SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
1. ความยืดหยุ่นอุปสงค์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ
1.1 ความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราคา Px Qxd
1.2 ความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรายได้ I Qx
d
1.3 ความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อราสินค้าชนิดอื่น หรืออุปสงค์ไขว้ Py Qx
d
2. ความยืดหยุ่นอุปทานต่อราคา Px Qx
S
การวัดความยืดหยุ่น
1.การวัดความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity)
2.การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity)
บทที่ 3 ความยืดหยุ่น
2
1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Ed)
(Price Elasticity of Demand)
นิยาม ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา คือ อัตราส่วนร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ของปริมาณซื้อ ต่อ ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า มีสูตรดังนี้
ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ
ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของราคา
%Qx
%Px
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา =
Ed =
3
การคานวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1. การคานวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity)
21
21
21
21
PxPx
PxPx
QxQx
QxQx
Ed






โดยที่ Ed = ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
Qx1= ปริมาณซื้อเดิมก่อนราคาเปลี่ยนแปลง Qx2= ปริมาณซื้อใหม่หลังราคาเปลี่ยนแปลง
Px1 = ราคาเดิม Px2 = ราคาใหม่
∆Px≥10%
∆Px↑> 10% ∆Px↓> 10%
การคานวณค่าความยืดหยุ่น ณ ช่วงใดช่วงหนึ่งหรือระหว่างจุด 2 จุดบนเส้นอุปสงค์เส้นเดียวกัน
ใช้กรณีที่ราคามีการเปลี่ยนแปลงมาก
4
การคานวณหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบช่วง
จากจุด A ไปจุด B บนเส้นอุปสงค์
D
A
B
ราคา
Px1 = 15
O
Qx1=100
1315
1315
120100
120100





dE
2
28
220
20



11
14

ปริมาณผลผลิต
21
21
21
21
PxPx
PxPx
QxQx
QxQx
Ed






Px2 = 13
Qx2=120
27.1
Px  %27.1 %1 Qx
5
การคานวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ)
2. การคานวณค่าความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity):
1
1
Qx
Px
Px
Qx
Ed 



โดยที่ Ed = ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
Qx = ส่วนเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ(Qx2-Qx1) Px = ส่วนเปลี่ยนแปลงของราคา (Px2-Px1)
Qx1 = ปริมาณซื้อเดิม Px1 = ราคาเดิม
∆Px<10%
∆Px↑< 10%
การคานวณค่าความยืดหยุ่นจากจุดจุดเดียวบนเส้นอุปสงค์
ใช้กรณีที่ราคามีการเปลี่ยนแปลงน้อย
∆Px↑< 10%
6
การคานวณหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบจุด
ณ จุด A บนเส้นอุปสงค์จากรูปด้านล่าง
D
B
A
ราคา
O
Qx2=700
Px1 100
1000 = Qx1
1000
100
100105
1000700



dE
1000
100
5
300



ปริมาณผลผลิต
Px
1
1
Qx
Px
Px
Qx
Ed 



1.060
6
%1 Qx  %6
Px2 105
Qx2-Qx1
Px2-Px1
7
ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1. อุปสงค์ไม่มีความยืดหยุ่น หรือค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์ (Ed=0)
P1
P3
Q
P2
D
ราคา
O ปริมาณผลผลิตQQ
เช่น โลงศพ
A
B
C
ไม่ว่าราคาจะสูงขึ้นหรือลดลงก็ปริมาณซื้อจะ
ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อราคาเปลี่ยนแปลง
สินค้าที่ Ed=0 ได้แก่ สินค้าที่มีความจาเป็นมากที่สุด
เส้น D จะตั้งฉากแกน X
ยารักษาโรค
%Qx
%Px
8
2. อุปสงค์มีความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง(Ed<1) เช่น -0.33 , -0.7
P1
Q2
P2
D
ราคา
สินค้าที่มีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง
ได้แก่ สินค้าที่มีความจาเป็นต่อการ
ดารงชีวิตของมนุษย์ทั่วไป
ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
( ต่อ )
B
A
Q1
O ปริมาณผลผลิต
%Q  %P
5% 10%
เช่น อาหาร น้ามัน
%Qx
%Px
9
ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
( ต่อ )
ปริมาณผลผลิต
3. อุปสงค์มีความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง (Ed= -1)
P1
Q2
P2
D
ราคา
เส้นอุปสงค์มีลักษณะเป็นเส้นโค้ง
แบบ Rectangular Hyperbolar
B
A
Q1
O
%Q = %P
10% 10%
%Qx
%Px
10
4. อุปสงค์มีความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง(Ed>1) เช่น -1.24 , -6
P1
Q2
P2
D
ราคา
ปริมาณผลผลิต
สินค้าที่มีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
ได้แก่ สินค้าประเภทฟุ่ มเฟือย
ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
( ต่อ )
B
A
Q1
O
%Q  %P
20% 10%
เช่น เครื่องประดับ เครื่องสาอางค์
%Qx
%Px
11
5. อุปสงค์ไม่มีความยืดหยุ่นสมบูรณ์หรือเป็นอินฟินิตี้หรืออสงไขย ( Ed =  )
ราคา
ปริมาณผลผลิต
สินค้าที่ราคาไม่เปลี่ยนแปลงแม้ปริมาณ
ซื้อสินค้าจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรก็ตาม
ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
( ต่อ )
D
O
P
สินค้าที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์
เช่น สินค้าเกษตร เป็นต้น
12
2. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Ei)
(Income Elasticity of Demand)
นิยาม ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ คือ อัตราส่วนร้อยละการ
เปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ ต่อ ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของรายได้ มีสูตรดังนี้
ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ
ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของรายได้
%Qx
%I
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ =
Ei =
13
การคานวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
1. การคานวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) :
21
21
21
21
II
II
QxQx
QxQx
Ei






โดยที่ Ei = ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ Qx = ส่วนเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ
Px = ส่วนเปลี่ยนแปลงของราคา Qx1= ปริมาณซื้อเดิมก่อนราคาเปลี่ยนแปลง
Qx2= ปริมาณซื้อใหม่หลังราคาเปลี่ยนแปลง Px1 = ราคาเดิม Px2 = ราคาใหม่
2. การคานวณค่าความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity):
1
1
Qx
I
I
Qx
Ei 



∆I ≥ 10%
∆I < 10%
14
 กรณีสินค้าปกติ (Normal Goods) เช่น ก๋วยเตี๋ยว
 กรณีสินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods)เช่น บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป
การอ่านค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
ค่าสัมประสิทธิ์ความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรายได้มีเครื่องหมายเป็น +
ปริมาณสินค้า X จะเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดี่ยวกับรายได้
ปริมาณสินค้า X จะเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้ามกับรายได้
ค่าสัมประสิทธิ์ความยืดหยุ่นอุปสงค์ต่อรายได้มีเครื่องหมายเป็น -
15
3. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น
(Elasticity of Cross Demand)
%QX
%PY
นิยาม ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายราคาสินค้าอื่น คือ อัตราส่วนร้อยละการ
เปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อสินค้า X ต่อ ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า
Y มีสูตรดังนี้
ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อสินค้า X
ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า Y
Ec =
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อ =
16
การคานวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น
1. การคานวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) :
21
21
21
21
yy
yy
xx
xx
c
PP
PP
QQ
QQ
E






โดยที่ Ec = ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา Qx = ส่วนเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อสินค้า X (Qx2-Qx1)
Py = ส่วนเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า y(Py2-Py1) Qx1= ปริมาณซื้อสินค้า X เดิมก่อนราคาสินค้า Y เปลี่ยน
Qx2 = ปริมาณซื้อสินค้า X ใหม่หลังราคาสินค้า Y เปลี่ยน Py1 = ราคาสินค้า Y เดิม Py2 = ราคาสินค้า Y ใหม่
2. การคานวณค่าความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity):
1
1
x
y
y
x
c
Q
P
P
Q
E 



∆Py≥10
%
∆Py<10%
กรณีสินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ (Substitution Goods) เช่น กาแฟ กับชา
กรณีสินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Complementary Goods)
เช่น รถยนต์กับน้ามัน
หากมีค่าความยืดหยุ่นมากเท่าไหร่ก็แสดงว่าสินค้า 2 ชนิดนั้น
ใช้ทดแทนกันได้อย่างสมบูรณ์มากเท่านั้น
ค่าสัมบูรณ์ของความยืดหยุ่นหากมีค่ามากเท่าไร
แสดงว่าสินค้า2ชนิดใช้ประกอบกันมากเท่านั้น
ค่าสัมประสิทธิ์ความยืดหยุ่นไขว้มีเครื่องหมายเป็น +
ปริมาณสินค้า X จะเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดี่ยวกับราคาสินค้า Y
ค่าสัมประสิทธิ์ความยืดหยุ่นไขว้มีเครื่องหมายเป็น-
ปริมาณสินค้า X จะเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้ามกับราคาสินค้า Y
18
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es)
(Price Elasticity of Supply)
นิยาม ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา คือ อัตราส่วนร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ของปริมาณขาย ต่อ ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของราคา มีสูตรดังนี้
ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของปริมาณขาย
ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของราคา
%Qx
%Px
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา =
Es =
19
การคานวณค่าความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
1. การคานวณค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity) :
21
21
21
21
PxPx
PxPx
QxQx
QxQx
Es






โดยที่ Es = ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ Qx = ส่วนเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ
Px = ส่วนเปลี่ยนแปลงของราคา Qx1= ปริมาณขายก่อนเปลี่ยนแปลงราคา
Qx2= ปริมาณขายหลังเปลี่ยนแปลงราคา Px1 = ราคาเดิม Px2 = ราคาใหม่
2. การคานวณค่าความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity):
1
1
Qx
Px
Px
Qx
Es 



∆Px≥10%
∆ Px <10%
20
ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
1. อุปทานไม่มีความยืดหยุ่น หรือค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์ (Es=0)
P1
P3
Q
P2
S
ราคา
ปริมาณผลผลิต
เส้นอุปทานมีความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
(Perfectly Inelasticity Supply) แสดงว่าจานวนขาย
สินค้าจะไม่เปลี่ยนแปลงไม่ว่าราคาจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง
O
A
B
Q
C
%Qx
%Px
เส้นอุปทานจะมีลักษณะตั้งฉากกับแกน X
สินค้าที่ผลิตเพิ่มไม่ได้ เช่น วัตถุโบราณ
21
2. อุปทานมีความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง(Es<1)
Q1
P2
S
ราคา
ปริมาณ
ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
( ต่อ )
B
A
Q2
O C
%Q  %P
5% 10%
เส้นอุปทานมีความยืดหยุ่นน้อย แสดงว่าจานวนขาย
สินค้าจะเปลี่ยนแปลงน้อยกว่าราคา
%Qx
%Px
สินค้าผลิตได้ยาก เช่น รถยนต์
22
3. อุปทานมีความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง (Es=1)
P1
Q1
P2
S
ราคา
ปริมาณ
ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
( ต่อ )
B
A
Q2
O
%Q = %P
10% 10%
%Qx
%Px
23
4. อุปทานมีความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง (Es>1)
P1
Q1
P2
S
ราคา
ปริมาณ
ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
( ต่อ )
B
A
Q2OC
%Q  %P
30% 10%
เส้นอุปทานมีความยืดหยุ่นมาก แสดงว่า %
ปริมาณขายสินค้าจะเปลี่ยนแปลงมากกว่า %
การเปลี่ยนแปลราคา
สินค้าผลิตได้ง่าย
%Qx
%Px
เช่น รถจักรยาน
24
5. อุปทานมีความยืดหยุ่นสมบูรณ์หรือเป็นอินฟินิตี้หรืออสงไขย(  )
ปริมาณ
หรือถ้าราคาสินค้าอยู่ ณ ระดับราคา
เดิมปริมาณขายจะมีไม่จากัด แต่ถ้า
ราคาลดลงแม้เพียงนิดเดียว สินค้าจะ
ไม่มีขายเลยในตลาด
ประเภทของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
( ต่อ )
S
ราคา
O
P
ราคาไม่เปลี่ยนแปลงแม้ปริมาณขายสินค้าจะเปลี่ยนแปลงไป
25
ประโยชน์ของความยืดหยุ่น
1. วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการกาหนดราคาขั้นต่า
2. วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการกาหนดราคาขั้นสูง
3. วิเคราะห์ปัญหาการเก็บภาษีและการผลักภาระภาษี
4. วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
5. วิเคราะห์การกาหนดราคาขายที่แตกต่างกัน
26
การแทรกแซงราคาโดยรัฐบาล
1. การประกันราคาขั้นต่า (Price Support)
มาตรการที่รัฐช่วยเหลือผู้ผลิต
ราคาซื้อขายต่าเกินไป
มี 2 วิธี
1.1 โดยรัฐบาลรับซื้ออุปทานส่วนเกิน
1.2 โดยรัฐบาลจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่เกษตรกร
27
1.1 โดยรัฐบาลรับซื้ออุปทานส่วนเกิน
ราคาสินค้า X (PX ) (บาท/ตัน)
15,300 Supply :S
14,300 E
Demand : D
ปริมาณ QX (ล้านตัน)
7 15 17 20 27
28
1.1 โดยรัฐบาลรับซื้ออุปทานส่วนเกิน สินค้าจาเป็น
ราคาสินค้า X (PX ) (บาท/ตัน)
15,300 Supply :S
14,300 E
Demand : D
ปริมาณ QX (ล้านตัน)
7 15 17 20 27
29
1.1 โดยรัฐบาลรับซื้ออุปทานส่วนเกิน สินค้าฟุ่ มเฟือย
ราคาสินค้า X (PX ) (บาท/ตัน)
15,300 Supply :S
14,300 E
Demand : D
ปริมาณ QX (ล้านตัน)
7 15 17 20 27
30
ราคาสินค้า X (PX ) (บาท/ตัน)
15,300 Supply :S
14,300 E
Demand : D
ปริมาณ QX (ล้านตัน)
7 15 17 20 27
1.2 โดยรัฐบาลจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่เกษตรกร
31
ราคาสินค้า X (PX ) (บาท/ตัน)
Supply :S
14,300 E
13,300 Demand : D
ปริมาณ QX (ล้านตัน)
15 20 25
2. วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการกาหนดราคาขั้นสูง
32
การเก็บภาษีสินค้าและการผลักภาระภาษี
1. การเก็บภาษีจากผู้ขาย
2. การเก็บภาษีจากผู้ซื้อ
33
1. การเก็บภาษีจากผู้ขาย
ปริมาณผลผลิต (กิโลกรัม)
40
800
42
D1
ราคา บาท/กิโลกรัม
E0
1000O
S
38
S’
E1
43
900
E2
D2 สินค้าจาเป็น
D3 สินค้าฟุ่มเพือย
E3
500
41
D4 สินค้าจาเป็นที่สุด44

More Related Content

What's hot

Unit3 elasticity
Unit3 elasticityUnit3 elasticity
Unit3 elasticitysavinee
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supplybnongluk
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...VolunteerCharmSchool
 
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐtumetr1
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีJariya Jaiyot
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติPreeyapat Lengrabam
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีHahah Cake
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)wiriya kosit
 

What's hot (20)

Unit3 elasticity
Unit3 elasticityUnit3 elasticity
Unit3 elasticity
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supply
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
 
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดี
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 

More from bnongluk

More from bnongluk (6)

Chp1
Chp1Chp1
Chp1
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticity
 
Chp1
Chp1Chp1
Chp1
 
Chp1
Chp1Chp1
Chp1
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticity
 
Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supply
 

Elasticity