                           ่      ึ
  •จอขนาด 9.7 นิวใหญ่กว่ารุนเดิม(ซง           •ตอนเปิ ดตัวบริษัทอเมซอนจะลดราคาผู ้
  แสดงนวนิยาย paperback) ราว 2 เท่า                                   ิ
                                              ประสงค์สมัครเป็ นสมาชกระยะยาวของNew
                    ื
  •สามารถบรรจุหนั งสอ 3,500 เล่ม              York Times, Washington Post และ
  •แสดงไฟล์และสารคดีทเคยแสดงบนPC
                        ี                                        ึ
                                              Boston Globe (ซงกําลังมีปัญหาด ้านธุรกิจ
  ได ้ด ้วย                                           ้
                                              ทีใชกระดาษ)
วิวฒนาการของ
      ั
            ั
   ระบบโทรศพท์
มือถือและแท็บเบล็ต


นิยาม 1G(ยุคค.ศ.1980)
            ่ ื        ี
•พัฒนาเพือใชสอสารด้วยเสยงเท่านั นใชเทคโนโลยีอานาล็ อก
                                    ้
นิยาม2G/2.5G(ยุคค.ศ.1990)
                       ่
•ระบบดิจทัลตัวอย่างเชนระบบGSM เป็ นระบบเทคโนโลยี2G
          ิ
      ้
•ใชเทคโนโลยีทเรียกว่าTDMA
                 ี
                   ี                     ่
•นอกเหนือจากเสยงแล ้วยังสามารถรับสงข ้อมูลที
9.6kbps/14.4kbps.
                                ่
•ต่อมาได ้รับการปรับปรุงให ้รับสงได ้ถึง114kbpsด ้วยระบบที
เรียกว่า GPRS
•GSMทีมีGPRS เป็ นเทคโนโลยีทจะนํ าไปสู่ 3Gดังนันมันจึงมักได ้
                                  ี
  ื
ชอว่าเป็ น 2.5G
    ื          ้
•เชอกันว่าไม่ชาGSM ก็จะค่อยๆหมดไปและจะถูกแทนทีด ้วยระบบ
3G
นิยาม 3G(ยุคค.ศ.2000)
              ี                                      ่
•นอกจากเสยงแล ้วยังมีอนเทอร์เน็ ตความเร็วสูงในการรับสง
                           ิ
ข ้อมูลภาพวีดโอและเพลงคุณภาพเดียวกับทีฟั งจากซด ี
                ิ                                ี
•อัตราเร็วข ้อมูลไม่ตํากว่า 2 Mbps
์ ิ
                     กระดาษอิเล็กทรอนิกสบดได ้
                                       ื
                     ขนาดเท่าหน ้าหนังสอพิมพ์

                    •เมือวันที 15 มกราคม 2553 บริษัทLG
                    Displayของเกาหลีแถลงผลการพัฒนา
                                           ์
                    กระดาษอิเล็กทรอนิกสขนาดแผ่น
                          ื
                    หนังสอพิมพ์
                    •ความกว ้าง 19 (250x400 มม.)ทําให ้ขนาด
                                                   ื
                    เกือบเท่ากระดาษ A3 ของหนังสอพิมพ์
                    •ความหนา 0.3 มิลลิเมตรและหนัก 130
                    กรัม
                                             ์ ี
                    •กระดาษอิเล็กทรอนิกสนสามาราถให ้
                             ึ                   ื
                    ความรู ้สกคล ้ายการอ่านหนังสอพิมพ์จาก
                    กระดาษธรรมดา
                    •เทคโนโลยีเป็ น TFT (Thin Film
                    Transistor) สร ้างบนแผ่นโลหะบางบิดได ้
                    (metal foil)แทนทีจะอยูบนแผ่นกระจก
                                              ่
                    ตามปกติ

http://www.digitimes.com/news/a20100115PR201.html
http://www.nytimes.com/2009/10/27/business/media/27audit.html

http://barrdear.com/john/2009/10/28/the-death-throes-of-us-newspapers/
Internet
 client/server




                 world wide web
                   (web 1.0)
Web 2.0   เว็บ 1.0
          •เจ ้าของเว็บสร ้างเว็บขึนมา
          •การเพิมสาระใหม่ลงไปบนเว็บไซต์
          ของตนต ้องกระทําโดยตนเองเพือ
               ื
          เชอมโยงกับเว็บผู ้อืน
                            ื
          •ผู ้อืนสามารถเชอมโยงเข ้ามาได ้
             ่
          เชนกัน

          เว็บ2.0
                            ึ
          •Wikipedia ซงเป็ นสารานุกรม
          ออนไลน์เกิดจากสมมติฐานทีไม่น่า
             ื
          เชอว่าการเติมสาระลงไปใน
          สารานุกรมนันสามารถกระทําได ้
                    ้
          โดยผู ้ใชเว็บคนใดก็ได ้
                 ั                    ้
          •เว็บสงคม(social web)ผู ้ใชเติม
                          ้   ่
          สาระด ้วยผู ้ใชเองเชน Hi5,
          MySpace, Facebook, Friendster
          Twitter, etc.
้
สถิตการใชอินเทอร์เน็ ตโลก
    ิ




                        •ประชากรโลก:
                        ~6,700 ล ้านคน
                               ้
                        •ผู ้ใชอินเทอร์เน็ ต:
                        ~1,700 ล ้านคน
                               (ณ กันยายน พ.ศ.2552)
                     http://www.internetworldstats.com/stats.htm
การหลอมรวมกันของเทคโนโลยี C+C
The Digital Economy
ความสําคัญของการทําเว็บไซต์ วท.
                         ์
     (รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส)
UN E-Government Survey 2010
(192 UN Member States)




                    2008      2010
Republic of Korea     6         1
Singapore            23        11
Malaysia             34        32
Japan                11        17
Thailand             64        76
์
การเปรียบเทียบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสระหว่างประเทศ
    (UN Global E-Government Survey 2010)


 สหประชาชาติ(UN)ได้ทาการสารวจความพร้อมทางร ัฐบาลอิเล็กทรอนิกส ์
                        ํ    ํ
                                           ิ
 มากกว่า 50,000 เว็ บไซต์ของ 192 ประเทศสมาชกแล้วจ ัดอ ันด ับความพร้อมของ
 ประเทศเหล่านีประจําปี 2553(The E-Government Readiness Survey 2010)

                          ั
 การว ัดความพร้อมอาศยด ัชนี 3 ล ักษณะด ังนี
 1.ด ัชนีการให้บริการออนไลน์ (Online service index)แบ่งเว็บไซต์เป็ น5
                                                            ั
 ระดับ กล่าวคือ เริมต ้น(emerging), ปรับปรุง(enhanced), ปฏิสมพันธ์
                                               ื
 (interactive), ธุรกรรม(transactional) , การเชอมโยง(connected)

 2.ด ัชนีโครงสร้างพืนฐานโทรคมนาคม(Telecommunications
                                                   ้
 infrastructure index): PC’s/ประชากร 100 คน, ผู ้ใชอินเทอร์เน็ ต/ประชากร
              ั                           ั
 100 คน, โทรศพท์ปกติ/ประชากร 100 คน, โทรศพท์เคลือนที/ประชากร100คน;
 Broadband/ประชากร 100 คน.

                                                                 ึ
 3.ด ัชนีตนทุนกําล ังคน(Human capital index) : ได ้มาจากดัชนีการศกษา
          ้
                            ึ       ่                      ื
 ของ UNESCO และ UNDP ซงวัดอัตราสวนประชากรผู ้ใหญ่ทรู ้หนังสอและ
                                                     ี
        ่                     ั                 ึ
 อัตราสวนประชากรทีเข ้าเรียนชนประถมมัธยมและอุดมศกษา
ดัชนีบริการออนไลน์




  ระด ับที 1 เริมต้น(Emerging):บริการข ้อมูลนโยบายสาธารณะ, การกํากับดูแล,กฏหมาย,
                                        ื
  ระเบียบ,เอกสารและบริการของรัฐ, การเชอมโยงไปยังกระทรวง กรม และหน่วยงานอืนของรัฐ
  ประชาชนเข ้าถึงสารสนเทศได ้ง่ายไม่วาจะเป็ นอะไรทีใหม่ในระดับรัฐบาลกลาง กระทรวงและ
                                     ่
  สามารถเข ้าไปถึงสารสนเทศทีเก็บย ้อนหลัง
  ระด ับที2 ปร ับปรุง(Enhanced): การติดต่อระหว่างรัฐและประชาชนทังทางเดียวและสอง
                          ่
  ทางทีปรับปรุงสมําเสมอเชนเอกสารบริการและแบบฟอร์มขอรับบริการdownloadได ้เป็ นต ้น
            ี ี                                                  ์        ่
  เว็บไซต์มเสยงและภาพวิดโอหลายภาษา บริการทางอิเล็กทรอนิกสหรือข ้อมูลสวนตนที
                            ี
                              ่
  ประชาชนสามารถร ้องขอให ้สงเป็ นกระดาษไปยังบ ้านของประชาชนได ้
ั
ระด ับที 3 ธุรกรรม(transcational): ปฏิสมพันธ์สองทางระหว่างรัฐกับประชาชนซงรวม    ึ
การร ้องขอจากรัฐและให ้ข ้อมูลแก่รัฐด ้านนโยบาย โครงการ ระเบียบ ฯลฯ มีระบบการ
                                                                     ่        ่
ตรวจสอบบุคคลทีเข ้าทําธุรกรรมกับรัฐได ้ สามารถให ้บริการธุรกรรมทีมิใชการเงินเชน การ
โวตทางอิเล็กทรอนิกส ์ รับแบบฟอร์มและสงแบบฟอร์ม กรอกแบบภาษี ออนไลน์ ขอ
                                           ่
                                                                       ์
ใบอนุญาตทางออนไลน์ เป็ นต ้นนอกจากนีสามารถทําธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสการเงินบน
เครือข่ายทีมันคงปลอดภัย
                   ื                        ้
ระด ับที 4 บริการเชอมโยง(connected):.ใชเว็บ2.0และอุปกรณ์อนเพือให ้ประชาชน
                                                               ื
                                        ื
ร ้องขอและแสดงความเห็นอย่างก ้าวหน ้า เชอมโยงข ้อมูลสารสนเทศและความรู ้ระหว่าง
กระทรวงและกรมอย่างบูรณาการปราศจากรอยต่อ เคลือนย ้ายจากรัฐเป็ นศูนย์กลางไปเป็ น
                             ิ            ้             ่               ิ
ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง สร ้างสงแวดล ้อมทีใชประชาชนให ้มีสวนร่วมในการตัดสนใจของ
รัฐ



 Online service index                      Supplementary e-participation index
ตังอย่างที1 Belgium eGovernment : Portal Belgium
ตัวอย่างที 2 Bahrain eGovernment
 ใช ้ Web 2.0(เพือ citizen centric)
ดัชนีโครงสร ้างพืนฐานโทรคมนาคม
               •PC ต่อประชากร 100 คน
                      ้
               •ผู ้ใชอินเทอร์เน็ ตต่อประชากร 100 คน
                                          ั
               •จํานวนเลขหมายโทรศพท์ตอประชากร 100 คน
                                            ่
                            ้      ั
               •จํานวนผู ้ใชโทรศพท์มอถือต่อประชากร 100 คน
                                        ื
                              ้
               •จํานวนผู ้ใชbroad bandต่อประชากร 100 คน


 •ดัชนีแต่ละตัวได ้นับการnormalizedโดย
                                           •ดัชนีโครงสร ้างพืนฐานโทรคมนาคม
 การนํ าดัชนีตวนันของประเทศนันลบด ้วย
                ั
                                           ของประเทศ “x”จะได ้จากการคํานวณ
 ดัชนีของประเทศตําสุดแล ้วหารด ้วย
                                           เลขคณิตอย่างง่ายว่าเป็ นค่าเฉลียของ
 ผลต่างระหว่างประเทศสูงสุดกับประเทศ
                                           ดัชนีทัง 5 ตัวกล่าวคือ
 ตําสุด
 •ตัวอย่างเชนหากประเทศ “x” มีผู ้ใช ้
              ่
 อินเทอร์เน็ ต 36.69ต่อประชากร 100 คน
 และค่านีของประเทศตําสุดคือ 0 และ
 ประเทศสูงสุดคือ 88.87 แล ้วเราจะดัชนีนี
 ของประเทศ “x” ว่า
ดัชนีต ้นทุนกําลังคน
                                                  ื
  •ประกอบด ้วยดัชนี 2 ตัวกล่าวคืออัตราการรู ้หนังสอของผู ้ใหญ่รวมกับอัตราการ
                       ื ั
  ลงทะเบียนเรียนหนังสอชนประถม(primary) มัธยม(secondary)และอุดมศกษา        ึ
  (tertiary)
  •UNESCOเป็ นแหล่งสําคัญของข ้อมูลทังสองประเภท
     ่
  •สวนทีขาดไปได ้จากข ้อมูลจาก 2009UNDP Human Development Report


•ดัชนีทังสองได ้รับการnormalizedโดยการ
นํ าค่าของประเทศนันลบด ้วยค่าดัชนีของ      •ดัชนีต ้นทุนกําลังคนของประเทศ“x”
ประเทศตําสุดแล ้วหารด ้วยผลต่างระหว่าง     จะได ้จากค่าเฉลียถ่วงนํ าหนักของ
ค่าาประเทศสูงสุดกับประเทศตําสุด            ดัชนีนย่อยทังสองดังนี
           ่
•ตัวอย่างเชนหากประเทศ “x” มีอตราการรู ้
                               ั
       ื
หนังสอของผู ้ใหญ่ 66.8ต่อประชากร 100คน
ค่าของปรเทศตําสุด 28.7%และประเทศศู
งสุด 99.5% แล ้วเราจะได ้ว่า                       ดัชนีต ้นทุนกําลังคนของประเทศ”x
ตัวอย่างดัชนีบริการออนน์ไลน์
่
ดัชนีการมีสวนร่วม
ตัวอย่างดัชนีโครงสร ้างพืนฐานโทรคมนาคม
ตัวอย่างดัชนีต ้นทุนกําลังคน
ื
มารตรฐานสอดิจทัล
             ิ
มารตฐานและการกําหนดมาตรฐาน

   • การกําหนดมาตรฐาน(standardization) คือกระบวนการพัฒนาและตกลง
     มาตรฐาน
   • มาตรฐานจะปรากฎเป็ นเอกสารทีบ่งรูปแบบเดียวกันของคุณสมบัต ิ เงือนไข
     วิธการ กระบวนการหรือการปฏิบต ิ
        ี                          ั
                                                       ่
   • มาตรฐานอาจเกิดอย่างไม่เป็ นทางการแต่เกิดจากคนสวนใหญ่รวมกันใช(de
                                                              ่          ้
     facto )อย่างกว ้างขวางจนเป็ นทีนิยม
   • บางมาตรฐานเกิดอย่างเป็ นทางการ(de jure)ตามความต ้องการของ
                         ่
     กฏหมาย ตัวอย่างเชนมาตรฐานทีกําหนดโดย International
     Organization for Standardization (ISO) หรือ American National
     Standards Institute (ANSI)เป็ นต ้น มาตรฐานนีจะกําหนดอย่างเป็ นเป็ น
                       ิ
     อิสระจากผู ้ผลิตสนค ้า
                                               ่     ิ
   • วัตถุประสงค์ของการกําหนดมาตรฐานก็เพือชวยให ้สนค ้า
       –    อิสระจากผู ้ผลิตรายใดรายหนึง
       –    ความเข ้ากันได ้(compatibility)
       –    ทํางานร่วมกันได ้(interoperability)
       –    ความปลอดภัย(safety),
       –    ผลิตซําได ้(repeatability),
       –    มีคณภาพ(quality)
               ุ


wikipedia
ื
                     ปั ญหาสอดิจทัล
                                ิ

ฟอนต์ Error
                                                         ี
                                                       เสยเวลาปรับแต่ง
                          โห!! สร ้างสารบัญ
                               ี
                            เสยเวลาจัง




                                                               เปิ ดแล ้ว
                                      เปิ ดไม่ได ้นะ          ฟอร์แมตเสย  ี
    จําไม่ได ้แล ้วใช ้
   ขนาดอักษรเท่าไร                   คนละ version
ื
                        การจัดการสอดิจทัล
                                      ิ
   • มีการถ่ายทอดและจัดเก็บอย่างเป็ นระบบ
   • การเข ้าถึงได ้อย่างทัวถึง
   •                            ้
     มีมาตรฐานเพือการนํ ามาใชใหม่ได ้หลายๆ ครัง
   • มีการไหลเวียนผ่านกระบวนทีสร ้างคุณค่า อันจะ
       ่             ิ
     สงผลถึงประสทธิภาพโดยรวมทีสูงขึนของ
     องค์กร/หน่วยงาน
              ้                          ่
   • มีการใชเทคโนโลยีเป็ นเครืองมือ เพือชวยแปลง
     ความซําซอนในการทํางานเป็ นความร่วมมือ
                ้

ทวีศักดิ กออนันตกูล. วัฒนธรรมการจัดการความรู ้ สวทช.
ื
           มาตรฐานสอดิจทัล
                       ิ
•                    ื
    มาตรฐานการตังชอโฟลเดอร์และแฟ้ มเอกสาร
•   มาตรฐานการสร ้างเอกสารงานพิมพ์
•   มาตรฐานเอกสารเว็บ
•                        ื
    มาตรฐานการสร ้างสอนํ าเสนอ
•              ี
    มาตรฐานเสยงดิจทัล
                   ิ
•   มาตรฐานภาพนิงและภาพเคลือนไหวดิจทัล
                                     ิ
•            ื
    มาตรฐานสอมัลติมเดียี
•   ฯลฯ
สรุป

    ่
• ชวยกันพัฒนาเว็บไซต์รัฐบาลเพือประโยชน์สาธารณะ
                                   ์
  และยกระดับรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสของประเทศ
                                            ื
• ร่วมกันทําความเข ้าใจและกําหนดมาตรฐานสอดิจทล ิ ั
                 ่             ้          ื
• ร่วมกันรณรงค์ สงเสริมการใชงานมาตรฐานสอดิจทล ิ ั
• ร่วมกันพัฒนา ปรับปรุงข ้อกําหนด มาตรฐาน
                             ื
  กระบวนการทีเกียวข ้องกับสอดิจทลิ ั
ขอบคุณ
ภาคผนวก:
        ื
มาตรฐานสอดิจทล
            ิ ั
สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตสาหกรรม (สมอ.)
                          ุ
กระทรวงอุตสาหกรรม
ั
ระบบรหัสอักษรและสญลักษณ์(character encoding system)

                                                     ั
  • หมายถึงรหัสทีทําให ้เกิดการจับคูระหว่างอักษรหรือสญญลักษณ์หนึงๆเข ้ากับ
                                    ่
     ั                            ่           ั
    สญญาณไฟฟ้ าเพือให ้เกิดการสงอักษรหรือสญญลักษณ์นันทางโทรคมนาคม
                                      ั
    หรือเพือการเก็บรักษาอักษรหรือสญญลักษณ์นันไว ้ในคอมพิวเตอร์




 Samuel F. B. Morse (1791-1872)                               •American Standard Code for Information
                                  Jean-Maurice-Émile Baudot    Interchange
                                   (1845 – 1903),             •1st edition 1963, 1st revision 1967,latest
                                                              revision 1986
ยูนโคด(UNICODE)
   ิ

•รหัสแอสกีมีขนาด 7 บิตจึงสามารถแทนอักษรและ
 ั
สญญลักษณ์ได ้เพียง 128 ลักษณะหรือแม ้นจะขยายขึน
                   ้           ั
ไปเป็ น 8 บิตเพือใชกับอักษรและสญญลักษณภาษาอืนก็
แทนได ้เพียง256 ลักษณะเท่านัน
•จึงมีความจําเป็ นในการพัฒนายูนโคดเพือให ้
                               ิ
คอมพิวเตอร์สามารถมีรหัสครอบคลุมอักษรและ
 ั
สญญลักษณ์ของภาษาทัวโลกโดยครังแรก (ค.ศ.1988)
เสนอใช ้ 16 บิต(2 ไบต์)ทําให ้สามารถแทนได ้ถึง 65,536
ลักษณะ
•ปั จจุบนยูนโคดขยายออกไปถึง 32 บิต(4 ไบต์)
        ั   ิ
                               ั
ครอบคลุมมากกว่า107,000อักษรและสญญลักษณ์ของง
ภาษาทัวโลก


  wikipedia
ฟอนต์(Font)(1/2)
                                                       ั            ้
•ดังเดิมฟอนต์จะบงถึงขนาดและรูปแบบของอักษรหรือสญญลักษ์ โลหะทีใชในการเรียงพิมพ์
เท่านั น
         ุ                                         ิ       ้
•ตังแต่ยคค.ศ.1900เป็ นต ้นมาฟอนต์ได ้กลายมาเป็ นดิจตัลใชในระบบคอมพิวเตอร์
                                                     ึ                 ์ ี
•ดังนั นฟอนต์ในยุคนีมักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ฟอนต์ซงก็คอไฟล์อเล็กทรอนิกสทเก็บชุดของ
                                                         ื   ิ
           ั
อักษรและสญลักษณ์ (characters, glyphs, or symbols such as dingbats)

                                                             ตัวอย่างฟอนต์




  Metal typeset
ฟอนต์(Font)(2/2)
•ฟอนต์จะบ่งประเภท(family)ลักษณะ(faces)และขนาด(point)
•การแสดงฟอนต์บนจอคอมพิวเตอร์ทแพร่หลายจะแสดงเป็ นลักษณะทีเรียกันว่าบิตแม็ป
                                        ี
(bitmap)หรือบางทีก็เรียกกันว่าราสเตอร์(raster)
                                                   ี
•การแสดงจะมีลักษณะเป็ นจุดหลายจุดภายในกรอบสเหลียม แต่ละจุดแทนด ้วย 1 ไบต์
                                      ี
(8บิต)หรือ 3 ไบต์(24บิต)เพือให ้ได ้สทังสามทีละเอียด
•ความละเอียดในการแสดงจะขึนอยูกบจํานวนจุดต่อนิว(dpi: dot per inch)
                                  ่ ั


    ตัวอย่างฟอนต์ของไมโครซอฟท์                           การแสดงภาพแบบบิตแม็ป
ี
ไฟล์เสยง(audio file)
 •       ี                     ่                              ี
     เสยงดิจทัลเกิดจากการสุม(sample)อย่างสมําเสมอของเสยงอะนาล็อก
              ิ
 •                        ่
     ข ้อมูลทีได ้จากการสุมจะมีคาเป็ นดิจทัลเก็บไว ้ในไฟล์ของคอมพิวเตอร์
                                  ่      ิ
 •                      ี                                           ี
     เมือต ้องการฟั งเสยงเราสามารถแปลงข ้อมูลทีเก็บไว ้กลับไปเป็ นเสยงอะนาล็อกเดิมได ้
 •   ข ้อมูลดิจทัลทีเก็บไว ้อาจมีลักษณะเท่าเดิมuncompressed)หรือลดขนาด(compressed)เพือ
                ิ
     ประหยัดพืนทีในคอมพิงเตอร์ได ้
 •                                                                          ี
     ดังนันไฟล์จงมี3 ลักษณะ:เท่าเดิม(uncompressed) ลดขนาดแบบไม่สญเสย(lossless
                   ึ                                                     ู
                                            ี
     compression)และลดขนาดแบบสูญเสย(lossy compression)




                                              ตังอย่างการแปลงจากอนาล็อกเป็ นดิจทัล  ิ
                                              (แบบ PCM)
                                                      ั         ั
                                              •เราจะสงเกตว่าสญญานลักษณะไซน์ได ้รับ
                                                   ่
                                              การสุมอย่าสมําเสมอและเปลียนเป็ นค่าด
                                                              ่
                                              ดิจทัลตรงจุดทีสุมดังนี 7, 9, 11, 12, 13,
                                                 ิ
                                              14, 14, 15, 15, 15, 14, ฯลฯ
                                              •เมือแปลงค่านีเป็ นไบนารีก็จะได ้ค่า 0111,
                                              1001, 1011, 1100, 1101, 1110, 1110,
                                              1111, 1111, 1111, 1110, ฯลฯ

                                                                                  wikipedia
ี
ประเภทของไฟล์เสยง




http://www.fileinfo.com/filetypes/audio
ตัวอย่างรายละเอียด
ของไฟล์เสยงี
กล ้องดิจทัล
         ิ
               CCD: Charge Couple Device




    Olympus EVOLT E-330
    •7.5-megapixel NMOS solid state image sensor
    •2.5-inch color LCD monitor with vertical tilt design and Live View
    capability
    •JPEG, uncompressed TIFF, and RAW file formats
    •Images saved on CompactFlash cards and Microdrives, as well as xD-
    Picture cards
    •USB cable for fast connection to a computer (USB auto-connect for
    driverless connection to Windows Me, 2000, XP, and Vista, and Mac OS 8.6
    or greater)
ประเภทของไฟล์ภาพนิง




http://www.fileinfo.com/filetypes/image
ตัวอย่างไฟล์ภาพนิงชนิด JPEG
                                                 ึ
 •JPEG ย่อมาจาก Joint Photographic Experts Groupซงเป็ นคณะกรรมการพิจารณามาตรฐานไฟล์
 ภาพประเภทนี
              ื
 •ปั จจุบันมีชอเป็ นทางการว่าITU – T JTC1/SC2/WG10.
              ่                             ั        ี                             ี
 •ไฟล์JPEG รุนแรกเริมประกาศเมือค.ศ.1986มีวตถุประสงค์ทจะย่อบีบอัดภาพถ่ายธรรมชาติทังส(24 บิต
                ี
 หรือ16.7ล ้านส)หรือขาวดํา(8 บิตหรือ256ระดับ)
                                    ี
 • การลดขนาด(บีบอัด)เป็ นลักษณะสูญเสยสารสนเทศ กล่าวคือภาพทีลดขนาดจะเลวกว่าภาพเริมต ้น
 •อย่างไรก็ดJPEGได ้อาศัยคุณลักษณะสายตาของมนุษย์ททนต่อการสูยเสยสารสนเทศนันได ้
            ี                                    ี            ี




                                                            •ภาพทังสองนีเป็ ภาพเดียวกันหรือ?
                                                            •ภาพขวาเป็ นภาพเริมต ้นนํ าออกมา
                                                            จากกล ้องโดยตรง
                                                            •ภาพด ้านซายเป็ นภาพหลังจากใช ้
                                                                       ้
                                                            Photoshopบีบอัดลดสารสนเทศ
                                                            เหลือ60%




 http://www.photoshopessentials.com/essentials/jpeg-compression/
ตัวอย่างไฟล์ภาพนิงชนิด GIF
 •   GIFย่อมาจากThe Graphics Interchange Format (GIF)
 •   มีลกษณะของบิตแม็ปเสนอโดยบริษัทCompuServe เมือค.ศ. 1987 และเป็ นทีนิยมใช ้
         ั
     เนืองจากการสนั บสนุนและการป้ อนลงเครือง(portability)ทีดี
 •   ลักษณะ 8 บิตต่อพิกเซลทําให ้เรียกใชสได ้ 256 สจากจํานวนส ี RGB ทังหมด16.7ล ้านส ี
                                           ้ ี        ี
     (24-บิต)
 •                     ้              ั                    ี               ี
     นอกจากนียังใชในงานแอนนิเมชนโดยแต่ละเฟรมเลือกสเป็ นอิสระจาก256สเป็ นจากกัน
 •   ด ้วยข ้อจํากัดจํานวนสจงทําให ้GIFTเหมาะสําหรับทีง่ายกล่าวคือภาพเสน ภาพกราฟฟิ ก
                           ี ึ                                         ้
     และโลโก ้เป็ นต ้นแต่ไม่เหมาะสําหรับภาพถ่ายสจากกล ้องและภาพวาดทีมีลักษณะสท ี
                                                 ี                              ี
     ต่อเนือง
 •            ้ ี ี                      ี
     GIFใชวิธบบอัดทีปราศจากการสูญเสยสารสนเทศ




                                                                       painting
line drawing      textual image             photograph image
ิ
ความสนเปลืองหน่วยความจําของภาพนิง
 •สมมติเรามีภาพขนาด6x4นิวที150 dpi เราจะคํานวณดังนี
            (6 inches x 150 dpi) x (4 inches x 150 dpi)=900x600 pixels= 540,000 pixels
 •เนือทีหน่วยความจํ าสําหรับภาพส(RGB)จึงเป็ น
                                 ี
            •540,000 x 3 = 1.6 ล ้านไบต์
 •สําหรับ “x3” จะหมายถึง 3 ไบต์ของส ี RGB ต่อพิกเซลหรือนันคือระดับสได ้ถึง 24 บิต(16.7ล ้านส)ต่อ
                                                                   ี                        ี
 พิกเซล
 •กรณี 8 บิตต่อพิกเซล(ขาวดําหรือ256ส)หรือภาพลายเสนจะใช ้ 1 บิตติพิกเซล(1/8 ไบต์)ก็จะสนเปลือง
                                       ี             ้                                    ิ
 น ้อยลง
ภาพเคลือนไหวดิจทล
                  ิ ั
    ตัวอย่างการคํานวณปริมาณข ้อมูลวิดโอ
                                     ี
    • คุณสมบัต ิ
                       ้ ี
       – แต่ละพิกเซลใชสขนาด 24 บิต
       – ขนาดเฟรม 640x480 พิกเซล
       – จํานวนเฟรม 25 เฟรมต่อวินาที
                           ั                     ่
    • ต ้องการทราบว่าใน 1 ชวโมง(3600วินาที)ต ้องสงข ้อมูล
      เท่าไร?
       –    จํานวนพิกเซลต่อเฟรม= 640 * 480 = 307,200
       –    จํานวนบิตต่อเฟรม= 307,200 * 24 = 7,372,800 = 7.37 เมกะบิต
       –    จํานวนบิตต่อวินาที (BR) = 7.37 * 25 = 184.25 เมกะบิตต่อวินาที
       –                           ั
            ดังนันจํานวนข ้อมูลใน1ชงโมง = 184 * 3600 วินาที= 662,400 เม
            กะบิต= 82,800 เมกะไบต์= 82.8 กิกะไบต์




wikipedia
ประเภทของไฟล์วดโอ
              ิ ิ




http://www.fileinfo.com/filetypes/video
วิวัฒนาการของการบีบอัดข ้อมูลภาพ
             เคลือนไหวด ้วยมาตรฐาน MPEG
                  (MPEG: Moving Picture Experts Group )




http://www.althos.com/tutorial/MPEG-Tutorial-moving-picture-experts-Group-Book-page-19.html
MPEG 1,2,4

                                                         ี
  •MPEG-1 เป็ นมาตรฐานในการบีบอัดข ้อมูลวิดโอและเสยงชนิดสูญเสย
                                               ี                       ี
  สารสนเทศ
             ้
  •เริมใชเมือคศ1993
                                                            ี
  •วัตถุประสงค์เพือบีบอัดข ้อมูลดิบของVHSดิจทลวิดโอและเสยงในซดให ้
                                              ิ ั  ี                ี ี
  เหลือเพียง1.5 เมกะบิตต่อวินาที(ด ้วยอัตรา 26:1 และ 6:1 ตามลําดับ)
               ี
  โดยไม่เสยคุณภาพจนเกินไป
                      ี ี
  •ด ้วยเหตุนบรรดาวีซด(VCD: Video Compact Disc)
                 ี
  •MPEG-1 ได ้กลายเป็ นระบบบีบอัดข ้อมูลทีเข ้ากันได ้(compatible lossy
  audio/video format)ระหว่างผลิตภัณฑ์ตางยีห ้อมากทีสุดในโลก
                                            ่
                                          ้
  •ทีรู ้จักแพร่หลายคงจะเป็ น MPEG-1ทีใชเป็ นมาตรฐานของรูปแบบเสยง    ี
  MP3




  http://www.wave-report.com/tutorials/VC.htm
MPEG 1,2,4
   MPEG-2
                    ้
   •ออกแบบเพือใชงานระหว่าง1.5 แล15 เมกะบิต/วินาที
   •เน ้นไปทีดิจทัลทีวและดีวด(DVD: digital versatile disc)
                  ิ   ี     ี ี
   • วางอยูบนพืนฐานของMPEG-1 แต่ออกแบบสําหรับการบีบอัดและสงข ้อมูล
           ่                                                  ่
                                ่                ่
   โทรทัศน์ดจทัลบนพืนดิน การสงผ่านเคเบิล การสงโทรทัศน์โดยตรงทางดาวเทียม
              ิ ิ
                                                       ้   ่
   •MPEG-2 ยังสามารถปรับอัตราบิตต่อวินาทีให ้ขึนไปใชในการสงภาพละเอียดของ
   HDTV ได ้โดยหลีกเลียงการทีต ้องไปใช ้ MPEG-3



    MPEG-4
    •มาตรฐานสําหรับการใชบนเว็บ
                             ้
    •วางอยูบนพืนฐานการบีบอัดแบบวัตถุ(object-based compression)
             ่
    •แต่ละวัตถุในภาพจะได ้รับการติดตามจากเฟรมหนึงไปยังอีกเฟรมหนึง
       ิ                                     ิ
    •สงทีได ้คือความสามารถในการปรับประสทธิภาพการบีบอัดจากจํานวนบิตต่อ
           ี       ่
    วินาทีทตําไปสูจํานวนบิตต่อวินาทีทสูงขึนได ้
                                      ี
                                                                  ึ    ั
    •นอกจากนียังสามารถควบคุมแต่ละวัตถุในภาพได ้ด ้วยทําให ้ได ้มาซงปฏิสมพันธ์
                                               ้
    (interactivity)ระหว่างวัตถุในภาพกับผู ้ใชได ้



 http://www.wave-report.com/tutorials/VC.htm
จบบริบรณ์
      ู

More Related Content

Similar to Thai MOST Web Developement

Libcampubon2 collection development for local information
Libcampubon2 collection development for local informationLibcampubon2 collection development for local information
Libcampubon2 collection development for local informationKindaiproject
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกHeritagecivil Kasetsart
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardBoonlert Aroonpiboon
 
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศnok_waraporn
 
นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21
นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21
นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21Phusit Konsurin
 
Innovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesInnovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesMaykin Likitboonyalit
 
หนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติ
หนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติหนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติ
หนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติHumanities Information Center
 

Similar to Thai MOST Web Developement (12)

V 288
V 288V 288
V 288
 
Libcampubon2 collection development for local information
Libcampubon2 collection development for local informationLibcampubon2 collection development for local information
Libcampubon2 collection development for local information
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
Digital Library for Thailand
Digital Library for ThailandDigital Library for Thailand
Digital Library for Thailand
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
เอกสารโบราณอีสาน
เอกสารโบราณอีสานเอกสารโบราณอีสาน
เอกสารโบราณอีสาน
 
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ
 
นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21
นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21
นักศึกษากับการแสวงหาความรู้ในศตวรรษที่21
 
V 291
V 291V 291
V 291
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
 
Innovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School librariesInnovation and Technology for School libraries
Innovation and Technology for School libraries
 
หนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติ
หนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติหนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติ
หนังสือหายาก คลังปัญญาของชาติ
 

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Thai MOST Web Developement

  • 1. ความสําคัญของการ พัฒนาเว็บไซต์สําหรับการบริการข ้อมูลของวท. ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ เนคเทค/สวทช 9:30-10:00 น. 27 กรกฎาคม 2554
  • 3. นิยาม ั •สงคมความรู ้หมายถึงสงคมั ึ ้ ซงใชความรู ้เป็ นทรัพยากร หลักในการผลิตแทนการใช ้ ทรัพยากรเงินและแรงงาน อย่างในอดีต ั •สงคมความรู ้ “สร ้าง แบ่งปั น ้ และใชความรู ้เพือความ เจริญรุงเรืองและความ ่ เป็ นอยูทดีของประชาชน” ่ ี http://www.modernization.com.cn/index2.htm wikipedia
  • 4. ความรู ้เป็ นต ้นทุนทีสําคัญ ั ่ ่ ั •สงคมความรู ้มีมานานแล ้ว มิใชเพิงเกิดใหม่ ตัวอย่างเชนสงคมชาวประมงแบ่งปั นความรู ้ เรืองการพยากรณ์อากาศในหมูของตน และความรู ้นึได ้กลายเป็ นต ้นทุนของสงคม ่ ั ชาวประมงเป็ นต ้น ิ •สงทีเกิดขึนใหม่คอ ื ั ั ด ้วยเทคโนโลยีปัจจุบนสงคมความรู ้มิได ้ถูกจํากัดด ้วยสภาพภูมศาสตร์ ิ ้ เทคโนโลยีปัจจุบนบันดาลให ้เกิดการแบ่งปั น การเก็บและการเรียกใช(archiving ั and retrieving) ความรู ้ทีกว ้างไกล ความรู ้ได ้กลายเป็ นต ้นทุนทีสําคัญในยุคปั จจุบน ั ความสําเร็จของแต่ละสงคมจึงขึนอยูกบการรู ้จักใชประโยชน์จากความรู ้ ั ่ ั ้ ทุนทางความรู ้(knowledge capital) ึ •หมายถึงการทีองค์กรใดองค์กรหนึงซงมีความรู ้ทีมีคณค่าภายในของตนเองและสามารถสามารถแบ่งปั น ุ เพือยกระดับความสามารถในการแข่งขันขององค์กร •ทุนทางความรู ้บ่งวาการแบ่งปั นทักษะและสารสนเทศเป็ นการแบ่งปั นพลัง •ทุนทางความรู ้เกิดจากการสะสมประสบการณ์ สารสนเทศ ความรู ้ การเรียนรู ้และทักษะของบุคคลหรือ พนักงานของกลุมหรือขององค์กร ่ •ในบรรดาต ้นทุนทางการผลิตทังหลาย(เงิน คน ความรู ้) ทุนทางความรู ้สร ้างการแข่งขันทียังยืนทีสุด ่ ์ •มันอาจเก็บบันทึกเป็ นสารสนเทศทางเทคนิก (เชนในอุตสาหกรรมเคมีและอิเล็กทรอนิกสเป็ นต ้น) หรือ ่ มันอาจอยูในตัวบุคคลในรูปแบบของประสบการณ์หรือทักษะทีบุคคลนันได ้สร ้างสมไว ้ (เชนในอตสาหกร ่ รมก่อสร ้างหรือโรงงานเหล็ก). •ทุนความรู ้เป็ นองค์ประกอบทีสําคัญของทุนมนุษย์
  • 5. โครงสร ้างพืนฐานของความรู ้ ั •สงคมความรู ้ต ้องการโครงสร ้างพืนฐาน 1.กายภาพ: สถานทีประชุม, แผงติดประกาศ, ….. 2.เทคโนโลยี: language, content sharing, mailing lists, web portals, wikis, chat rooms, videoconferencing, virtual meetings, collaborative development environments, distance education ... •การผลักดันซอฟต์แวร์ฟรี(Free software movement ) เป็ น ตัวอย่างของความสําเร็จของสงคมความรู ้ ั
  • 6. นิยามและวิวฒนาการของ ั ั ื ื สงคมสารสนเทศ:สอและสอผสม
  • 7. นิยาม ื สอ(media) ื ่ ่ •ดังเดิมสอจะหมายถึงทีตัวกลางในการเก็บและชองทางรับสงสารสนเทศและข ้อมูล ้ ่ อีกนัยหนึงคือเครืองมือทีใชในการเก็บและรับสงสารสนเทศหรือข ้อมูล •บ่อยครังทีคํานีจะใชในความหมายเดียวกับกันสอสําหรับมวลชน(mass media) เชน ้ ื ่ ื โทรทัศน์ วิทยุ หนังสอพิมพ์, อินเทอร์เน็ ตเป็ นต ้น ื สอผสม(Multimedia) ื •สอผสมจะหมายถึงสอ(media)และสาระ ื (content) ทีประกอบกันทําให ้ได ้รูปแบบ ต่างๆของสาระ ื •สอผสมจะหมายรวมถึงการผสมกัน ี ระหว่างอักษรเสยง ภาพนิง แอนนิเมชน ั ั วิดทศน์ ตลอดจนการมีปฎิสมพันธ์ระหว่าง ิ ั สอกับผู ้ใช ้ ื Adapted from wikipedia
  • 8. ยุคเริมต ้นของการเขียน •อักขระปรากฏบนแผ่นอิฐเป็ นสูตรในการหมัก เบียร์ ชนสวนกระดาษปาปิ ร ัสในคริส ิ ่ •หลักฐานทีแสดงว่าชนชาติสมาเรียนทีอาศย ุ ั ศตวรรษที4 ซงมีขอความ ึ ้ ่ ในประเทศเมโซโปเตเมีย(ปั จจุบันเป็ นสวน อ ักขระยิวเปนบทสวดที89:4-7 ็ หนึงของอิรัก)เมือ 3200ปี ก่อนคริสตกาล ในค ัมภีรไบเบิลฉบ ับเก่า ์ เป็ นชนชาติแรกทีรู ้จักการเขียน Source:Who Began Writing? Many Theories, Few Answers By JOHN NOBLE WILFORD,The New York Times -- April 6, 1999 http://www.virtual-egypt.com
  • 9. ภาพวาดฝาผนัง ก่อนประวัตศาสตร์ ิ •ถํา Lascaux อยูทางตะวันตกเฉียงใต ้ของฝรังเศส ่ •ภาพบนฝาถํายุคหิน(15,000-10,000 ก่อน •ถํา Magura อยูทางตะวันตกเฉียง ่ คริสตกาล) กว่า2,000 ภาพซงสามารถแบ่งออกเป็ น3 ึ เหนือของบุลกาเรียห่างจากเมืองหลวง ั ั กลุมได ้แก่ — ภาพสตว์ ภาพมนุษย์และสญลักษณ์จตน ่ ิ การ(abstract signs) โซเฟี ย180กม. •ภาพวาดแสดงผู ้หญิงและชาย สตว์ ั ต ้นไม ้ เครืองมือ ดวงดาวและดวง อาทิตย์ ก่อนยุคบรอนซ(3,000ปี ก่อน ์ คริสตกาล) http://www.oddee.com/item_93915.aspx
  • 10. ื ยุคแห่งการพิมพ์หนั งสอ ั โยฮน กูเต็นเบิร(ค.ศ.1400 ์ -1468), ชาวเยอรมันผู ้ แท่นพิมพ์เปลียนตัวอักษรได ้ ประดิษฐ์เครืองพิมพ์ ของกูเต็นเบิรก ์ คัมภีรไบเบิลพิมพ์ด ้วยเครืองพิมพ์กเต็นเบิรก ์ ู ์ •คัมภีรไบเบิลทีพิมพ์ด ้วยเครืองพิมพ์กเต็นเบิรกระหว่าง ์ ู ์ ั ค.ศ.1454-1455เป็ นสญลักษณ์ทบ่งถึงการเริมต ้น “ยุค ี ื แห่งการพิมพ์หนั งสอ” (ต ้นฉบับยังเก็บไว ้ทีLibrary of Congress, US)
  • 11. ์ หนังสออิเล็กทรอนิกส(eBook): Kindle DX (6 May 2009) Amazon today unveiled a new, larger version of its Kindle ebook reader, which is aimed at students – and heralded as a potential saviour by some parts of the newspaper industry. (guardian.co.uk, Wednesday 6 May 2009 ) ปริมาณการขายAmazon e-book สูงกว่า ื หน ังสอธรรมดาเปนครงแรกเมือปลายปี ็ ั ค.ศ.2009 (guardian.co.uk, 28 Dec 2009) วางขายราว •วางตลาดฤดูร ้อนของสหรัฐอเมริกาในราคา ื •ผู ้ซอสามารถเข ้าถึง 60%ของตําราเรียน $489 ของสํานั กพิมพ์ Pearson, Wiley และ ้ ื •ใชแสดงตําราและข่าวหนั งสอพิมพ์ Cangage ่ ึ •จอขนาด 9.7 นิวใหญ่กว่ารุนเดิม(ซง •ตอนเปิ ดตัวบริษัทอเมซอนจะลดราคาผู ้ แสดงนวนิยาย paperback) ราว 2 เท่า ิ ประสงค์สมัครเป็ นสมาชกระยะยาวของNew ื •สามารถบรรจุหนั งสอ 3,500 เล่ม York Times, Washington Post และ •แสดงไฟล์และสารคดีทเคยแสดงบนPC ี ึ Boston Globe (ซงกําลังมีปัญหาด ้านธุรกิจ ได ้ด ้วย ้ ทีใชกระดาษ)
  • 12. วิวฒนาการของ ั ั ระบบโทรศพท์ มือถือและแท็บเบล็ต นิยาม 1G(ยุคค.ศ.1980) ่ ื ี •พัฒนาเพือใชสอสารด้วยเสยงเท่านั นใชเทคโนโลยีอานาล็ อก ้ นิยาม2G/2.5G(ยุคค.ศ.1990) ่ •ระบบดิจทัลตัวอย่างเชนระบบGSM เป็ นระบบเทคโนโลยี2G ิ ้ •ใชเทคโนโลยีทเรียกว่าTDMA ี ี ่ •นอกเหนือจากเสยงแล ้วยังสามารถรับสงข ้อมูลที 9.6kbps/14.4kbps. ่ •ต่อมาได ้รับการปรับปรุงให ้รับสงได ้ถึง114kbpsด ้วยระบบที เรียกว่า GPRS •GSMทีมีGPRS เป็ นเทคโนโลยีทจะนํ าไปสู่ 3Gดังนันมันจึงมักได ้ ี ื ชอว่าเป็ น 2.5G ื ้ •เชอกันว่าไม่ชาGSM ก็จะค่อยๆหมดไปและจะถูกแทนทีด ้วยระบบ 3G นิยาม 3G(ยุคค.ศ.2000) ี ่ •นอกจากเสยงแล ้วยังมีอนเทอร์เน็ ตความเร็วสูงในการรับสง ิ ข ้อมูลภาพวีดโอและเพลงคุณภาพเดียวกับทีฟั งจากซด ี ิ ี •อัตราเร็วข ้อมูลไม่ตํากว่า 2 Mbps
  • 13. ์ ิ กระดาษอิเล็กทรอนิกสบดได ้ ื ขนาดเท่าหน ้าหนังสอพิมพ์ •เมือวันที 15 มกราคม 2553 บริษัทLG Displayของเกาหลีแถลงผลการพัฒนา ์ กระดาษอิเล็กทรอนิกสขนาดแผ่น ื หนังสอพิมพ์ •ความกว ้าง 19 (250x400 มม.)ทําให ้ขนาด ื เกือบเท่ากระดาษ A3 ของหนังสอพิมพ์ •ความหนา 0.3 มิลลิเมตรและหนัก 130 กรัม ์ ี •กระดาษอิเล็กทรอนิกสนสามาราถให ้ ึ ื ความรู ้สกคล ้ายการอ่านหนังสอพิมพ์จาก กระดาษธรรมดา •เทคโนโลยีเป็ น TFT (Thin Film Transistor) สร ้างบนแผ่นโลหะบางบิดได ้ (metal foil)แทนทีจะอยูบนแผ่นกระจก ่ ตามปกติ http://www.digitimes.com/news/a20100115PR201.html
  • 15. Internet client/server world wide web (web 1.0)
  • 16. Web 2.0 เว็บ 1.0 •เจ ้าของเว็บสร ้างเว็บขึนมา •การเพิมสาระใหม่ลงไปบนเว็บไซต์ ของตนต ้องกระทําโดยตนเองเพือ ื เชอมโยงกับเว็บผู ้อืน ื •ผู ้อืนสามารถเชอมโยงเข ้ามาได ้ ่ เชนกัน เว็บ2.0 ึ •Wikipedia ซงเป็ นสารานุกรม ออนไลน์เกิดจากสมมติฐานทีไม่น่า ื เชอว่าการเติมสาระลงไปใน สารานุกรมนันสามารถกระทําได ้ ้ โดยผู ้ใชเว็บคนใดก็ได ้ ั ้ •เว็บสงคม(social web)ผู ้ใชเติม ้ ่ สาระด ้วยผู ้ใชเองเชน Hi5, MySpace, Facebook, Friendster Twitter, etc.
  • 17. ้ สถิตการใชอินเทอร์เน็ ตโลก ิ •ประชากรโลก: ~6,700 ล ้านคน ้ •ผู ้ใชอินเทอร์เน็ ต: ~1,700 ล ้านคน (ณ กันยายน พ.ศ.2552) http://www.internetworldstats.com/stats.htm
  • 20. ความสําคัญของการทําเว็บไซต์ วท. ์ (รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส)
  • 21. UN E-Government Survey 2010 (192 UN Member States) 2008 2010 Republic of Korea 6 1 Singapore 23 11 Malaysia 34 32 Japan 11 17 Thailand 64 76
  • 22. ์ การเปรียบเทียบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสระหว่างประเทศ (UN Global E-Government Survey 2010) สหประชาชาติ(UN)ได้ทาการสารวจความพร้อมทางร ัฐบาลอิเล็กทรอนิกส ์ ํ ํ ิ มากกว่า 50,000 เว็ บไซต์ของ 192 ประเทศสมาชกแล้วจ ัดอ ันด ับความพร้อมของ ประเทศเหล่านีประจําปี 2553(The E-Government Readiness Survey 2010) ั การว ัดความพร้อมอาศยด ัชนี 3 ล ักษณะด ังนี 1.ด ัชนีการให้บริการออนไลน์ (Online service index)แบ่งเว็บไซต์เป็ น5 ั ระดับ กล่าวคือ เริมต ้น(emerging), ปรับปรุง(enhanced), ปฏิสมพันธ์ ื (interactive), ธุรกรรม(transactional) , การเชอมโยง(connected) 2.ด ัชนีโครงสร้างพืนฐานโทรคมนาคม(Telecommunications ้ infrastructure index): PC’s/ประชากร 100 คน, ผู ้ใชอินเทอร์เน็ ต/ประชากร ั ั 100 คน, โทรศพท์ปกติ/ประชากร 100 คน, โทรศพท์เคลือนที/ประชากร100คน; Broadband/ประชากร 100 คน. ึ 3.ด ัชนีตนทุนกําล ังคน(Human capital index) : ได ้มาจากดัชนีการศกษา ้ ึ ่ ื ของ UNESCO และ UNDP ซงวัดอัตราสวนประชากรผู ้ใหญ่ทรู ้หนังสอและ ี ่ ั ึ อัตราสวนประชากรทีเข ้าเรียนชนประถมมัธยมและอุดมศกษา
  • 23. ดัชนีบริการออนไลน์ ระด ับที 1 เริมต้น(Emerging):บริการข ้อมูลนโยบายสาธารณะ, การกํากับดูแล,กฏหมาย, ื ระเบียบ,เอกสารและบริการของรัฐ, การเชอมโยงไปยังกระทรวง กรม และหน่วยงานอืนของรัฐ ประชาชนเข ้าถึงสารสนเทศได ้ง่ายไม่วาจะเป็ นอะไรทีใหม่ในระดับรัฐบาลกลาง กระทรวงและ ่ สามารถเข ้าไปถึงสารสนเทศทีเก็บย ้อนหลัง ระด ับที2 ปร ับปรุง(Enhanced): การติดต่อระหว่างรัฐและประชาชนทังทางเดียวและสอง ่ ทางทีปรับปรุงสมําเสมอเชนเอกสารบริการและแบบฟอร์มขอรับบริการdownloadได ้เป็ นต ้น ี ี ์ ่ เว็บไซต์มเสยงและภาพวิดโอหลายภาษา บริการทางอิเล็กทรอนิกสหรือข ้อมูลสวนตนที ี ่ ประชาชนสามารถร ้องขอให ้สงเป็ นกระดาษไปยังบ ้านของประชาชนได ้
  • 24. ั ระด ับที 3 ธุรกรรม(transcational): ปฏิสมพันธ์สองทางระหว่างรัฐกับประชาชนซงรวม ึ การร ้องขอจากรัฐและให ้ข ้อมูลแก่รัฐด ้านนโยบาย โครงการ ระเบียบ ฯลฯ มีระบบการ ่ ่ ตรวจสอบบุคคลทีเข ้าทําธุรกรรมกับรัฐได ้ สามารถให ้บริการธุรกรรมทีมิใชการเงินเชน การ โวตทางอิเล็กทรอนิกส ์ รับแบบฟอร์มและสงแบบฟอร์ม กรอกแบบภาษี ออนไลน์ ขอ ่ ์ ใบอนุญาตทางออนไลน์ เป็ นต ้นนอกจากนีสามารถทําธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสการเงินบน เครือข่ายทีมันคงปลอดภัย ื ้ ระด ับที 4 บริการเชอมโยง(connected):.ใชเว็บ2.0และอุปกรณ์อนเพือให ้ประชาชน ื ื ร ้องขอและแสดงความเห็นอย่างก ้าวหน ้า เชอมโยงข ้อมูลสารสนเทศและความรู ้ระหว่าง กระทรวงและกรมอย่างบูรณาการปราศจากรอยต่อ เคลือนย ้ายจากรัฐเป็ นศูนย์กลางไปเป็ น ิ ้ ่ ิ ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง สร ้างสงแวดล ้อมทีใชประชาชนให ้มีสวนร่วมในการตัดสนใจของ รัฐ Online service index Supplementary e-participation index
  • 26. ตัวอย่างที 2 Bahrain eGovernment ใช ้ Web 2.0(เพือ citizen centric)
  • 27. ดัชนีโครงสร ้างพืนฐานโทรคมนาคม •PC ต่อประชากร 100 คน ้ •ผู ้ใชอินเทอร์เน็ ตต่อประชากร 100 คน ั •จํานวนเลขหมายโทรศพท์ตอประชากร 100 คน ่ ้ ั •จํานวนผู ้ใชโทรศพท์มอถือต่อประชากร 100 คน ื ้ •จํานวนผู ้ใชbroad bandต่อประชากร 100 คน •ดัชนีแต่ละตัวได ้นับการnormalizedโดย •ดัชนีโครงสร ้างพืนฐานโทรคมนาคม การนํ าดัชนีตวนันของประเทศนันลบด ้วย ั ของประเทศ “x”จะได ้จากการคํานวณ ดัชนีของประเทศตําสุดแล ้วหารด ้วย เลขคณิตอย่างง่ายว่าเป็ นค่าเฉลียของ ผลต่างระหว่างประเทศสูงสุดกับประเทศ ดัชนีทัง 5 ตัวกล่าวคือ ตําสุด •ตัวอย่างเชนหากประเทศ “x” มีผู ้ใช ้ ่ อินเทอร์เน็ ต 36.69ต่อประชากร 100 คน และค่านีของประเทศตําสุดคือ 0 และ ประเทศสูงสุดคือ 88.87 แล ้วเราจะดัชนีนี ของประเทศ “x” ว่า
  • 28. ดัชนีต ้นทุนกําลังคน ื •ประกอบด ้วยดัชนี 2 ตัวกล่าวคืออัตราการรู ้หนังสอของผู ้ใหญ่รวมกับอัตราการ ื ั ลงทะเบียนเรียนหนังสอชนประถม(primary) มัธยม(secondary)และอุดมศกษา ึ (tertiary) •UNESCOเป็ นแหล่งสําคัญของข ้อมูลทังสองประเภท ่ •สวนทีขาดไปได ้จากข ้อมูลจาก 2009UNDP Human Development Report •ดัชนีทังสองได ้รับการnormalizedโดยการ นํ าค่าของประเทศนันลบด ้วยค่าดัชนีของ •ดัชนีต ้นทุนกําลังคนของประเทศ“x” ประเทศตําสุดแล ้วหารด ้วยผลต่างระหว่าง จะได ้จากค่าเฉลียถ่วงนํ าหนักของ ค่าาประเทศสูงสุดกับประเทศตําสุด ดัชนีนย่อยทังสองดังนี ่ •ตัวอย่างเชนหากประเทศ “x” มีอตราการรู ้ ั ื หนังสอของผู ้ใหญ่ 66.8ต่อประชากร 100คน ค่าของปรเทศตําสุด 28.7%และประเทศศู งสุด 99.5% แล ้วเราจะได ้ว่า ดัชนีต ้นทุนกําลังคนของประเทศ”x
  • 34. มารตฐานและการกําหนดมาตรฐาน • การกําหนดมาตรฐาน(standardization) คือกระบวนการพัฒนาและตกลง มาตรฐาน • มาตรฐานจะปรากฎเป็ นเอกสารทีบ่งรูปแบบเดียวกันของคุณสมบัต ิ เงือนไข วิธการ กระบวนการหรือการปฏิบต ิ ี ั ่ • มาตรฐานอาจเกิดอย่างไม่เป็ นทางการแต่เกิดจากคนสวนใหญ่รวมกันใช(de ่ ้ facto )อย่างกว ้างขวางจนเป็ นทีนิยม • บางมาตรฐานเกิดอย่างเป็ นทางการ(de jure)ตามความต ้องการของ ่ กฏหมาย ตัวอย่างเชนมาตรฐานทีกําหนดโดย International Organization for Standardization (ISO) หรือ American National Standards Institute (ANSI)เป็ นต ้น มาตรฐานนีจะกําหนดอย่างเป็ นเป็ น ิ อิสระจากผู ้ผลิตสนค ้า ่ ิ • วัตถุประสงค์ของการกําหนดมาตรฐานก็เพือชวยให ้สนค ้า – อิสระจากผู ้ผลิตรายใดรายหนึง – ความเข ้ากันได ้(compatibility) – ทํางานร่วมกันได ้(interoperability) – ความปลอดภัย(safety), – ผลิตซําได ้(repeatability), – มีคณภาพ(quality) ุ wikipedia
  • 35. ปั ญหาสอดิจทัล ิ ฟอนต์ Error ี เสยเวลาปรับแต่ง โห!! สร ้างสารบัญ ี เสยเวลาจัง เปิ ดแล ้ว เปิ ดไม่ได ้นะ ฟอร์แมตเสย ี จําไม่ได ้แล ้วใช ้ ขนาดอักษรเท่าไร คนละ version
  • 36. การจัดการสอดิจทัล ิ • มีการถ่ายทอดและจัดเก็บอย่างเป็ นระบบ • การเข ้าถึงได ้อย่างทัวถึง • ้ มีมาตรฐานเพือการนํ ามาใชใหม่ได ้หลายๆ ครัง • มีการไหลเวียนผ่านกระบวนทีสร ้างคุณค่า อันจะ ่ ิ สงผลถึงประสทธิภาพโดยรวมทีสูงขึนของ องค์กร/หน่วยงาน ้ ่ • มีการใชเทคโนโลยีเป็ นเครืองมือ เพือชวยแปลง ความซําซอนในการทํางานเป็ นความร่วมมือ ้ ทวีศักดิ กออนันตกูล. วัฒนธรรมการจัดการความรู ้ สวทช.
  • 37. มาตรฐานสอดิจทัล ิ • ื มาตรฐานการตังชอโฟลเดอร์และแฟ้ มเอกสาร • มาตรฐานการสร ้างเอกสารงานพิมพ์ • มาตรฐานเอกสารเว็บ • ื มาตรฐานการสร ้างสอนํ าเสนอ • ี มาตรฐานเสยงดิจทัล ิ • มาตรฐานภาพนิงและภาพเคลือนไหวดิจทัล ิ • ื มาตรฐานสอมัลติมเดียี • ฯลฯ
  • 38. สรุป ่ • ชวยกันพัฒนาเว็บไซต์รัฐบาลเพือประโยชน์สาธารณะ ์ และยกระดับรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสของประเทศ ื • ร่วมกันทําความเข ้าใจและกําหนดมาตรฐานสอดิจทล ิ ั ่ ้ ื • ร่วมกันรณรงค์ สงเสริมการใชงานมาตรฐานสอดิจทล ิ ั • ร่วมกันพัฒนา ปรับปรุงข ้อกําหนด มาตรฐาน ื กระบวนการทีเกียวข ้องกับสอดิจทลิ ั
  • 40. ภาคผนวก: ื มาตรฐานสอดิจทล ิ ั
  • 42. ั ระบบรหัสอักษรและสญลักษณ์(character encoding system) ั • หมายถึงรหัสทีทําให ้เกิดการจับคูระหว่างอักษรหรือสญญลักษณ์หนึงๆเข ้ากับ ่ ั ่ ั สญญาณไฟฟ้ าเพือให ้เกิดการสงอักษรหรือสญญลักษณ์นันทางโทรคมนาคม ั หรือเพือการเก็บรักษาอักษรหรือสญญลักษณ์นันไว ้ในคอมพิวเตอร์ Samuel F. B. Morse (1791-1872) •American Standard Code for Information Jean-Maurice-Émile Baudot Interchange (1845 – 1903), •1st edition 1963, 1st revision 1967,latest revision 1986
  • 43. ยูนโคด(UNICODE) ิ •รหัสแอสกีมีขนาด 7 บิตจึงสามารถแทนอักษรและ ั สญญลักษณ์ได ้เพียง 128 ลักษณะหรือแม ้นจะขยายขึน ้ ั ไปเป็ น 8 บิตเพือใชกับอักษรและสญญลักษณภาษาอืนก็ แทนได ้เพียง256 ลักษณะเท่านัน •จึงมีความจําเป็ นในการพัฒนายูนโคดเพือให ้ ิ คอมพิวเตอร์สามารถมีรหัสครอบคลุมอักษรและ ั สญญลักษณ์ของภาษาทัวโลกโดยครังแรก (ค.ศ.1988) เสนอใช ้ 16 บิต(2 ไบต์)ทําให ้สามารถแทนได ้ถึง 65,536 ลักษณะ •ปั จจุบนยูนโคดขยายออกไปถึง 32 บิต(4 ไบต์) ั ิ ั ครอบคลุมมากกว่า107,000อักษรและสญญลักษณ์ของง ภาษาทัวโลก wikipedia
  • 44. ฟอนต์(Font)(1/2) ั ้ •ดังเดิมฟอนต์จะบงถึงขนาดและรูปแบบของอักษรหรือสญญลักษ์ โลหะทีใชในการเรียงพิมพ์ เท่านั น ุ ิ ้ •ตังแต่ยคค.ศ.1900เป็ นต ้นมาฟอนต์ได ้กลายมาเป็ นดิจตัลใชในระบบคอมพิวเตอร์ ึ ์ ี •ดังนั นฟอนต์ในยุคนีมักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ฟอนต์ซงก็คอไฟล์อเล็กทรอนิกสทเก็บชุดของ ื ิ ั อักษรและสญลักษณ์ (characters, glyphs, or symbols such as dingbats) ตัวอย่างฟอนต์ Metal typeset
  • 45. ฟอนต์(Font)(2/2) •ฟอนต์จะบ่งประเภท(family)ลักษณะ(faces)และขนาด(point) •การแสดงฟอนต์บนจอคอมพิวเตอร์ทแพร่หลายจะแสดงเป็ นลักษณะทีเรียกันว่าบิตแม็ป ี (bitmap)หรือบางทีก็เรียกกันว่าราสเตอร์(raster) ี •การแสดงจะมีลักษณะเป็ นจุดหลายจุดภายในกรอบสเหลียม แต่ละจุดแทนด ้วย 1 ไบต์ ี (8บิต)หรือ 3 ไบต์(24บิต)เพือให ้ได ้สทังสามทีละเอียด •ความละเอียดในการแสดงจะขึนอยูกบจํานวนจุดต่อนิว(dpi: dot per inch) ่ ั ตัวอย่างฟอนต์ของไมโครซอฟท์ การแสดงภาพแบบบิตแม็ป
  • 46. ี ไฟล์เสยง(audio file) • ี ่ ี เสยงดิจทัลเกิดจากการสุม(sample)อย่างสมําเสมอของเสยงอะนาล็อก ิ • ่ ข ้อมูลทีได ้จากการสุมจะมีคาเป็ นดิจทัลเก็บไว ้ในไฟล์ของคอมพิวเตอร์ ่ ิ • ี ี เมือต ้องการฟั งเสยงเราสามารถแปลงข ้อมูลทีเก็บไว ้กลับไปเป็ นเสยงอะนาล็อกเดิมได ้ • ข ้อมูลดิจทัลทีเก็บไว ้อาจมีลักษณะเท่าเดิมuncompressed)หรือลดขนาด(compressed)เพือ ิ ประหยัดพืนทีในคอมพิงเตอร์ได ้ • ี ดังนันไฟล์จงมี3 ลักษณะ:เท่าเดิม(uncompressed) ลดขนาดแบบไม่สญเสย(lossless ึ ู ี compression)และลดขนาดแบบสูญเสย(lossy compression) ตังอย่างการแปลงจากอนาล็อกเป็ นดิจทัล ิ (แบบ PCM) ั ั •เราจะสงเกตว่าสญญานลักษณะไซน์ได ้รับ ่ การสุมอย่าสมําเสมอและเปลียนเป็ นค่าด ่ ดิจทัลตรงจุดทีสุมดังนี 7, 9, 11, 12, 13, ิ 14, 14, 15, 15, 15, 14, ฯลฯ •เมือแปลงค่านีเป็ นไบนารีก็จะได ้ค่า 0111, 1001, 1011, 1100, 1101, 1110, 1110, 1111, 1111, 1111, 1110, ฯลฯ wikipedia
  • 49. กล ้องดิจทัล ิ CCD: Charge Couple Device Olympus EVOLT E-330 •7.5-megapixel NMOS solid state image sensor •2.5-inch color LCD monitor with vertical tilt design and Live View capability •JPEG, uncompressed TIFF, and RAW file formats •Images saved on CompactFlash cards and Microdrives, as well as xD- Picture cards •USB cable for fast connection to a computer (USB auto-connect for driverless connection to Windows Me, 2000, XP, and Vista, and Mac OS 8.6 or greater)
  • 51. ตัวอย่างไฟล์ภาพนิงชนิด JPEG ึ •JPEG ย่อมาจาก Joint Photographic Experts Groupซงเป็ นคณะกรรมการพิจารณามาตรฐานไฟล์ ภาพประเภทนี ื •ปั จจุบันมีชอเป็ นทางการว่าITU – T JTC1/SC2/WG10. ่ ั ี ี •ไฟล์JPEG รุนแรกเริมประกาศเมือค.ศ.1986มีวตถุประสงค์ทจะย่อบีบอัดภาพถ่ายธรรมชาติทังส(24 บิต ี หรือ16.7ล ้านส)หรือขาวดํา(8 บิตหรือ256ระดับ) ี • การลดขนาด(บีบอัด)เป็ นลักษณะสูญเสยสารสนเทศ กล่าวคือภาพทีลดขนาดจะเลวกว่าภาพเริมต ้น •อย่างไรก็ดJPEGได ้อาศัยคุณลักษณะสายตาของมนุษย์ททนต่อการสูยเสยสารสนเทศนันได ้ ี ี ี •ภาพทังสองนีเป็ ภาพเดียวกันหรือ? •ภาพขวาเป็ นภาพเริมต ้นนํ าออกมา จากกล ้องโดยตรง •ภาพด ้านซายเป็ นภาพหลังจากใช ้ ้ Photoshopบีบอัดลดสารสนเทศ เหลือ60% http://www.photoshopessentials.com/essentials/jpeg-compression/
  • 52. ตัวอย่างไฟล์ภาพนิงชนิด GIF • GIFย่อมาจากThe Graphics Interchange Format (GIF) • มีลกษณะของบิตแม็ปเสนอโดยบริษัทCompuServe เมือค.ศ. 1987 และเป็ นทีนิยมใช ้ ั เนืองจากการสนั บสนุนและการป้ อนลงเครือง(portability)ทีดี • ลักษณะ 8 บิตต่อพิกเซลทําให ้เรียกใชสได ้ 256 สจากจํานวนส ี RGB ทังหมด16.7ล ้านส ี ้ ี ี (24-บิต) • ้ ั ี ี นอกจากนียังใชในงานแอนนิเมชนโดยแต่ละเฟรมเลือกสเป็ นอิสระจาก256สเป็ นจากกัน • ด ้วยข ้อจํากัดจํานวนสจงทําให ้GIFTเหมาะสําหรับทีง่ายกล่าวคือภาพเสน ภาพกราฟฟิ ก ี ึ ้ และโลโก ้เป็ นต ้นแต่ไม่เหมาะสําหรับภาพถ่ายสจากกล ้องและภาพวาดทีมีลักษณะสท ี ี ี ต่อเนือง • ้ ี ี ี GIFใชวิธบบอัดทีปราศจากการสูญเสยสารสนเทศ painting line drawing textual image photograph image
  • 53. ิ ความสนเปลืองหน่วยความจําของภาพนิง •สมมติเรามีภาพขนาด6x4นิวที150 dpi เราจะคํานวณดังนี (6 inches x 150 dpi) x (4 inches x 150 dpi)=900x600 pixels= 540,000 pixels •เนือทีหน่วยความจํ าสําหรับภาพส(RGB)จึงเป็ น ี •540,000 x 3 = 1.6 ล ้านไบต์ •สําหรับ “x3” จะหมายถึง 3 ไบต์ของส ี RGB ต่อพิกเซลหรือนันคือระดับสได ้ถึง 24 บิต(16.7ล ้านส)ต่อ ี ี พิกเซล •กรณี 8 บิตต่อพิกเซล(ขาวดําหรือ256ส)หรือภาพลายเสนจะใช ้ 1 บิตติพิกเซล(1/8 ไบต์)ก็จะสนเปลือง ี ้ ิ น ้อยลง
  • 54. ภาพเคลือนไหวดิจทล ิ ั ตัวอย่างการคํานวณปริมาณข ้อมูลวิดโอ ี • คุณสมบัต ิ ้ ี – แต่ละพิกเซลใชสขนาด 24 บิต – ขนาดเฟรม 640x480 พิกเซล – จํานวนเฟรม 25 เฟรมต่อวินาที ั ่ • ต ้องการทราบว่าใน 1 ชวโมง(3600วินาที)ต ้องสงข ้อมูล เท่าไร? – จํานวนพิกเซลต่อเฟรม= 640 * 480 = 307,200 – จํานวนบิตต่อเฟรม= 307,200 * 24 = 7,372,800 = 7.37 เมกะบิต – จํานวนบิตต่อวินาที (BR) = 7.37 * 25 = 184.25 เมกะบิตต่อวินาที – ั ดังนันจํานวนข ้อมูลใน1ชงโมง = 184 * 3600 วินาที= 662,400 เม กะบิต= 82,800 เมกะไบต์= 82.8 กิกะไบต์ wikipedia
  • 55. ประเภทของไฟล์วดโอ ิ ิ http://www.fileinfo.com/filetypes/video
  • 56. วิวัฒนาการของการบีบอัดข ้อมูลภาพ เคลือนไหวด ้วยมาตรฐาน MPEG (MPEG: Moving Picture Experts Group ) http://www.althos.com/tutorial/MPEG-Tutorial-moving-picture-experts-Group-Book-page-19.html
  • 57. MPEG 1,2,4 ี •MPEG-1 เป็ นมาตรฐานในการบีบอัดข ้อมูลวิดโอและเสยงชนิดสูญเสย ี ี สารสนเทศ ้ •เริมใชเมือคศ1993 ี •วัตถุประสงค์เพือบีบอัดข ้อมูลดิบของVHSดิจทลวิดโอและเสยงในซดให ้ ิ ั ี ี ี เหลือเพียง1.5 เมกะบิตต่อวินาที(ด ้วยอัตรา 26:1 และ 6:1 ตามลําดับ) ี โดยไม่เสยคุณภาพจนเกินไป ี ี •ด ้วยเหตุนบรรดาวีซด(VCD: Video Compact Disc) ี •MPEG-1 ได ้กลายเป็ นระบบบีบอัดข ้อมูลทีเข ้ากันได ้(compatible lossy audio/video format)ระหว่างผลิตภัณฑ์ตางยีห ้อมากทีสุดในโลก ่ ้ •ทีรู ้จักแพร่หลายคงจะเป็ น MPEG-1ทีใชเป็ นมาตรฐานของรูปแบบเสยง ี MP3 http://www.wave-report.com/tutorials/VC.htm
  • 58. MPEG 1,2,4 MPEG-2 ้ •ออกแบบเพือใชงานระหว่าง1.5 แล15 เมกะบิต/วินาที •เน ้นไปทีดิจทัลทีวและดีวด(DVD: digital versatile disc) ิ ี ี ี • วางอยูบนพืนฐานของMPEG-1 แต่ออกแบบสําหรับการบีบอัดและสงข ้อมูล ่ ่ ่ ่ โทรทัศน์ดจทัลบนพืนดิน การสงผ่านเคเบิล การสงโทรทัศน์โดยตรงทางดาวเทียม ิ ิ ้ ่ •MPEG-2 ยังสามารถปรับอัตราบิตต่อวินาทีให ้ขึนไปใชในการสงภาพละเอียดของ HDTV ได ้โดยหลีกเลียงการทีต ้องไปใช ้ MPEG-3 MPEG-4 •มาตรฐานสําหรับการใชบนเว็บ ้ •วางอยูบนพืนฐานการบีบอัดแบบวัตถุ(object-based compression) ่ •แต่ละวัตถุในภาพจะได ้รับการติดตามจากเฟรมหนึงไปยังอีกเฟรมหนึง ิ ิ •สงทีได ้คือความสามารถในการปรับประสทธิภาพการบีบอัดจากจํานวนบิตต่อ ี ่ วินาทีทตําไปสูจํานวนบิตต่อวินาทีทสูงขึนได ้ ี ึ ั •นอกจากนียังสามารถควบคุมแต่ละวัตถุในภาพได ้ด ้วยทําให ้ได ้มาซงปฏิสมพันธ์ ้ (interactivity)ระหว่างวัตถุในภาพกับผู ้ใชได ้ http://www.wave-report.com/tutorials/VC.htm