Anzeige

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย

Faculty of Education, Khon Kaen University
14. Jul 2012
Anzeige

Más contenido relacionado

Presentaciones para ti(14)

Similar a ภารกิจระดับครูผู้ช่วย(20)

Anzeige

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย

  1. ภารกิจระดับ ครูผ้ ูช่วย
  2. ห้ องเรี ยนที่ 1
  3. ภารกิจที่ 1 ให้ ท่านวิเคราะห์ วิธีการจัดการเรียนรู้ของครู แต่ ละคนว่ าอยู่ใน กระบวนทัศน์ การออกแบบการสอนใดและมีพืนฐานมาจาก ้ ทฤษฎีการเรียนรู้ใดบ้ าง พร้ อมทังอธิบายเหตุผล ้
  4. ครูบุญมี เป็ นครูสอนวิชาภาษาไทย ในการสอนแต่ละชัวโมงครูจะใช้ วิธีการบรรยาย ่ ส่วนไหนที่สาคัญก็จะเน้ นย ้าให้ นกเรี ยนจดบันทึกและท่องซ ้าหลายครัง ทุกวัน ั ้ ครูจะให้ นกเรี ยนท่องคาศัพท์วนละ 5 คา พร้ อมทังคัดลายมือมาส่ง ั ั ้ สื่อที่ครูใช้ ประจาคือ บทเรี ยนโปรแกรมและชุดการสอน นอกจากนี ้เมื่อเรี ยนจบแต่ละบทครูบญมีก็จะทาการสอบเก็บคะแนนถ้ า ุ นักเรี ยนสอบตกก็จะให้ สอบใหม่จนกว่าจะผ่านตามเกณฑ์
  5. การจัดการเรียนรู้ของครูบุญมี •ครูใช้ วิธีการบรรยายความรู้ให้ นกเรี ยน ั •ครูเน้ นย ้าให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้แบบท่องจาและบันทึกคาศัพท์หลายๆครังโดยที่ผ้ เู รี ยน ้ ไม่ได้ สร้ างองค์ความรู้ตางๆ ขึ ้นมาด้ วยตนเอง ่ •ครูเป็ นผู้ถ่ายทอด บรรยายและปอนความรู้ ้ เป็ นการจัดการเรี ยนรู้ ตามกระบวน ทังหมดให้ ผ้ เู รี ยน ้ ทัศน์ ท่ เน้ นครู เป็ นศูนย์ กลาง ี •ผู้ เรี ยนมีหน้ าที่เพียงทาตามคาสังของครู ่ เพื่อให้ เกิดกระบวนการเรี ยนรู้ตามที่ครูต้องการ •มุ้ งเน้ นให้ ผ้ เู รี ยนจดจาความรู้ได้ ในปริมาณมากที่สด ุ มีพนฐานมาจาก ื้ •บทบาทของผู้ เรี ยนคือเป็ นผู้รับสารสนเทศ ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม •บทบาทของครู คือเป็ นผู้นาเสนอข้ อมูลสารสนเทศ
  6. ครูบุญช่ วย เป็ นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ในการสอนแต่ละครังครูจะนาเข้ าสูบทเรี ยนโดยเชื่อมโยง ้ ่ เนื ้อหาที่เรี ยนกับประสบการณ์เดิมของผู้เรี ยน เช่นการใช้ คาถาม การยกตัวอย่างเหตุการณ์ ในชีวิตประจาวัน ข่าวสารต่าง ๆเป็ นต้ น หลักจากนันครูจะแบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุมแล้ ว ้ ่ มอบสถานการณ์ปัญหาหรื อภารกิจการเรี ยนรู้ให้ ผ้ เู รี ยนทุก ๆ กลุม นอกจากนี ้ครูยงเตรี ยม ่ ั แหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือ วีดิทศน์ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้ อง ฯลฯเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนค้ นหา ั คาตอบ และร่ วมมือกันเรี ยนรู้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การลงมือทดลองเพื่อ ทดสอบแนวคิดของกลุม โดยมีครูเป็ นผู้ให้ คาแนะนา หากพบว่ามีผ้ เู รี ยนคนใดหรื อกลุมใด ่ ่ เข้ าคลาดเคลื่อนครูก็จะเข้ าไปอธิบายและกระตุ้นให้ คิด หลังจากได้ คาตอบแล้ วทุกกลุมก็ ่ จะนาเสนอแนวคิดความ และร่ วมกับสรุปบทเรี ยนเป็ นความเข้ าใจของตนเอง
  7. การจัดการเรียนรู้ของครู บุญช่ วย •ครูสร้ างองค์ความรู้ใหม่โดยอาศัยการเชื่อมโยงกับความรู้เดิม •ครูชี ้ให้ เห็นตัวอย่างชัดเจนจากสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน ซึงเป็ น ่ แหล่งเรี ยนรู้ที่สาคัญ •นักเรี ยนได้ ลงมือปฏิบติการทดลองด้ วยตนเอง เพื่อให้ เห็นความรู้ ั •นักเรี ยนได้ เรี ยนรู้โดยใช้ กระบวนการกลุมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ่ •ครูเป็ นผู้กระตุ้นให้ นกเรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ และเป็ นโค้ ชที่ให้ คาแนะนา ั แต่ไม่ใช่ผ้ ที่ถ่ายทอดความรู้ทงหมดให้ นกเรี ยน ู ั้ ั •ครูให้ นกเรี ยนสรุปบทเรี ยนเป็ นความเข้ าใจของตนเอง ั
  8. การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ตาม เน้ นให้ ผ้ เู รี ยนเป็ นผู้สร้ างความรู้ขึ ้นมาด้ วยตนเอง กระบวนทัศน์ รู้จกใช้ กระบวนการคิดเชื่อมโยงความรู้ พัฒนา ั ที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ ความรู้ใหม่ขึ ้นมาได้ โดยอาศัยแหล่งเรี ยนรู้ตางๆ ่ •บทบาทของนักเรี ยน คือ ลงมือปฏิบติการ ั ทดลอง สร้ างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และ มีพนฐานมาจากทฤษฏี ื้ เชื่อมโยงความรู้จากประสบการณ์เดิมรวมถึง คอนสตรั คติวสต์ ิ สถานการณ์ตาง ๆ ในชีวิต ่ •บทบาทของครู เป็ นผู้อานวยความสะดวก ให้ ความช่วยเหลือ ชี ้แนะแนวทางที่ถกแก่ผ้ เู รี ยน ู
  9. ครูบุญชู สามารถสอนให้ นกเรี ยนจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ โดยไม่ลืมซึงครูมี ั ่ เทคนิคดังนี ้ การแต่งเป็ นบทเพลง การใช้ คาคล้ องจองการใช้ แผนภูมิ รูปภาพประกอบเนื ้อหาที่ต้องการให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบ เช่น แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว และที่ น่าสนใจคือ การให้ ผ้ เู รี ยนจาคาศัพท์โดยใช้ การออกเสียงภาษาอังกฤษที่ เหมือนกับภาษาไทย เช่น pic กับ พริ ก และ bear กับ แบมือ พร้ อมมี รูปประกอบซึงเป็ นการเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมที่ผ้ เู รี ยนรู้จกมาช่วยใน ่ ั การจดจาคาศัพท์
  10. การจัดการเรียนรู้ของครูบุญชู • ครูแต่งเพลงเพื่อให้ นกเรี ยนจาคาศัพท์จากเพลง ั • ครูเป็ นผู้ถ่ายทอดความรู้ทงหมดให้ ผ้ เู รี ยน เช่น แผนภูมิรูปภาพ ั้ ประกอบเนื ้อหา ใช้ เพลงช่วยในการจดจาคาศัพท์ เป็ นต้ น • เน้ นให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้จากกระบวนการจา เป็ น การจัดการเรี ยนรู้ ตามกระบวนทัศน์ ท่ ี เน้ นครู เป็ นศูนย์ กลาง
  11. •ผู้ เรี ยนมีความรู้เพิ่มขึ ้นทังปริ มาณและคุณภาพ สามารถ ้ มีพนฐานมาจาก ื้ จัดรวบรวมความรู้ให้ เป็ นระเบียบและนากลับมาใช้ ใหม่ ทฤษฏีพุทธิปัญญานิยม ได้ ตามต้ องการ รวมถึงถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม ไปสูบริ บทใหม่ได้ ดังจะเห็นได้ จาก ่ •ครูแต่งคาศัพท์เป็ นเพลง ที่ง่ายต่อการจาได้ เป็ น เวลานานเมื่อต้ องการใช้ ก็นากลับมาใช้ ได้ •ครูใช้ คาคล้ องจองและแผนภาพประกอบ เป็ นลักษณะ การสร้ างภาพแทนสารสนเทศ และเป็ นการเชื่อมโยง ความรู้เดิม ไปเปรี ยบเทียบเป็ นความรู้ใหม่ในบริ บทใหม่ จากเดิม เช่น คาศัพท์ pic กับ พริ ก และ bear กับ แบ มือ เป็ นต้ น •ครูใช้ รูปภาพแสดงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว เพื่อเป็ นการจัดระเบียบสารสนเทศให้ กบผู้เรี ยน ั
  12. ภารกิจที่ 2 วิธีการจัดการเรียนรู้ของครูแต่ ละคน มีข้อดีและข้ อเด่ นอย่ างไร
  13. ครูบุญมี ข้ อดี ข้ อเด่ น • ใช้ สื่อประกอบการสอน • เน้ นย ้าให้ จดบันทึกและ เช่นโปรแกรมและสื่อการ ท่องจาหลาย ๆ ครังในส่วน ้ สอน ที่สาคัญ • มีการสอบเก็บคะแนน หาก • ท่องศัพท์วนละ 5 คา ั สอบไม่ผานสามารถสอบ • คัดลายมือ ่ ใหม่จนกว่าจะผ่าน
  14. ครูบุญช่ วย ข้ อดี ข้ อเด่ น • ใช้ การตังคาถาม ข่าวสารต่าง ๆ และ ้ • นาเข้ าสูเ่ นื ้อหาโดยประสบการณ์เดิม ประสบการณ์ในชีวิตประจาวัน มา • ให้ นกเรี ยนได้ ลงมือแก้ ปัญหาและทา ั ช่วยในการเชื่อมโยงเข้ าบทเรี ยน ภารกิจด้ วยตนเอง • ใช้ กิจกรรมกลุมในการเรี ยนการสอน ่ • มีแหล่งเรี ยนรู้ที่เตรี ยมมากมาย เช่น • ครูเป็ นผู้แนะนา ชี ้แนวทางที่ถกให้ กบ ู ั หนังสือ วีดิทศน์ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้ อง ั ผู้เรี ยน อธิบายและกระตุ้นให้ คิด ฯลฯเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนค้ นหาคาตอบ • หลังเรี ยนมีการให้ สรุปความคิด ร่วมกันในกลุม ่ • มีการสรุปความคิดตามความเข้ าใจ ของนักเรี ยนแต่ละคน
  15. ครูบุญชู ข้ อดี ข้ อเด่ น • มีเทคนิคที่ช่วยให้ จาศัพท์ได้ ง่าย • แต่งเพลงคาศัพท์ ช่วยในการจา • ใช้ แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ • ใช้ คาง่ายๆ มาเปรี ยบเทียบ ขององค์ประกอบต่าง ๆ คาศัพท์เพื่อช่วยในการจาและการ • ใช้ คาคล้ องเสียงช่วยในการ ออก ออกเสียง เสียงที่ง่ายขึ ้น
  16. ภารกิจที่ 3 วิธีการจัดการเรียนรู้ของใครที่สอดคล้ องกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สุด เพราะเหตุใด
  17. แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาของประเทศตาม พระราชบัญญัตการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 ิ มุงเน้ นการพัฒนาศักยภาพของผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ โดยเฉพาะการสร้ าง ่ ความรู้และพัฒนากระบวนการคิด
  18. ดังนัน การจัดการเรี ยนรู้ที่สอดคล้ องกับพระราชบัญญัติ การศึกษา ้ แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สด คือ ุ การจัดการเรี ยนรู้ ของครู บุญช่ วย ซึงมีกระบวนทัศน์ที่ ่ เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ เช่น •ครูจะนาเข้ าสูบทเรี ยนโดยเชื่อมโยงเนื ้อหาที่เรี ยนกับประสบการณ์ ่ เดิมของผู้เรี ยน •การทากิจกรรมกลุม ่ •การสรุปความรู้ในชันเรี ยนด้ วยตนเอง ้ •บทบาทของครูเป็ นเพียงผู้อานวยความสะดวกในชันเรี ยน ชี ้แนะ ้ อธิบาย และกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้
  19. ห้ องเรี ยนที่ 2 สถานการณ์ ปัญหา ผมเป็ นครูสอนคณิตศาสตร์ มาหลายปี ขณะสอนนักเรี ยนจะได้ ยินคาถาม เสมอว่า "อาจารย์ (ครับ/ค่ะ)...เรี ยนเรื่ องนี ้ไปทาไม เอาไปใช้ ประโยชน์อะไรได้ บ้าง" ก็ได้ แต่ตอบคาถามว่านาไปใช้ ในการเรี ยนต่อชันสูง และนาไปประยุกต์ใช้ ในวิชา ้ วิทยาศาสตร์ ซึงบางเนื ้อหาก็มีโจทย์ปัญหาเป็ นแนวทางทาให้ พอรู้วาจะนาไปใช้ ่ ่ อะไรได้ บ้าง แต่บางเนื ้อหาก็จะได้ ยินเสียงบ่นพึมพาว่า "เรี ยนก็ยาก สูตรก็เยอะ ไม่ร้ ูจะเรี ยนไปทาไม ไม่เห็นได้ นาไปใช้ เลย" ในความเป็ นจริงดิฉนคิดว่าหลักสูตร ั วิชาคณิตศาสตร์ ของไทยน่าจะมีการ apply ให้ มากกว่านี ้ในแต่ละเรื่ องทัง้ ม. ต้ น และม.ปลาย ผู้เรี ยนจะได้ ร้ ูวาถ้ าเรี ยนแล้ วสามารถนาไปใช้ ได้ จริงไม่วาจะเรี ยน ่ ่ ต่อสายสามัญหรื อสายอาชีพและเห็นความสาคัญของวิชานี ้มากขึ ้น
  20. ภารกิจที่ 1 ให้ ท่านวิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดขึนว่ าน่ าจะมีสาเหตุมาจากอะไรบ้ าง ้
  21. สาเหตุของปั ญหาที่มาจาก ครูผ้ ูสอน • 1. ครูผ้ สอนยังไม่สามารถจัดการเรี ยนการสอนให้ เด็กได้ เข้ าใจถึงเนื ้อหา ู ได้ ชดเจน ว่าเนื ้อหานี ้มีลกษณะเป็ นแบบไหน สามารถใช้ ได้ จริงอย่างไร ั ั และวิชาคณิตศาสตร์ สาคัญแค่ไหน ใกล้ ไกลกับตัวเองมากน้ อยเพียงใด • 2. ครูยงไม่มีเทคนิคการเชื่อมโยงเนื ้อหาบทเรี ยนให้ เด็กได้ เข้ าใจ ั เกี่ยวข้ องในชีวิตประจาวัน เช่น อาจจะแต่งในส่วนของเนื ้อหา เป็ นนิทาน ชีวิตประจาวัน เพื่อลดความน่าเบื่อในเนื ้อหา และจาทาให้ เด็กสามารถ จดจาได้ ขึ ้นใจ
  22. • 3. ครูเพียงแค่สอนคณิตศาสตร์ ในเนื ้อหาเพียงอย่างเดียว เช่น สูตรที่ ยากๆก็ให้ เด็กท่องจาเอง ครูน่าจะมีวิธีการ ทริคการจาได้ แม่นและนาน • 4. ครูควรจะเปิ ดโอกาสเกิดข้ อสงสัย และถามคาถามแสดงความ คิดเห็น แล้ วครูสามารถให้ คาตอบที่ชดเจนกับเด็กได้ โดยเตรี ยมคาตอบ ั มาก่อน • 5. ครูควรจะสนับสนุนนักเรี ยนด้ านวิชาการนี ้ สร้ างแรงจูงใจให้ เด็ก เกิด ความสนใจให้ มากกว่านี ้
  23. สาเหตุของปัญหาทีมาจาก นักเรียน ่ • 1.นักเรี ยน ยังไม่สามารถเข้ าใจในส่วนของวิชาคณิตศาสตร์ ว่ามีเนื ้อหา การเรี ยนแบบใดบ้ าง • 2.นักเรี ยนยังไม่ทราบผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังชัดเจน และจุดประสงค์ ของการเรี ยนการสอนของวิชาคณิตศาสตร์
  24. • 3.นักเรี ยนส่วนใหญ่ มักจะคิดว่า คณิตศาสตร์ ยาก มีสตรเยอะ ู หลากหลายขันตอนการแสดงวิธีคิด เรี ยนแล้ วไม่เข้ าใจ หัวช้ า ไม่เร็ว ้ ตัวเองไม่เก่ง • 4.นักเรี ยนยังขาดทักษะกระบวนการคิด การเชื่อมโยง การให้ เหตุผล ใช้ อารมณ์ความรู้สกตนตัดสิน กับปั ญหา ึ
  25. ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์ หาทฤษฎีการเรียนรู้ และการออกแบบการสอน ที่สามารถแก้ ปัญหาได้
  26. ทฤษฎีการเรี ยนรู้ ท่ สามารถนามาแก้ ไขปั ญหาได้ ี 1.ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ครูควรจะอธิบาย ชีแจงส่ วนที่เป็ นจุดประสงค์ การเรี ยน ้ และเนื ้อหาให้ ผ้ เู รี ยนได้ คิดตามว่า กาลังจะเรี ยนอะไร เด็กจะทายังไง เรี ยนแล้ ว อะไร สามารถใช้ ได้ จริง 2.ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม เมื่อครูสอนเนื ้อหา ก็ควรจะเชื่ อมโยงความรู้ ประสบการณ์เดิมของนักเรี ยน มาใช้ ในการเรี ยนและการนาไปใช้ ได้ จริงกับ ชีวิตประจาวันของผู้เรี ยน 3.ทฤษฎีคอนสตรั คติวสต์ ครูควรจะเน้ นผู้เรี ยนเป็ นศูนย์ กลาง ให้ ผ้ เู รี ยนได้ ิ ปฏิบติ ทากิจกรรม แก้ ไขปั ญหาด้ วยตนเอง จะสามารถทาให้ เด็กเข้ าใจถึงเนื ้อหา ั และเกิดองค์ความรู้ที่ตอบสนองคาถามภายใต้ ข้อสงสัยของตนเองได้
  27. การออกแบบการสอน 1. ครูผ้ ูสอนควรจะเตรียมแผนการสอน เป็ นอย่ างดี เช่ น • เนื ้อหาสาระที่ครอบคลุมกับกลุมสาระรายวิชา ชี ้แจงผลการเรี ยนรู้ที่ ่ คาดหวังให้ เด็กทราบ • มีสื่อการสอนต่างๆ ที่สามารถ ทาให้ เด็กได้ เข้ าใจได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น powerpoint วิดทศน์ เป็ นต้ น ิ ั
  28. 2. ครูควรจะสร้ างบรรยากาศในชันเรียน ให้ น่าสนใจ เช่ น ้ • การสอนที่มีปฏิสมพันธ์กนระหว่างครูกบนักเรี ยน และนักเรี ยนกับ ั ั ั นักเรียน • มีกิจกรรมคลายเครี ยด ที่ตรงตามการบูรณาการการสอน ที่สอดแทรก เข้ ามาเกี่ยวข้ องกับเนื ้อหาได้ • เน้ นผู้เรี ยนได้ เกิดการเรียนรู้เอง ครูเป็ นเพียงผู้ให้ คาแนะนา ไปสูคาตอบ ่ ในการแก้ ปัญหาต่างๆ
  29. ภารกิจที่ 3 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ สามารถแก้ ปัญหาดังกล่ าวได้ ี
  30. การจัดการเรียนรู้โดยใช้ คาถามปลายเปิ ด สถานการณ์ ปั ญหา นักเรี ยนจะเป็ นผู้แก้ ไขปั ญหาเอง โดย ปั ญหานันถูกสร้ างมาเพื่อให้ สามารถ ้ ครูจะเป็ นผู้สงเกตการณ์ตางๆ ั ่ แก้ ได้ หลากหลายวิธีการคิด เพื่อได้ คอยให้ คาปรึกษาแนะ คาตอบเพียงหนึ่งคาตอบ ผู้เรี ยนจะเกิดกระบวนการคิดที่หลากหลาย นักเรี ยนเข้ าใจเกิดความเข้ าใจว่ า แล้ วสามารถนามาแลกเปลี่ยนกับเพื่อนใน เนือหาการเรี ยนสอดคล้ องกับการ ้ ชันเรี ยน ้ นาไปใช้ ได้ ในชีวตประจาวัน ิ
  31. สมาชิกในกลุ่ม • นางสาวจุฬาลักษณ์ ทิพวัน 543050014-9 • นางสาวรุจราภรณ์ บัวคา ิ 543050361-8 • นางสาวสุภตรา สอนสนาม ิ 543050370-7 นักศึกษาปริญญาตรีชันปี ที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ศึกษา ้ คณะศึกษาศาสตร์
Anzeige