Anzeige
Anzeige

Más contenido relacionado

Presentaciones para ti(19)

Más de Mint NutniCha(20)

Anzeige

6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน

  1. โดย คุณฆนรุจ มิ่งเมธาพร การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวดยยุมชุน โครงการอบรมหลักสูตรแหล่งท่องเที่ยวเชิง เกษตรและการจัดการ
  2. การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
  3. การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรกจนถึงฉบับที่ 7 และ 8 เน้นการ พัฒนาในเรื่องของเศรษฐกิจเป็นหลัก ตั้งแต่ในปี พ.ศ. 2553 จึงมีการพูดถึงการพัฒนาทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมให้พัฒนาไปพร้อมๆ กัน มีเพียงไม่ถึง 5% ของประเทศทั่วโลกที่เน้นเรื่องนี้อย่างจริงใจ เพราะในที่สุดแล้ว การวัดความเจริญของประเทศ คือการวัดที่ GDP หรือ ค่าความร่ารวยของประเทศ
  4. การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ถูกนามา พูดเป็นกระแสมากว่าเกือบ 25 ปี แล้ว การท่องเที่ยวที่พัฒนาแล้วจะไม่เน้น เรื่องของการมีรายได้เป็นหลัก แต่ ท่องเที่ยวนั้นจะต้องให้ผลตอบแทน ของสังคม ให้ผลตอบแทนกับคน รอบข้างของแหล่งท่องเที่ยว และให้ ผลตอบแทนต่อสิ่งแวดล้อมที่ดี
  5. หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จะต้องไม่ ต่อต้านการเจริญเติบโตและการพัฒนา แต่ต้องเน้นข้อจากัดของการ เจริญเติบโต การท่องเที่ยวจะต้องอยู่กึ่งกลาง ระหว่างการพัฒนาและการอนุรักษ์ ที่ประเทศไทยไม่ประสบความสาเร็จ นั้นเนื่องจากการไม่นาเอา Limitation มาคานึงถึงข้อจากัด ทางสิ่งแวดล้อม ทางสังคม
  6. หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จะต้องจัดการ และวางแผนที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยง ปัญหาที่เกิดขึ้นต่อธรรมชาติและ ทรัพยากรมนุษย์ เป็นการกาหนดข้อจากัดที่เกี่ยวข้องกับ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ว่าทา อย่างไรที่การท่องเที่ยวจะไปเข้าไป เบียดบังคนท้องถิ่น หรือ สิ่งแวดล้อม ในบริเวณนั้นจนมากเกินไป
  7. หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จะต้อง คานึงถึงผลในระยะยาวมากกว่าระยะสั้น ประเทศไทยมักจะนาการท่องเที่ยวเป็น เครื่องมือในการสร้างรายได้ เป็นการ เน้นปริมาณที่เป็นนักท่องเที่ยวกระแส หลัก หรือ ที่เป็น Mass Tourism ได้ผลประโยชน์ในระยะสั้นแต่มี ผลกระทบในระยะยาว
  8. หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนจะต้องไม่มุ่งเน้นการจัดการ สิ่งแวดล้อมเพียงอย่างเดียว ไม่ใช่แค่ Green Tourism การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนแล้วจะต้อง ประกอบด้วยทั้งเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยวทุกประเภทเป็นการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้
  9. หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ควรให้ความสาคัญกับความ ต้องการที่ทาให้มนุษย์เกิด ความพึงพอใจ แต่ต้องอยู่ ภายใต้ความเสมอภาคและ ความยุติธรรมทั้งต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม เช่น ไม่ควรมีการพยายาม เอาชนะธรรมชาติ และระบบ นิเวศ
  10. สถานการณ์โลก ประเทศ และชุมชนท้องถิ่น ในปีพ.ศ. 2535 มีการประชุม Earth Summit ที่นครริโอเดจาเน โร ประเทศบราซิล ซึ่งมีการพูดถึงการ พัฒนาอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวในชุมชนถูกผลักดันให้ เกิดขึ้นภายในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2537 พื้นที่แรกที่ทางานคือ เกาะยาว น้อย จังหวัดพังงา
  11. สถานการณ์โลก ประเทศ และชุมชนท้องถิ่น ปี พ.ศ. 2541 ที่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ และ ททท. ถูกเป็นองค์กรหลักที่ถูก คาดหวังให้เป็นตัวกระตุ้นเศรษฐกิจเข้า ประเทศ รัฐบาลใช้การท่องเที่ยวเป็น เครื่องมือในการสร้างรายได้ ปี พ.ศ. 2550 เกิดปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงจากพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว และเริ่มมีการประชาสัมพันธ์ โฮมสเตย์ขึ้นมา
  12. สถานการณ์โลก ประเทศ และชุมชนท้องถิ่น นโยบายอีกอย่างหนึ่งที่ออกมาจาก ททท. เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน คือ Green Concept เป็นนโยบายที่เน้นไปทาง เรื่องของสิ่งแวดล้อม Green Service, Green Community, Green Activity, Green Attraction, Green Logistic, Green heart, Green Plus
  13. CSR Map เป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจาก EU เป็นการร่วมมือกับ Agency ต่างชาติที่เป็นสมาชิก EU ทาวิจัยที่ EU ก่อน และดูว่าการ ท่องเที่ยวแบบชุมชนมีคนสนใจมากน้อย เพียงใด คาตอบพบว่า 80% ของคน ส่วนใหญ่สนใจ แต่ปัญหาคือ ไม่รู้จัก แหล่งท่องเที่ยวแบบนี้
  14. การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism) เป็นหนึ่งตัวอย่างของการคานึงถึงทุก ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน แตกต่างจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การ ท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ รวมทั้งการ ท่องเที่ยวรูปแบบอื่นๆ การท่องเที่ยวโดยชุมชนจะเป็น Process หรือ กระบวนการ
  15. การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism) การท่องเที่ยวโดยชุมชนจะเน้นการ บริหารจัดการว่าชุมชนต้องมาเป็นหลัก ในการบริหารจัดการ ชุมชนจะต้องสามารถมีสิทธิ์มีเสียงได้ ว่าช่วงระยะเวลาไหนที่จะสามารถ ให้บริการการท่องเที่ยว สถานที่หรือเขตไหนที่เป็นเขตอนุรักษ์ เขตหวงห้าม ชุมชนจะมีสิทธิ์ในการ บริหารจัดการ
  16. การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ 1.ที่พัก ที่จะเป็นในรูปแบบไหนก็ได้ แต่สิ่งที่สาคัญคือ คนในท้องถิ่นจะต้อง เข้ามามีส่วนในการบริหารจัดการและ เกิดการกระจายรายได้ให้แก่คนใน ชุมชน 2.อาหารท้องถิ่น ชาวบ้านก็ต้องนา อาหารท้องถิ่นมาให้นักท่องเที่ยวกินแต่ ต้องปรับรสชาติให้นักท่องเที่ยวสามารถ ทานได้โดยให้เสน่ห์นั้นๆคงอยู่
  17. การท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ 3.กิจกรรมท่องเที่ยว จะต้องอยู่ บนฐานของวัฒนธรรมและ ทรัพยากรในชุมชน หลากหลาย แหล่งท่องเที่ยวมีกิจกรรมที่ แตกต่างกัน 4.มัคคุเทศก์ท้องถิ่น จะต้องมี การส่งเสริมให้ชุมชนลุกขึ้นมา นาเสนอชุมชนของตนเองให้ได้
  18. ความแตกต่างระหว่างการท่องเที่ยวชุมชนและการ ท่องเที่ยวโดยชุมชน การท่องเที่ยวชุมชน การท่องเที่ยวโดยชุมชน มีแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงาม มี สถานที่ถ่ายรูป มีของที่ระลึก ชุมชน เป็นผู้ถูกท่องเที่ยว ไม่สามารถ กาหนดกฎเกณฑ์สิ่งใดได้เลย ชุมชนจะเป็นผู้กาหนดในทุกๆเรื่อง กาหนดการบริหารจัดการ กาหนด ราคา กาหนดโปรแกรมท่องเที่ยว กิจกรรมท่องเที่ยว หรือกาหนดกฎ ข้อระเบียบบังคับต่างๆด้วย ซึ่งการ กาหนดนี้จะเป็นเครื่องมือในการ กลั่นกรองนักท่องเที่ยวโดย อัตโนมัติ
  19. เป้ าหมายของการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อพัฒนาคนและการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนระหว่างคนต่าง วัฒนธรรม ไม่ใช่ให้นักท่องเที่ยวมาเรียนรู้ท้องถิ่นเพียงอย่าง เดียว คนในชุมชนท้องถิ่นก็ต้องเรียนรู้นักท่องเที่ยวด้วย การฟื้ นฟูวัฒนธรรม การดูแลฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายได้เสริม
Anzeige