SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 33
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การวิเคราะห์
ต้นทุน ปริมาณ
และกําไร
บทที่
ต้นทุนตามลักษณะพฤติกรรม แสดงให้เห็นว่าต้นทุนจะได้รับผลกระทบ
อย่างไร ถ้ากิจกรรมการดําเนินงานของธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงไป
แนวคิดต้นทุนตามพฤติกรรมจะทําให้ทราบว่าการขายสินค้าแต่ละหน่วย
หรือการให้บริการในแต่ละครั้งมีกําไรส่วนเกินเท่ากับเท่าไหร่ และ
แนวคิดกําไรส่วนเกินจะถูกนําไปประยุกต์ใช้เพื่อการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
ในการดําเนินงานและการทํากําไรตามเป้าหมายที่ต้องการต่อไปการ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ที่มีต่อกันระหว่างต้นทุนกิจกรรมการดําเนินงาน
และผลการดําเนินงานที่จะเกิดขึ้นในลักษณะดังกล่าว เป็นการศึกษา
ทฤษฎีที่เรียกกันทั่วไปว่า การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ และกําไร
จุดประสงค์หลักในการเรียนรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ และกําไร
วิธีการจําแนกต้นทุนรวมตามแนวคิดพฤติกรรมต้นทุน
• ลําดับแรกต้องระบุต้นทุนรวมหรือต้นทุนผสมแต่ละรายการ
ให้ได้ว่าเป็นต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่จํานวนเท่าใด
• วิธีการที่นํามาใช้กันโดยปกติทั่วไปเพื่อการวิเคราะห์ต้นทุน
ในอดีต ได้แก่ วิธีสูง-ตํ่า และวิธีกําลังสองน้อยที่สุด
วิธีสูง – ตํ่า (High – Low Method)
ตัวอย่างที่ 1
สูตรคํานวณ ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย (ค่าความชัน)
สูตรคํานวณ ต้นทุนคงที่จากสมการต้นทุนรวม
วิธีกําลังสองน้อยที่สุด (Least – Squares Method)
03 ma
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
(Break – Even Point Analysis)
จุดคุ้มทุน คือระดับของยอดขายที่ทําให้กิจการ
ไม่เกิดผลกําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานจุดคุ้มทุนสามารถ
แสดงได้ในลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นปริมาณ
การขาย (หน่วย) ณ จุดคุ้มทุน หรือยอดขาย (จํานวนเงิน)
ณ จุดคุ้มทุน
งบการเงินนี้มีรูปแบบที่แตกต่างไปจากงบกําไรขาดทุนที่ใช้ในทาง
บัญชีการเงิน ดังนี้
1. งบกําไรขาดทุนแสดงกําไรส่วนเกินนั้น จะรายงานโดยจําแนก
ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเป็น 2 ส่วน คือ ต้นทุนผันแปร และต้นทุน
คงที่
2. การรายงานให้ทราบถึงกําไรส่วนเกินนั้น จะต้องนํายอดขายหรือ
รายได้จากการขายหักด้วยต้นทุนผันแปร
รูปแบบของการจัดทํางบกําไรขาดทุนแสดงกําไรส่วนเกินใน
ลักษณะดังกล่าวนี้ ก่อให้เกิดประโยชน์ในการนํามาใช้วิเคราะห์หา
จุดคุ้มทุนหรือการวางแผนกําไรในการดําเนินงานได้
งบกําไรขาดทุนแสดงกําไรส่วนเกิน
ตัวอย่างที่ 3
สูตรคํานวณ กําไรส่วนเกินต่อหน่วย
สูตรคํานวณ หน่วยขาย ณ จุดคุ้มทุน
สูตรคํานวณ อัตรากําไรส่วนเกิน
สูตรคํานวณ ยอดขาย ณ จุดคุ้มทุน โดยอัตรากําไรส่วนเกิน
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในต้นทุนคงที่
(Effect of Changes in Fixed Costs)
ภาพที่ 3.1 ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงต้นทุนคงที่
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในต้นทุนผันแปรต่อหน่วย
(Effect of Changes in Unit Variable Costs)
ภาพที่ 3.2 ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงต้นทุนผันแปรต่อหน่วย
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงในราคาขายต่อหน่วย
(Effect of Changes in the Unit Selling Price)
ภาพที่ 3.3 ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงราคาขาย
สูตรคํานวณหากําไรก่อนภาษี
การประยุกต์ใช้แนวคิดต้นทุน ปริมาณ กําไร
สูตรคํานวณ หาหน่วยผลิตและขายเพื่อให้มีกําไรตามเป้าหมาย
ตัวอย่างที่ 10
ตัวอย่างที่ 11
สูตรคํานวณ ยอดขายเพื่อให้มีกําไรตามเป้าหมาย
ส่วนเกินของความปลอดภัย (Margin of Safety)
• จํานวนหน่วยส่วนเกินของความปลอดภัย
= จํานวนหน่วยที่คาดการณ์ - จํานวนหน่วย ณ จุดคุ้มทุน
• จํานวนเงินส่วนเกินของความปลอดภัย
= ยอดขายที่คาดการณ์ - ยอดขาย ณ จุดคุ้มทุน
• อัตราส่วนเกินของความปลอดภัย
= (ยอดขายที่คาดการณ์ - ยอดขายที่คุ้มทุน) × 100
ยอดขายที่คาดการณ์
• อัตราส่วนเกินของความปลอดภัย
= (หน่วยขายที่คาดการณ์ - หน่วยขายที่คุ้มทุน) × 100
หน่วยขายที่คาดการณ์
• ส่วนเกินของความปลอดภัย (หน่วย)
= หน่วยขายที่คาดการณ์ - หน่วยขาย ณ จุดคุ้มทุน
• ส่วนเกินของความปลอดภัย (บาท)
= ยอดขายที่คาดการณ์ - ยอดขาย ณ จุดคุ้มทุน
การคํานวณหาจุดคุ้มทุนของผลิตภัณฑ์หลายชนิด
• ข้อสมมติฐานที่สําคัญในกรณีผลิตภัณฑ์หลายชนิด คือ จะต้อง
ทราบถึงส่วนผสมการขายของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดที่วางแผนงาน
ไว้ในงวดเวลาหนึ่งๆ
• ส่วนผสมการขาย (Sales Mix) คือ สัดส่วนของปริมาณการขาย
สําหรับผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายของกิจการ
• การวิเคราะห์ CVP ของผลิตภัณฑ์หลายชนิด จะพิจารณากลุ่ม
ผลิตภัณฑ์ผสมในลักษณะที่เป็นผลิตภัณฑ์เพียงหนึ่งหน่วย
ตัวอย่างที่ 16
03 ma
03 ma
สูตรคํานวณ กําไรส่วนเกินต่อหน่วยของกลุ่มผลิตภัณฑ์ผสม
สูตรคํานวณ อัตรากําไรส่วนเกินของกลุ่มผลิตภัณฑ์ผสม
สูตรคํานวณ จุดคุ้มทุนเป็นจํานวนหน่วยหรือเป็นจํานวนเงิน
ข้อสมมติฐานของการวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กําไร
1. ราคาขายต่อหน่วย ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย และต้นทุนคงที่รวม จะมีค่าคงที่
ในงวดเวลาหนึ่งๆ ที่ต้องการวิเคราะห์
2. ต้นทุนที่เกิดขึ้น จะต้องสามารถจําแนกได้เป็นต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร
เท่านั้น
3. ยอดขายรวมและต้นทุนรวม สามารถแสดงในลักษณะที่เป็นเส้นตรงได้
4. ปริมาณการผลิตและปริมาณการขายมีจํานวนเท่ากัน หรือไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงในปริมาณสินค้าคงเหลือในระหว่างงวด เพื่อลดผลกระทบ
ของการไหลต้นทุนที่เกิดขึ้นในหนึ่งไปยังอีกงวดเวลาหนึ่ง
5. ช่วงที่มีความหมายของการดําเนินงานที่นําข้อมูลมาวิเคราะห์นั้น เป็น
สภาวการณ์ในช่วงปกติ และภายในช่วงที่มีความหมายของระดับกิจกรรม
การดําเนินงานโดยปกตินั้น ประสิทธิภาพของการดําเนินงานนั้นไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง
6. ถ้าช่วงที่มีความหมายของระดับกิจกรรมการดําเนินงานในสภาวการณ์
ปกติ มีการเปลี่ยนแปลง จําเป็ นที่จะต้องทําการจัดประเภทต้นทุน
บางรายการเสียใหม่ให้เหมาะสม
7. ส่วนผสมการขายจะต้องมีค่าคงที่

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารYeah Pitloke
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าtumetr1
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 

Was ist angesagt? (20)

การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
07 ma
07 ma07 ma
07 ma
 
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมแรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
06 ma
06 ma06 ma
06 ma
 
สมดุลกล2
สมดุลกล2สมดุลกล2
สมดุลกล2
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 

Ähnlich wie 03 ma (12)

Gamecost
GamecostGamecost
Gamecost
 
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfการบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
 
Managerial Accounting
Managerial AccountingManagerial Accounting
Managerial Accounting
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
01
0101
01
 
Peter drucker
Peter druckerPeter drucker
Peter drucker
 
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆคำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
คำถามสัมภาษณ์ที่โดนอาจารย์แก้ๆๆๆ
 
9789740330981
97897403309819789740330981
9789740330981
 
Value chain analysis
Value chain analysisValue chain analysis
Value chain analysis
 
Introgecon
IntrogeconIntrogecon
Introgecon
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 

03 ma