SlideShare a Scribd company logo
1 of 106
Download to read offline
สื่อดิจิทัลที่มีคณภาพ
                  ุ

              บุญเลิศ อรุณพิบูลย
 ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
               http://stks.or.th
            boonlert@nstda.or.th
บุญเลิศ อรุณพิบูลย
• 2536 – 2551                       • 2551 – ปจจุบัน
  – NECTEC                            – STKS / NSTDA
     • เจาหนาที่ระบบคอมพิวเตอร        • นักวิชาการ
     • วิทยากร ศูนยฝกอบรม              • รักษาการหัวหนางานพัฒนา
       คอมพิวเตอรเนคเทค                   และบริการสื่อสาระดิจิทัล
     • รักษาการหัวหนางาน
       สนับสนุนทางเทคนิค
     • รักษาการหัวหนางานวิชาการ
     • รักษาการหัวหนางานพัฒนา
       สื่อสาระดิจิทัล
     • นักวิชาการ
สื่อดิจิทัล
• เอกสารจาก Microsoft Office, OpenOffice.org
• ภาพถายจากกลองถายภาพดิจิทัล
• สือวีดิทัศนจากกลองบันทึกภาพดิจิทัล
    ่
• ภาพสแกนจากเครื่องสแกนเนอร
• ไฟลเสียงดิจิทัล
• สือมัลติมเดีย
    ่      ี
• เอกสารเว็บ
ปญหาสื่อดิจิทัล

 ฟอนต Error        โห!! สรางสารบัญ     เสียเวลาปรับแตง
                      เสียเวลาจัง



 จําไมไดแลวใช                            เปดแลว
ขนาดอักษรเทาไร           เปดไมไดนะ      ฟอรแมตเสีย
                         คนละ version


                                         ทํางานซ้ําซอน
  คนหายากมาก
                      ที่เก็บกระจาย      เสียเวลา/เงิน
การจัดเก็บขอมูล
แบบเดิมๆ               ยุคใหม
• ตางคนตางสราง      • รวมกันสราง (ออนไลน/
• ตางคนตางเก็บ         ออฟไลน)

• การเผยแพรผานเว็บถูก • แกไขรวมกันได
  ควบคุมดวยคน/กลุมคน    (ออนไลน/ออฟไลน)
  เชน web master       • เก็บรวมเปนสมบัติ
                          หนวยงาน
                       • เผยแพรกวางไกล
คลังความรู KM ดวย ICT
คลังความรู KM ของ สวทช.
                                            Paper-based

                                    Multimedia
 Explicit           = Media-based
                                          Digitally-Indexed
     Written down
                                     Digitally-Active

                                           Intellectual Property © ™ (sm)
KR                                                               Patents




 Tacit      = People knowledge               Individuals
      in People’s head

                                             Groups
คลังความรูดจิทัล
                ิ
จาก KM, Social Networking




            Digital Library
       Institutional Repository
           Digital Archives
                 Web
Wikipedia
Slide Share
คนได ใชไดหรือไม???
                    ???

                                 คนยากจัง



                                  เปดแฟมไมได
           Digital Library
      Institutional Repository
          Digital Archives
                Web


                                  เนื้อหาดีจัง
ปญหาสื่อดิจิทัลและคลังความรูดจิทัล
                                   ิ

•   สื่อดิจิทัลไมไดกาหนดมาตรฐานรวมกัน
                      ํ
•   การทํางานซ้ําซอน เสียเวลา
•   ระบบคลังความรูดิจิทัล ไมรองรับมาตรฐาน
•   การละเมิดลิขสิทธิ์
     – Software, Content, Font, Image
มาตรฐานทีควรพิจารณา
               ่
•   ชื่อโฟลเดอร/แฟมเอกสาร
•   การสรางเอกสารงานพิมพ
•   การสรางเอกสาร PDF
•   การสรางสื่อนําเสนอ
•   ภาพดิจิทัล
•   การสรางเอกสารเว็บ
•   สื่อมัลติมีเดียดิจิทัล
•   ระบบจัดเก็บ/คลังเอกสาร
มาตรฐานสือดิจิทัล
                   ่

• การตั้งชื่อโฟลเดอรและแฟมเอกสาร
• การสรางเอกสาร
  – ลดการทํางานซ้ําซอน
  – ตอยอดไดงาย
              
  – รูปแบบไมเพี้ยน
  – ภาษาไทยถูกตอง
• การกําหนดเมทาดาใหเอกสาร
การจัดเก็บเอกสาร
                                              เก็บเขาตูเอกสาร

     จัดเก็บ
                                   เขาระบบ
                                    จัดเก็บ




เอกสาร         จัดเขาแฟมเอกสาร

                                               แยกกันเก็บ ไมเปนระบบ




                          Drive / Folder / Sub-Folder
                                   Directory
ชื่อโฟลเดอรและแฟมเอกสาร
• มักใชภาษาไทย
• มักจะมีชองวาง
          
• มักมีอกขระพิเศษผสม
        ั
• ไมสอความหมาย
      ื่


         หนวยงานของทานมีขอกําหนดเกี่ยวกับ
          การตั้งชื่อโฟลเดอรและแฟมเอกสาร
                     แลวหรือยัง !!!!!
ชื่อโฟลเดอรและแฟมเอกสาร
• ภาษาอังกฤษ ผสมตัวเลข
• ใชเฉพาะเครื่องหมาย –
• ไมควรมีชองวาง
           
• ไมควรยาวมากเกินไป
• สือความหมายชัดเจน
    ่
ชองวางหรือ underscore
boonlert_aroonpiboon@nstda.or.th
    http://www.thai_kids.com
ชื่อหนาเอกสารออนไลน
   • Namespace – Wiki
   • Pagename
   • Alias
  คุณชอบ ...
   • ผลกระทบตอการนํา URL มาอางอิง
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0
%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99
      หรือ
http://th.wikipedia.org/wiki/ทุเรียน
วัน/เวลา สําคัญมากนะครับ
• พรบ.การกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร
หนวยงาน/องคกรของทาน
กําหนด “นโยบายเกี่ยวกับวัน/
        เวลา” ????
การพิมพ
• ตัดคํา ณ ตําแหนงที่ตองการ โดย
  – เคาะชองวางไปเรือยๆ จนกวาจะตัดคํา
                     ่
  – กดปุม <Enter>
        
  – กดปุม <Shift><Enter>
          
• ขึนหนาใหม ณ ตําแหนงที่ตองการ
    ้
  – กดปุม <Enter> ไปเรือยๆ จนขึนหนาใหม
                      ่       ้
  – กดปุม <Ctrl><Enter>
          
การพิมพ
Internet     อินเตอรเน็ต    อินเตอรเน็ท    อินเทอรเน็ต
Digital      ดิจิทอล         ดิจตอล
                                ิ            ดิจิทัล
Web          เว็ป            เวป             เว็บ


การใชงานคอมพิวเตอร ( Computer) มีความสําคัญสูงมาก
ขึ้นอยางเห็นไดชัด ยิ่งมีกระแสอินเทอรเน็ต( Internet ) ยิ่ง
ทําใหการทํางาน และกระบวนการตาง ๆ จําเปนตองเรงปรับ
รูปแบบเพื่อใหงานตางๆ เปนไปอยางเหมาะสม
แบบอักษร (Fonts)
• กําหนดฟอนตมาตรฐานใหกับหนวยงาน/
  องคกร
• ฟอนตไมละเมิดลิขสิทธิ์
• หากจําเปนตองใชฟอนตพิเศษ ใหฝงฟอนต
  (Embedded) ไปกับแฟมเอกสาร
แบบอักษร
หนวยงานของทาน กําหนดฟอนต
 ขนาดฟอนต และลักษณะฟอนต
     มาตรฐานไวอยางไร ??
ฟอนตสวยๆ ไมละเมิดลิขสิทธิ์
•   TH Baijam – สวยไหมครับ
•   TH Chakra Petch – สวยไหมครับ
•   TH Charm of AU – สวยไหมครับ
•   TH Charmonman – สวยไหมครับ
• TH Fah kwang – สวยไหมครับ
• TH Krub - สวยไหมครับ
ขอชวนคิด
• การฝงฟอนตไปกับเอกสาร Microsoft Office ทําได
  อยางไร
• การฝงฟอนตไปกับเอกสาร PDF ทําไดอยางไร
• หนวยงานของทานมีขอกําหนดการฝงฟอนตหรือไม
                         
  อยางไร
• หนวยงานของทานมีประกาศนโยบายการใชฟอนต
  ที่ไมละเมิดลิขสิทธิหรือไม
                      ์
การฝงฟอนต MS Office
การฝงฟอนต PDF
ฟอนตภาษาไทยกับเว็บ
                 เอกสารเว็บของทาน
                   กําหนดฟอนตใด
HTML
<font face=“Tahoma, MS Sans Serif, Thonburi”>…</font>

CSS
font-family: Tahoma, “MS Sans Serif”, Thonburi;
ตัวอักษรแตกเมื่อขยายขนาดฟอนต
Thai Encoding


   เอกสารเว็บของทาน
กําหนด Encoding หรือไม
 หากกําหนดระบุเปนอะไร
Thai Encoding
UTF-8, TIS-620, Windows-874




  <meta http-equiv=“content-type”
content=“text/html; charset=………..”>
Thai Encoding
สื่อ PPT
               Database        Web
               TIS-620      ISO-8859-1

สื่อ Word
               Database         Web
              Windows-874   Windows-874

สื่อ Excel
                                Web
               Database
                               ไมระบุ
                UTF-8
สื่อ Web
ปญหา Thai Encoding
กับการเก็บเกี่ยวขอมูลจากฐานขอมูลอื่น

DSpace


DSpace
             OAI
DSpace     Harvester


DSpace
Style หัวใจงานพิมพ


     Heading 1




   Heading 2
ทาน/หนวยงานของทาน
    กําหนดใหใช Style
ในการสรางเอกสารหรือไม
Style หัวใจงานพิมพ
• ปรับแกไขไดงาย
• เอกสารไมเสียฟอรแมต
• สรางสารบัญไดทนที
                   ั
• แปลงเปนเอกสารเว็บ
  ที่คนตาบอดอานไดดวย
  Screen Reader ไดงาย
• แปลงเปน Digital Library
  Content มาตรฐานพรอม
  สารบัญอัตโนมัติ
  (Greenstone)
Word to PDF
เอกสารจาก Word ที่สราง
ดวย Style แปลงเปน PDF
พรอม “สารบัญ” หรือ
“Bookmark” อัตโนมัติ
Version นั้นสําคัญไฉน
• นักเรียน: ครูขา หนูโหลด PPT ครูมาอาน
  ไมไดคะ
• ครู: อาว เครื่องเธอมีปญหาหรือ ครูเปด
  ไดนะ

    ความผิดของใคร
Version นั้นสําคัญไฉน
• ครู: ครูใช Office 2007
• นักเรียน: บานหนูใช Office 2003


    ความผิดของหนู
      หรือนี่ !!!!
PDF คือคําตอบเพื่อแกไขปญหา
 หลากหลายในการสรางเอกสาร

• แต PDF ก็ไมชวยหาก
  – มีการใชฟอนตที่ไมไดมาพรอมกับระบบ OS
  – สงออกเปน PDF ผิดลักษณะการใชงาน
  – กําหนดเงือนไขการเขาถึงผิดวัตถุประสงค / ไมได
               ่
    กําหนดเงือนไขการเขาถึงเอกสาร
             ่
เอกสาร PDF
• หนวยงานของทานกําหนดนโยบายการสราง
  เอกสาร PDF หรือไม อยางไร
  –   การฝงฟอนต
  –   การเขาถึงทีสะดวกดวย Bookmark
                  ่
  –   การสนับสนุนการสืบคนดวย Metadata
  –   การกําหนดสิทธิ์การเขาถึงเอกสาร
       • รหัสผานสําหรับเอกสารบางประเภท
       • พิมพดวยความละเอียดต่ํา หรือหามพิมพ
               
       • หามคัดลอก
เสียง .wav
•   อยาบันทึกแลวจบดวย Save
•   กําหนดคาใหเหมาะสมกอน
•   8-bit or 16-bit sound data
•   Mono Preprocessing
•   Sample Rate
    – 5 kHz is barely acceptable for speech.
    – 11 kHz is the lowest recommended quality for a short segment
      of music and is one-quarter of the standard CD rate.
    – 22 kHz is a popular choice for Web playback and is half the
      standard CD rate.
    – 44 kHz is the standard CD audio rate
เสียง MP3
• Bit Rate
  – 8 Kbps through 160 Kbps CBR (constant bit rate).
  – 16 Kbps or higher for the best results
• Mono Preprocessing
• Quality
  – Fast yields faster compression but lower sound quality.
  – Medium yields somewhat slower compression but higher sound
    quality.
  – Best yields the slowest compression and the highest sound
    quality.
Image
• ภาพตนฉบับ
• ภาพสําหรับสื่อสิ่งพิมพ
• ภาพสําหรับสื่อ Presentation ระบบ
  มัลติมีเดีย (Multimedia Presentation)
• ภาพสําหรับเว็บไซตทั้งภาพแบบยอ
  (Preview) และภาพจริง
• ภาพสําหรับระบบฐานขอมูล
มาตรฐานรูปแบบการนําเสนอภาพ
              ภาพ            ภาพ         ภาพสําหรับ    Presentation     Database     Website    Preview
             ตนฉบับ     สื่อสิ่งพิมพ    Digital
                                          Archive
Format       JPG, TIFF   TIFF, BMP          JPG             JPG            JPG            GIF    GIF
                                            TIF                            TIF            JPG    JPG
                                                                                          PNG    PNG
Resolution   Up to 350    Up to 350       72 - 150        72 - 150      72 – 150      72, 96      72
(dpi)
Size           Up to        Up to          Up to           Up to         ≈ 300 ×     ≈ 300 ×    ≈ 100 ×
(pixels)      1840 ×     1840 × 1232     1024 × 768      1024 × 768        250         250        100
               1232

Folder        original       dtp          archive         present       database          web   preview

File Name     ตามจริง                       เปลี่ยนตามขอกําหนด โดยแยกเปนโฟลเดอรเฉพาะ
Resolution 72-ppi and 300-ppi
ภาพกับ PPT
ตกแตง PPT ดวยภาพสแกน
      ภาพถายดิจิทัล
  ขนาดไฟล PPT โตมาก

  แกไขอยางไรดี ?????
การลด Resolution ของ PPT
Format
• รูปแบบของไฟลภาพที่ใชในการจัดเก็บภาพ
• การเลือกรูปแบบที่เหมาะสมตอการนําเสนอ
  จะชวยใหภาพมีขนาด (File Size) เล็กลง
  โดยคงความคมชัดไวในระดับดี
• ประหยัดพื้นที่ของสื่อบันทึกขอมูลไดเปน
  อยางดี
GIF or JPEG?
GIF
• Graphics Interlace File
• จํานวนสีและความละเอียดของภาพไมสงมากนัก
                                   ู
• ตองการพื้นแบบโปรงใส
• ตองการแสดงผลแบบโครงรางกอน แลวคอย
  แสดงผลแบบละเอียด
• ตองการนําเสนอภาพแบบภาพเคลื่อนไหว
• สวนขยายคือ .gif
JPEG
• Joint Photographer's Experts Group
• เหมาะสมกับการนําเสนอทั้งระบบสื่อมัลติมีเดีย และเว็บไซต
• สามารถกําหนดขนาดของไฟลไดตามความเหมาะสม (File
  Compression)
• สามารถกําหนดคุณสมบัติการแสดงผลแบบหยาบ แลวคอยๆ
  ละเอียดเมือเวลาผานไป ที่เรียกวาคุณสมบัติ Progressive
            ่
• สวนขยายของไฟลรูปแบบนี้คอ .jpg หรือ .jpeg
                           ื




                                                            64
PNG
• Portable Network Graphics
• รูปแบบลาสุดในการนําเสนอภาพผานเครือขายอินเทอรเน็ต
• สามารถแสดงผลไดในระบบสีเต็มพิกัด (True Color)
  มีขนาดไฟลเล็ก และควบคุมคุณภาพไดตามที่ตองการ
                                              
  มีการกําหนดใหพื้นภาพเปนพื้นโปรงใสได (Transparent)
  รวมทังการแสดงผลแบบหยาบสูละเอียด (Interlaced)
       ้
• สวนขยายของไฟลรูปแบบนี้คอ .png
                           ื
คุณสมบัติเฉพาะของภาพ
JPEG Quality




JPEG - 60K          JPEG - 19K
Max Quality         Low Quality
Progressive & Interlaced


รูปภาพทีแสดงในโหมดปกติ
        ่




  การแสดงผลภาพ           การแสดงผลภาพแบบ Interlaced
  แบบ Progressive
Metadata ภาคปฏิบติ
                     ั
• คนหาเอกสารไดยากจัง
• ทําไหมคนหาภาพไมได
• เสียงคนหาไดไหม
คุณเคยประกาศเมทาดา
      ให Word หรือสไลดหรือไม
• MS – Office
  – File, Properties..




                                  70
ประโยชนของ Metadata
• เพิ่มประสิทธิภาพการสืบคนเอกสาร
• เปนขอมูลใหกบ Search Engine ตางๆ
                 ั
• การเผยแพรในระบบอินเทอรเน็ต เปนไปอยาง
  รวดเร็ว
• สงขอมูลใหกับซอฟตแวร/ระบบเพื่อ
  ประกอบการใชงาน/สืบคน
• การใชประกอบการวิเคราะห/ประมวลผล
Meta Tags
• Metadata สําหรับการนําเสนอบนเว็บ
• บรรจุไวใน Head
• รูปแบบทั่วไป
  <META NAME=“dataname” CONTENT=“datavalue”>
ตัวอยาง
<head>
 <title>Meta Tags-Metadata Elements</title>
 <meta name="description" content=“meta tags.">
 <meta name="keywords" content="meta data,
 metadata, meta tag, meta-tag, search-engine">
 <meta name="author" content="Keith Brooke">
</head>

           http://www.submitexpress.com/analyzer/
ความสวยงามของเว็บเมทาดาทา
เพิ่มมูลคาใหเว็บดวย OpenURL
<meta name="DC.title" content=“รายละเอียด" />
<meta name="DC.creator" content=“รายละเอียด" />
<meta name="DC.description" content=“รายละเอียด" />
<meta name="DC.keywords" content=“รายละเอียด" />
<meta name="DC.description" content=“รายละเอียด" />
คนหาภาพไมยากดวย Image Metadata

• สนับสนุนระบบคนคืนภาพ และการปองกันลิขสิทธิ์ของภาพ
• Image Metadata ระบบ XMP (eXtensible Metadata
  Platform)
• พัฒนาโดย The Newspaper Association of America
  (NAA) และ The International Press
  Telecommunications Council (IPTC)
• ใชงานไดกบโปรแกรม Adobe PhotoShop และสามารถ
             ั
  นําเสนอขอมูลตางๆ เกี่ยวกับรูปภาพ เชน Title, Author,
  Position, Caption, Copyright, URL, Keyword,
  Categories, Detail of org.
การโอนถาย
Metadata
เสียงก็คนไดนะครับ
        
Metadata ใน Video
ประเด็นลิขสิทธิกสําคัญ
                    ์ ็
• Copy คนอืนมาโดยไมไดขออนุญาต แต
             ่
  เผยแพรในชื่อคนเองและใสสญญา
                             ั
  อนุญาต
• เผยแพรอยางไร ไมใหถกละเมิดลิขสิทธิ์
                        ู
• มีเนื้อหาอยากเผยแพร แตไมอยากตอบ
  ใหเอาไปขาย ทําอยางไรใหงายๆ
Gotoknow.org
ปญหาลิขสิทธิ์ของเมืองไทย
สงวนลิขสิทธิ์ ?
• เมื่อคุณผลิตงานสรางสรรคขึ้นมาชินหนึง ไมวาจะเปนงาน
                                   ้   ่
  เขียน บทเพลง รูปถาย รูปวาด ฯลฯ งานนันจะถูกคุมครอง
                                         ้
  ภายใตกฎหมายลิขสิทธิ์แบบ “สงวนลิขสิทธิ์ 100%” โดย
  อัตโนมัติ
   – ไมวาคุณจะแจงตอทางการหรือไม
   – ไมวาคุณจะแสดงเครื่องหมาย © บนงานของคุณหรือไม
มิติของลิขสิทธิ์
• ผูสรางสรรค                    • ผูใช
   – ตองการประกาศใหชัดเจนวา        – เห็นประกาศที่ชัดเจนของ
     ผลงานของตนอนุญาตให                ลิขสิทธิ์
     ใชไดระดับใด                    – มั่นใจวาผลงานที่นํามาใช
   – ไมตองการจายคาเอกสาร            ไดใชอยางเหมาะสม ถูกตอง
     ประกาศลิขสิทธิ์ใหสํานักงาน        กติกา
     กฎหมาย                           – สืบคนสื่อที่อนุญาตไดงายจาก
   – มีระบบตรวจสอบที่ชัดเจน             อินเทอรเน็ต
   – ไมตองการอนุญาตการขอใช
     ผลงานรายชิ้นทุกกรณี
หนวยงานของทานกําหนดนโยบาย
     การเผยแพรสื่ออยงไร
•   Copyright
•   Public Domain
•   Creative Commons
•   ประเภทเอกสาร
•   รูปแบบการกําหนดสิทธิ์
ครีเอทีฟคอมมอนส
          Creative Commons
• http://creativecommons.org/
• รูปแบบ “สัญญาอนุญาต” (license agreement) ทีทกคน
                                             ่ ุ
  นําไปใชกับงานของตัวเองไดฟรี
• คิดคนโดยองคกรการกุศลชือเดียวกัน
                          ่
• กอตั้งโดยนักกฎหมายและผูเชียวชาญดานคอมพิวเตอรและ
                              ่
  เทคโนโลยีชาวอเมริกนกลุมหนึ่ง นําโดย ลอวเรนซ เลสสิก
                     ั
  (Lawrence Lessig) อาจารยกฎหมายประจํามหาวิทยาลัย
  สแตนฟอรด ผูรณรงคแนวคิด “วัฒนธรรมเสรี” (free culture)
                
เปาหมาย
• การอนุญาตใหคนทั่วโลกสามารถ
   – เผยแพร
   – จัดแสดง
   – ทําซ้ํา
   – โพสงานตาง ๆ ลงในเว็บไซตได
• ตราบใดที่พวกเขาปฏิบัติตามเงื่อนไขที่เจาของลิขสิทธิ์
  เปนผูกําหนด
        
เงื่อนไข
• สัญญาอนุญาตแบบครีเอทีฟคอมมอนสมีเงื่อนไขหลักสี่ขอ
• ผูสรางงานสามารถเลือกใชขอใดขอหนึ่งหรือหลายขอรวมกัน
                              
  ก็ได
   – “ยอมรับสิทธิของผูสราง” (Attribution ) - BY
   – “ไมใชเพื่อการคา” (Noncommercial) - NC
   – “ไมแกไขตนฉบับ” (No Derivative Works) - ND
   – “ใชสัญญาอนุญาตแบบเดียวกัน” (Share Alike) - SA
ยอมรับสิทธิของผูสราง   ไมแกไขตนฉบับ
   (Attribution) - BY    (No Derivative Works)
                         - ND
    ใชสญญาอนุญาต
        ั                ไมใชเพื่อการคา
          แบบเดียวกัน    (Noncommercial) - NC
   (Share Alike) - SA
ผสมผสานกันไดตามตองการ
รูปแบบ
• Human-Readable Common Deed
   – สัญญาฉบับอานงาย สําหรับคนทั่วไป
• Lawyer-Readable Legal Code
   – สัญญาฉบับกฎหมาย สําหรับการนําไปใชในกระบวนการ
     ยุติธรรม เชน เมือเกิดคดีฟองละเมิดลิขสิทธิ์
                      ่
• Machine-Readable Digital Code
  – สัญญาฉบับภาษาคอมพิวเตอร สําหรับใหโปรแกรมทอง
    เว็บตางๆ เชน เสิรชเอ็นจิ้นของกูเกิ้ล “อาน” ออกโดย
                       
    อัตโนมัติ
สราง (cc) เอกสารเว็บ
• เขาเว็บไซต http://creativecommons.org/license/
• เลือกรูปแบบ
สราง (cc) เอกสารเว็บ
• คัดลอก Code ไปแปะในเอกสารเว็บ
PDF Security
Watermark
ฝงลิขสิทธิ์ใน IPTC สิครับ
อยาทําคลังความรูดิจิทัล
เปนคลัง “ขยะดิจิทัล” และ
     “คลังของเถื่อน”
          นะครับ
แหลงขอมูลเพิ่มเติม
•   http://stks.or.th/wiki
•   http://stks.or.th/blog
•   http://stks.or.th/
•   http://slideshare.net/boonlert

More Related Content

What's hot (18)

20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
20080620 E Publishing
20080620 E Publishing20080620 E Publishing
20080620 E Publishing
 
Internet 2000
Internet 2000Internet 2000
Internet 2000
 
20080218 Government Email Service Thaweesak
20080218 Government Email Service Thaweesak20080218 Government Email Service Thaweesak
20080218 Government Email Service Thaweesak
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
E-medical-librarian
E-medical-librarianE-medical-librarian
E-medical-librarian
 
Open Source Reference Manager
Open Source Reference ManagerOpen Source Reference Manager
Open Source Reference Manager
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical Applications
 
Web Standard
Web StandardWeb Standard
Web Standard
 
DSpace & Greenstone
DSpace & GreenstoneDSpace & Greenstone
DSpace & Greenstone
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอที
 
ไอทีกับแน..
ไอทีกับแน..ไอทีกับแน..
ไอทีกับแน..
 
ไอที
ไอทีไอที
ไอที
 
Personal Digital Archive Development
Personal Digital Archive DevelopmentPersonal Digital Archive Development
Personal Digital Archive Development
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
e-Publishing
e-Publishinge-Publishing
e-Publishing
 
Electronic Museum
Electronic MuseumElectronic Museum
Electronic Museum
 
Technology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationTechnology for National Document Preservation
Technology for National Document Preservation
 

Similar to Digital Standard

Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardBoonlert Aroonpiboon
 
ห้องสมุดเปลี่ยนได้ด้วยเทคโนโลยี
ห้องสมุดเปลี่ยนได้ด้วยเทคโนโลยีห้องสมุดเปลี่ยนได้ด้วยเทคโนโลยี
ห้องสมุดเปลี่ยนได้ด้วยเทคโนโลยีBoonlert Aroonpiboon
 
Greenstone from paper to digital collection
Greenstone from paper to digital collectionGreenstone from paper to digital collection
Greenstone from paper to digital collectionBoonlert Aroonpiboon
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลSatapon Yosakonkun
 
การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...
การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...
การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...Satapon Yosakonkun
 
OSS & Freeware เพื่อการศึกษา
OSS & Freeware เพื่อการศึกษาOSS & Freeware เพื่อการศึกษา
OSS & Freeware เพื่อการศึกษาSatapon Yosakonkun
 
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHSOAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHSBoonlert Aroonpiboon
 
การส่งเเสริม OpenOffice.org โดย STKS
การส่งเเสริม OpenOffice.org โดย STKSการส่งเเสริม OpenOffice.org โดย STKS
การส่งเเสริม OpenOffice.org โดย STKSOsdev
 

Similar to Digital Standard (20)

Digital Standard
Digital StandardDigital Standard
Digital Standard
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
ห้องสมุดเปลี่ยนได้ด้วยเทคโนโลยี
ห้องสมุดเปลี่ยนได้ด้วยเทคโนโลยีห้องสมุดเปลี่ยนได้ด้วยเทคโนโลยี
ห้องสมุดเปลี่ยนได้ด้วยเทคโนโลยี
 
Greenstone from paper to digital collection
Greenstone from paper to digital collectionGreenstone from paper to digital collection
Greenstone from paper to digital collection
 
20100923 oss-freeware-ecosystem
20100923 oss-freeware-ecosystem20100923 oss-freeware-ecosystem
20100923 oss-freeware-ecosystem
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
 
Data in Digital Era
Data in Digital EraData in Digital Era
Data in Digital Era
 
การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...
การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...
การเพิ่มประสิทธิภาพและการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Metadata (การจัดทำ ...
 
20110126 oss-freeware-stks
20110126 oss-freeware-stks20110126 oss-freeware-stks
20110126 oss-freeware-stks
 
OSS & Freeware เพื่อการศึกษา
OSS & Freeware เพื่อการศึกษาOSS & Freeware เพื่อการศึกษา
OSS & Freeware เพื่อการศึกษา
 
20080314 Greenstone
20080314 Greenstone20080314 Greenstone
20080314 Greenstone
 
Technology for Digital Library
Technology for Digital LibraryTechnology for Digital Library
Technology for Digital Library
 
Computer System for CIO
Computer System for CIOComputer System for CIO
Computer System for CIO
 
Code of conduct for digital media
Code of conduct for digital mediaCode of conduct for digital media
Code of conduct for digital media
 
oss-freeware-knowledge-collection
oss-freeware-knowledge-collectionoss-freeware-knowledge-collection
oss-freeware-knowledge-collection
 
OSS & Freeware for Library @ Laos
OSS & Freeware for Library @ LaosOSS & Freeware for Library @ Laos
OSS & Freeware for Library @ Laos
 
Greenstone & Dspace
Greenstone & DspaceGreenstone & Dspace
Greenstone & Dspace
 
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHSOAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
 
STKS Open Source & Freeware
STKS Open Source & FreewareSTKS Open Source & Freeware
STKS Open Source & Freeware
 
การส่งเเสริม OpenOffice.org โดย STKS
การส่งเเสริม OpenOffice.org โดย STKSการส่งเเสริม OpenOffice.org โดย STKS
การส่งเเสริม OpenOffice.org โดย STKS
 

More from Boonlert Aroonpiboon

20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4Boonlert Aroonpiboon
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesBoonlert Aroonpiboon
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesBoonlert Aroonpiboon
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Boonlert Aroonpiboon
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandBoonlert Aroonpiboon
 

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
 
Open Digital Education
Open Digital EducationOpen Digital Education
Open Digital Education
 
Data Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in ThailandData Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in Thailand
 
The 21st century-online-media
The 21st century-online-mediaThe 21st century-online-media
The 21st century-online-media
 
20170213 digital-archives
20170213 digital-archives20170213 digital-archives
20170213 digital-archives
 

Digital Standard