SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
แบบฝึกทักษะวิชา ฟิสิกส์1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
การเคลื่อนที่แนวตรง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ตาแหน่ง ระยะทางและการกระจัด
นายนพพร กาแก้ว
ตาแหน่งครู วิทยฐานะชานาญการ
โรงเรียนเมืองแกพิทยาสรรค์ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
เล่มที่ 1
แบบฝึกทักษะ เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด เล่มนี้
ข้ำพเจ้ำได้จัดทำขึ้น เพื่อใช้ประกอบกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนกลุ่มสำระ
กำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 โดยมุ่งที่จะให้นักเรียนมีควำมรู้และ
ควำมเข้ำใจเรื่องตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด และมุ่งให้นักเรียนเป็นผู้รู้จัก
แสวงหำควำมรู้ สร้ำงองค์ควำมรู้ใหม่และนำควำมรู้ไปใช้ในกำรวำงแผนในกำร
แก้ปัญหำที่เกิดขึ้นกับตนเองเพื่อกำรดำรงชีวิตในสังคมได้อย่ำงเป็นสุข
ข้ำพเจ้ำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ แบบฝึกทักษะเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในกำร
พัฒนำกำรเรียนกำรสอน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ต่อไป
ขอขอบคุณผู้ที่ให้คำแนะนำ ในกำรจัดทำแบบฝึกทักษะเล่มนี้ จนสำเร็จ
เรียบร้อยด้วยดี
นพพร กำแก้ว
ก
คำนำ
ข
สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
คำนำ ก
สำรบัญ ข
คำชี้แจงสำหรับครู 1
คำชี้แจงสำหรับนักเรียน 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 4
สำระสำคัญ 9
จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 9
ตำแหน่ง 10
ระยะทำง 12
กำรกระจัด 14
แบบฝึกหัดที่ 1 17
แบบฝึกหัดที่ 2 18
แบบฝึกหัดที่ 3 19
แบบทดสอบหลังเรียน 20
บรรณำนุกรม 24
ภำคผนวก 25
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 26
แบบฝึกหัดที่ 1 27
แบบฝึกหัดที่ 2 28
แบบฝึกหัดที่ 3 29
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 30
คำชี้แจงสำหรับครู
1
แบบฝึกทักษะ เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด เล่มนี้
ได้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบกำรเรียนกำรสอนในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 และเพื่อให้แบบฝึกทักษะนี้ เกิดประโยชน์สูงสุดในกำรเรียน
กำรสอน ควรปฏิบัติ ดังนี้
1. ครูต้องศึกษำเนื้อหำของแบบฝึกทักษะเข้ำใจเป็นอย่ำงดีเป็นกำร
เตรียมกำรสอน
2. เตรียมแบบฝึกทักษะให้พร้อมให้พอกับจำนวนนักเรียนก่อน
ดำเนินกำรสอน
3. ชี้แจงให้นักเรียนเข้ำใจเกี่ยวกับกำรใช้แบบฝึกทักษะ เพื่อให้นักเรียน
รู้บทบำทและหน้ำที่ของนักเรียน
4. ชี้แจงปลูกฝังคุณธรรมด้ำนควำมซื่อสัตย์ด้ำนกำรรักษำสิ่งของ
ของส่วนรวมโดยไม่ขีดเขียนหรือทำให้บทเรียนฉีกขำดอย่ำงเคร่งครัด
5. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อสำรวจควำมรู้พื้นฐำนและ
ดูกำรพัฒนำกำรเรียน
6. เดินดูกำรทำงำนของนักเรียน เพื่อสังเกตพฤติกรรมกำรเรียนของ
นักเรียน
7. หำกนักเรียนมีปัญหำในกำรใช้แบบฝึกทักษะ ให้คำปรึกษำแนะนำแก่
นักเรียนได้
8. กำรสรุปบทเรียนควรเป็นกิจกรรมร่วมกันของนักเรียน
9. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนหลังจำกเรียนจบแล้ว
คำชี้แจงสำหรับนักเรียน
2
แบบฝึกทักษะ เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด เล่มนี้
ได้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบกำรเรียนกำรสอนในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 และเพื่อให้แบบฝึกทักษะนี้ เกิดประโยชน์สูงสุดในกำรเรียน
กำรสอน ควรปฏิบัติ ดังนี้
1. นักเรียนต้องศึกษำด้วยตนเอง ไปตำมลำดับของเนื้อหำ เมื่อนักเรียน
เข้ำใจเนื้อหำแล้วให้ทำแบบฝึกหัดตำมคำสั่ง
2. ทำแบบฝึกหัดทุกบทต้องทำลงในสมุดของนักเรียนเอง
3. ห้ำมขีดเขียนข้อควำมใด ๆ ลงในแบบฝึกทักษะ
4. เมื่อทำแบบฝึกหัดเสร็จแล้วให้ตรวจคำตอบด้วยตนเอง ถ้ำไม่ตรงกับเฉลย
ให้นักเรียนศึกษำใหม่อีกครั้ง และบันทึกผลในภำคผนวกจนครบทุกกิจกรรม
5. หำกนักเรียนมีปัญหำไม่เข้ำใจเนื้อหำหรือไม่เข้ำใจวิธีใช้ให้ปรึกษำ
ครูผู้สอน
6. นักเรียนต้องมีควำมซื่อสัตย์ต่อตนเอง เป็นคุณธรรมสูงสุดในกำรใช้
แบบฝึกทักษะ
7. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ก่อนและหลังกำรใช้
แบบฝึกทักษะ
3
ทำแบบทดสอบก่อนเรียนก่อนนะครับ
4
คำชี้แจง
1. ข้อสอบมีจำนวน 10 ข้อ 10 คะแนน
2. ใช้เวลำในกำรทำข้อสอบ 10 นำที
3. ข้อสอบแต่ละข้อมี 4 ตัวเลือก คือ ก ข ค ง
4. ในกำรตอบ ให้ใช้ดินสอดำเบอร์ 2B ระบำยวงกลมตัวเลือก ก ข ค หรือ ง
ในกระดำษคำตอบให้เต็มวง
ตัวอย่ำง ถ้ำ เลือกข้อ ง เป็นคำตอบ
ก ข ค ง
ถ้ำต้องกำรเปลี่ยนตัวเลือกใหม่ ต้องลบรอยระบำยในวงกลมตัวเลือกเดิมให้สะอำดหมดรอย
ดำเสียก่อน แล้วจึงระบำยวงกลมตัวเลือกใหม่
5. จงพยำยำมใช้ควำมคิด และพิจำรณำคำตอบจำกตัวเลือกให้ดี ไม่ควรเดำ กำรเดำไม่ทำให้คะแนนดีขึ้น
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึกทักษะที่ 1
เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด
5
รูปภาพใช้ตอบคาถามข้อที่ 1-2
1. ชำยคนหนึ่งเดินจำกจุดอ้ำงอิง 0 ไปตำมลูกศรไปถึงที่ตำแหน่ง 6 เมตร แล้วเดินกลับไป
หยุดนิ่งที่ตำแหน่ง 4 เมตร จงหำขนำดของกำรกระจัด
ก. 4 เมตร
ข. 5 เมตร
ค. 6 เมตร
ง. 7 เมตร
2. ชำยคนหนึ่งเดินจำกจุดอ้ำงอิง 0 ไปตำมลูกศรไปถึงที่ตำแหน่ง 6 เมตร แล้วเดินกลับไป
หยุดนิ่งที่ตำแหน่ง 4 เมตร จงหำขนำดของระยะทำงทั้งหมด
ก. 7 เมตร
ข. 8 เมตร
ค. 9 เมตร
ง. 10 เมตร
3. ขบวนกำรที่ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงตำแหน่งมีควำมหมำยตรงกับข้อใด
ก. คลื่น
ข. กำรเคลื่อนที่
ค. พลังงำนศักย์
ง. สนำมแม่เหล็กไฟฟ้ำ
-1 3 4 5 6
เมตร
0 1 2
6
4. ข้อแตกต่ำงของระยะทำงกับกำรกระจัด คือ ข้อใด
ก. ระยะทำง และกำรกระจัดเป็นปริมำณสเกลำร์
ข. ระยะทำง และกำรกระจัดเป็นปริมำณเวกเตอร์
ค. ระยะทำงเป็นปริมำณสเกลำร์ กำรกระจัดเป็นปริมำณเวกเตอร์
ง. ระยะทำงเป็นปริมำณเวกเตอร์ กำรกระจัดเป็นปริมำณสเกลำร์
5. ปิ่นพงษ์ขับรถมุ่งหน้ำไปทำงทิศเหนือเป็นระยะทำง 20 กิโลเมตร โดยขับรถเป็นทำงตรง
จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่เขำเคลื่อนที่
ก. ระยะทำง 20 กิโลเมตร ระยะทำง 0 กิโลเมตร
ข. ระยะทำง 0 กิโลเมตร ระยะทำง 20 กิโลเมตร
ค. ระยะทำง 20 กิโลเมตร ระยะทำง 20 กิโลเมตร
ง. ระยะทำง 20 กิโลเมตร ระยะทำง 40 กิโลเมตร
6. ข้อใดกล่ำว ไม่ถูกต้อง
ก. ระยะทำงจะมีค่ำเท่ำกับกำรกระจัดเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง
ข. กำรกระจัดมีค่ำมำกกว่ำระยะทำงเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ไม่เป็นเส้นตรง
ค. ระยะทำงคือควำมยำวตำมเส้นทำงที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ทั้งหมด
ง. กำรกระจัดคือระยะทำงในแนวตรงจำกตำแหน่งเริ่มต้นไปยังตำแหน่งสุดท้ำย
ของวัตถุ
7. รติมำขับรถมุ่งหน้ำไปทำงทิศตะวันออก 30 กิโลเมตร จำกนั้นเลี้ยวซ้ำยไปทำงทิศ
เหนืออีก 40 กิโลเมตร จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่รถเคลื่อนที่ไปได้
ก. ระยะทำงและกำรกระจัด 70 km
ข. ระยะทำง 40 km กำรกระจัด 30 km
ค. ระยะทำง 50 km กำรกระจัด 70 km
ง. ระยะทำง 70 km กำรกระจัด 50 km
7
8. ชำยคนหนึ่งขับรถจำกบ้ำนไปร้ำนหนังสือซึ่งเป็นแนวตรงเป็นระยะทำง 20 กิโลเมตร
เมื่อซื้อหนังสือเสร็จขับรถกลับบ้ำน จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่รถเคลื่อนที่
ก. ระยะทำง 20 km กำรกระจัด 0 km
ข. ระยะทำง 20 km กำรกระจัด 20 km
ค. ระยะทำง 40 km กำรกระจัด 0 km
ง. ระยะทำง 40 km กำรกระจัด 20 km
9. วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลม มีรัศมีควำมโค้ง 7 เมตร เมื่อเคลื่อนที่ครบรอบพอดี จงหำ
ระยะทำงและกำรกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้
ก. ระยะทำง 44 m กำรกระจัด 0 m
ข. ระยะทำง 44 m กำรกระจัด 44 m
ค. ระยะทำง 154 m กำรกระจัด 0 m
ง. ระยะทำง 154 m กำรกระจัด 154 m
10. ประภำสเดินจำกบ้ำนไปทำงทิศตะวันออกได้ทำง 80 เมตร จำกนั้นเดินทำงไปทำงทิศใต้
ได้ทำง 60 เมตร จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่เขำเคลื่อนที่ได้
ก. ระยะทำง 140 m กำรกระจัด 60 m
ข. ระยะทำง 140 m กำรกระจัด 100 m
ค. ระยะทำง 100 m กำรกระจัด 60 m
ง. ระยะทำง 100 m กำรกระจัด 80 m
26
ข้อที่ คำตอบ
1 ก
2 ข
3 ข
4 ค
5 ค
6 ข
7 ง
8 ค
9 ก
10 ข
แบบฝึกทักษะที่ 1
เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
8
ศึกษำ สำระสำคัญ จุดประสงค์กำรเรียนรู้
ไปอ่ำนใบคำมรู้เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำง กำรกระจัดให้เข้ำใจ แล้ว
ทำแบบฝึกหัด ............และแบบทดสอบหลังเรียนตำมลำดับนะ
ครับ ........สัญญำว่ำจะไม่ดูเฉลยก่อนนะ
สงสัยในกำรทำแบบฝึกหัดข้อใดให้ถำมนะครับ
9
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
สำระสำคัญ
ตำแหน่ง (position) คือ กำรแสดงออก หรือกำรบอกให้
ทรำบว่ำ วัตถุสิ่งของที่เรำพิจำรณำอยู่ที่ใด
ระยะทำง หมำยถึง ระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ได้จริง ๆ โดยจะต้องมี
ตำแหน่งเริ่มต้น ตำแหน่งสุดท้ำยและเส้นทำงกำรเคลื่อนที่ของ
วัตถุ และกำรกระจัด (displacement) หมำยถึง ระยะทำงที่สั้น
ที่สุดในกำรย้ำยตำแหน่งจำกจุกเริ่มต้นไปยังจุดสุดท้ำยของกำร
เคลื่อนที่ในช่วงที่พิจำรณำ
1. นักเรียนอธิบำยควำมหมำยของ ตำแหน่ง ระยะทำง
กำรกระจัดได้ถูกต้อง
2. นักเรียนบอกควำมแตกต่ำงของระยะทำง กับกำร
กระจัดได้
3. คำนวณหำขนำด ทิศทำง ของระยะทำงและกำร
กระจัด จำกสถำนกำรณ์ที่กำหนดให้ได้
10
ตำแหน่ง
ตำแหน่ง (position) คือ กำรแสดงออก หรือกำรบอกให้ทรำบว่ำ วัตถุสิ่งของ
ที่เรำพิจำรณำอยู่ที่ใด เรำจะคิดถึงวัตถุที่มีขนำดเล็กก่อน ซึ่งจะสำมำรถบอกได้
ชัดเจนว่ำตำแหน่งอยู่ที่ใด โดยเฉพำะบนเส้นตรงเส้นหนึ่งเมื่อเทียบกับจุดอ้ำงอิง ที่
จุดอ้ำงอิงเป็นปัจจัยจำเป็นเพื่อควำมชัดเจน อำจจะเป็นจุดศูนย์ของโคออดิเน็ตใน
พิกัด xy เนื่องจำกเรำจะพิจำรณำกรณีหนึ่งมิติก่อน เรำจะใช้เฉพำะแกน x และอำจ
บอกว่ำวัตถุของเรำอยู่ที่ตำแหน่ง x = x1 ที่เวลำ t1 อันหมำยถึงวัตถุอยู่ที่ระยะทำง x1
จำกจุด O (จุดอ้ำงอิง) ที่เวลำดังกล่ำว ถ้ำวัตถุเลื่อนไปอยู่ที่ x2 ที่เวลำ t2 แสดงว่ำ วัตถุ
ได้มีกำรเคลื่อนที่ระหว่ำงเวลำ t1 และ t2 ตำแหน่งทั้งสองของวัตถุ
11
ตัวอย่ำงที่ 1
พิจำรณำรูปที่กำหนดให้
กำรบอกตำแหน่งที่ชัดเจนจะต้องเทียบกับตำแหน่งหนึ่งที่เรียกว่ำ
ตำแหน่งอ้ำงอิงหรือจุดอ้ำงอิง เช่น คนที่ยืนห่ำงจำกเสำไฟฟ้ำ 10 เมตรไปทำงขวำ
12
ระยะทำง
ระยะทำงเป็นปริมำณสเกลำร์ที่ไม่สำมำรถเป็นจำนวนลบ และมีเพียงขนำด
(magnitude)
ระยะทำงที่นับโดยยำนพำหนะ (ด้วยมำตรระยะทำง) หรือโดยคน สัตว์สิ่งของ
ฯลฯ ควรแยกแยะออกจำกระยะกระจัดระหว่ำงจุดเริ่มต้นถึงจุดสิ้นสุด ถึงแม้ว่ำจะ
หมำยถึงระยะทำงที่สั้นที่สุดก็ตำม เนื่องจำกเส้นทำงอำจมีกำรวนรอบ ซึ่งจุดสิ้นสุด
สำมำรถเป็นจุดเดียวกับจุดเริ่มต้นก็ได้
ระยะทำง หมำยถึงตัวเลขที่อธิบำยว่ำ วัตถุแต่ละอย่ำงอยู่ห่ำงกันเท่ำไรใน
ช่วงเวลำหนึ่ง ในทำงฟิสิกส์ ระยะทำงอำจหมำยถึงควำมยำวทำงกำยภำพ ระยะเวลำ
หรือกำรประมำณค่ำบนสิ่งที่พิจำรณำสองอย่ำง ส่วนทำงคณิตศำสตร์จะพิจำรณำอย่ำง
เฉพำะเจำะจงมำกกว่ำ โดยทั่วไปแล้ว "ระยะทำงจำก A ไป B" มีควำมหมำย
เหมือนกับ "ระยะทำงระหว่ำง A กับ B"
อีกควำมหมำย ระยะทำง หมำยถึง ระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ได้จริง ๆ โดย
จะต้องมีตำแหน่งเริ่มต้น ตำแหน่งสุดท้ำยและเส้นทำงกำรเคลื่อนที่ของวัตถุ
สัญลักษณ์ s เป็นปริมำณสเกลำร์ มีหน่วยเป็น เมตร (m)
13
ตัวอย่ำงที่ 2
สำหรับกำรบอกตำแหน่งของวัตถุ เช่น รถ แป้นบำสเกตบอล เป็นต้น ในแนวเส้นตรง
นิยมเขียนเส้นตรง แล้วกำหนดจุดอ้ำงอิง พร้อมกับสเกลแสดงระยะทำง
จำกรูปบอกได้ว่ำ จุด A อยู่ห่ำงจำกจุด O ไปทำงขวำ 20 เมตร และจุด B อยู่ห่ำงจำกจุด
O ไปทำงซ้ำย 30 เมตร ในกรณีที่มีเพียง 2 ทิศทำง คือทิศทำงไปทำงขวำ กำหนดให้ใช้เครื่องหมำย
(+) และทิศทำงไปทำงซ้ำย กำหนดให้ใช้เครื่องหมำย ( - )
14
กำรกระจัด
กำรกระจัด คือ ปริมำณที่บอกกำรเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุ หรือ เส้นทำงที่สั้นที่สุดจำกจุดเริ่มต้น
ถึงจุดสุดท้ำย ของกำรเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุ เป็นปริมำณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร (m)
กำรกระจัด หรือ กำรขจัด (Displacement) คือ กำรเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุ จัดเป็นปริมำณเวกเตอร์
ชนิดหนึ่ง ระยะทำงที่สั้นที่สุดก็คือควำมยำวของเส้นตรงสมมติที่ลำกจำกจุดเริ่มต้นไปยังจุดสิ้นสุด ดังนั้น
มันจึงอำจแตกต่ำงจำกเส้นทำงเดินปกติก็ได้ เวกเตอร์กำรกระจัด ก็คือควำมยำวและทิศทำงของเส้นตรง
สมมติดังกล่ำว
15
ตัวอย่ำงที่ 3
พิจำรณำรูปที่กำหนดให้
จำกรูป วำงวัตถุไว้ที่จุด A มีคู่ลำดับเป็น (x1,y1) ต่อมำย้ำยวัตถุไปยังจุด B ซึ่งมีคู่ลำดับ
เป็น (x2,y2) ในกำรย้ำยตำแหน่งจำกจุด A ไปจุด B เรำสำมำรถกระทำได้หลำยทำง อำจจะใช้ทำง
1,2 และ 3 ก็สำมำรถย้ำยจำก A ไป B ได้
ระยะทำง คือ ควำมยำวตำมเส้นทำง 1,2,3 ซึ่งมีค่ำไม่เท่ำกัน
กำรกระจัด คือ ควำมยำวตำมเส้นทำงที่สั้นที่สุด คือ เส้นทำงที่ 2 ที่มีลูกศรที่ชี้จำก A
ไป B
16
ตัวอย่ำงที่ 4
ย้ำยวัตถุไปทำงทิศตะวันออก 4 เมตร จำกนั้นย้ำยข้นไปทำงทิศเหนือเป็น
ระยะทำง 3 เมตร จงคำนวณกำรกระจัดและระยะทำงจำกจุดเริ่มต้นถึงจุดปลำย
ดังรูป
จำกรูป วัตถุถูกย้ำยจำก A ไป B (ไปทำงทิศตะวันออก) 4 m และจำก B ไป C (ไปทำง
ทิศเหนือ) 3 m จะได้ d

เป็นกำรกระจัดระหว่ำงจุดเริ่มต้นกับจุดปลำย จะได้ขนำดของ
s

เป็น
s

=    22
BCAB 
= 22
)3()4(  = 5 m
ให้s เป็นระยะห่ำงจำกจุดเริ่มต้นถึงจุดปลำย ดังนั้นได้
s = AB+BC
= 4+3 = 7 m
นั่นคือ กำรกระจัดมีค่ำ 5 เมตร แต่ระยะทำงมีค่ำ 7 เมตร
4 m
3 m
17
แบบฝึกหัดที่ 1
ตำแหน่ง ระยะทำง และกำรกระจัด
1.ชำยคนหนึ่งเดินจำกจุดอ้ำงอิง 0 ไปตำมลูกศร แล้วหยุดนิ่งที่ตำแหน่ง 4 เมตร
จงหำขนำดของกำรกระจัดและระยะทำงทั้งหมด
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
……………...
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (อธิบำยโดยละเอียด)
27
เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1
ตำแหน่ง ระยะทำง และกำรกระจัด
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (อธิบำยโดยละเอียด)
ชำยคนหนึ่งเดินจำกจุดอ้ำงอิง 0 ไปตำมลูกศร แล้วหยุดนิ่งที่ตำแหน่ง 4 เมตร
จงหำขนำดของกำรกระจัดและระยะทำงทั้งหมด
วิธีทำ หำ s

เมื่อ s

เป็นขนำดของกำรกระจัด จะได้
s

= ระยะ OB = 4 m
นั่นคือ ขนำดของกำรกระจัดของกำรเดินนี้เท่ำกับ 4 เมตร มีทิศพุ่งไปทำงขวำมือ (จำกO
ไปB)
หำ s เมื่อ s เป็นระยะทำงทั้งหมด จะได้
s = ระยะ OA+ระยะ AB
= 6+2 = 8 m
นั่นคือ ระยะทำงทั้งหมดเท่ำกับ 8 เมตร
18
แบบฝึกหัดที่ 2
ตำแหน่ง ระยะทำง และกำรกระจัด
ทองเหลืองมีอะไรเป็นตัวทา
ละลาย และตัวถูกละลาย
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (อธิบำยโดยละเอียด)
ย้ำยวัตถุไปทำงทิศตะวันออก 12 เมตร จำกนั้นย้ำยข้นไปทำงทิศเหนือเป็น
ระยะทำง 16 เมตร จงคำนวณกำรกระจัดและระยะทำงจำกจุดเริ่มต้นถึงจุดปลำย
ดังรูป
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………..…………
…………………………………………………………………………………..
28
เฉลยแบบฝึกหัดที่ 2
ตำแหน่ง ระยะทำง และกำรกระจัด
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (อธิบำยโดยละเอียด)
ย้ำยวัตถุไปทำงทิศตะวันออก 12 เมตร จำกนั้นย้ำยข้นไปทำงทิศเหนือเป็น
ระยะทำง 16 เมตร จงคำนวณระยะทำงจำกจุดเริ่มต้นถึงจุดปลำย
ดังรูป
จำกรูป วัตถุถูกย้ำยจำก A ไป B (ไปทำงทิศตะวันออก) 12 m และจำก B ไป C (ไป
ทำงทิศเหนือ) 16 m จะได้ s

เป็นกำรกระจัดระหว่ำงจุดเริ่มต้นกับจุดปลำย จะได้ขนำดของ
s

เป็น
s

=    22
BCAB 
= 22
)16()12(  = 20 m
ให้ s เป็นระยะห่ำงจำกจุดเริ่มต้นถึงจุดปลำย ดังนั้นได้
s = AB+BC
= 12+16 = 28 m
นั่นคือ กำรกระจัดมีค่ำ 20 เมตร แต่ระยะทำงมีค่ำ 28 เมตร
19
แบบฝึกหัดที่ 3
ตำแหน่ง ระยะทำง และกำรกระจัด
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (อธิบำยโดยละเอียด)
รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปทำงทิศตะวันออกเป็นระยะ 5 กิโลเมตร จำกนั้นเคลื่อนที่
ไปทำงทิศตะวันตกเป็นระยะ 2 กิโลเมตร จงหำระยะทำงและกำรกระจัดของรถคันนี้
…………………………………………………………………………………
……………………………….…………………………………………………
…………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………….………
…………………………………………………………………………………
……………………….…………………………………………………………
……………………………………………………….…………………………
…………………………………………………………………………………
…….……………………………………………………………………………
…………………………………….……………………………………………
…………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………
………………….………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
29
เฉลยแบบฝึกหัดที่ 3
ตำแหน่ง ระยะทำง และกำรกระจัด
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (อธิบำยโดยละเอียด)
รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปทำงทิศตะวันออกเป็นระยะ 5 กิโลเมตร จำกนั้นเคลื่อนที่ไป
ทำงทิศตะวันตกเป็นระยะ 2 กิโลเมตร จงหำระยะทำงของรถคันนี้
5 km
กำรกระจัด 2 km
วิธีทำ ระยะทำง = 5 km + 2 km = 7 km
กำรกระจัด = 5 km - 2 km = 3 km
มีทิศทำงไปทำงตะวันออก
30
คำชี้แจง
1. ข้อสอบมีจำนวน 10 ข้อ 10 คะแนน
2. ใช้เวลำในกำรทำข้อสอบ 10 นำที
3. ข้อสอบแต่ละข้อมี 4 ตัวเลือก คือ ก ข ค ง
4. ในกำรตอบ ให้ใช้ดินสอดำเบอร์ 2B ระบำยวงกลมตัวเลือก ก ข ค หรือ ง
ในกระดำษคำตอบให้เต็มวง
ตัวอย่ำง ถ้ำ เลือกข้อ ง เป็นคำตอบ
ก ข ค ง
ถ้ำต้องกำรเปลี่ยนตัวเลือกใหม่ ต้องลบรอยระบำยในวงกลมตัวเลือกเดิมให้สะอำดหมดรอย
ดำเสียก่อน แล้วจึงระบำยวงกลมตัวเลือกใหม่
5. จงพยำยำมใช้ควำมคิด และพิจำรณำคำตอบจำกตัวเลือกให้ดี ไม่ควรเดำ กำรเดำไม่ทำให้คะแนนดีขึ้น
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกทักษะที่ 1
เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด
21
1. ขบวนกำรที่ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงตำแหน่งมีควำมหมำยตรงกับข้อใด
ก. คลื่น
ข. สนำมแม่เหล็กไฟฟ้ำ
ค. พลังงำนศักย์
ง. กำรเคลื่อนที่
รูปภำพใช้ตอบคำถำมข้อที่ 2-3
2. ชำยคนหนึ่งเดินจำกจุดอ้ำงอิง 0 ไปตำมลูกศรไปถึงที่ตำแหน่ง 6 เมตร แล้วเดินกลับไปหยุดนิ่งที่
ตำแหน่ง 4 เมตร จงหำขนำดของกำรกระจัด
ก. 7 เมตร
ข. 6 เมตร
ค. 5 เมตร
ง. 4 เมตร
3. ชำยคนหนึ่งเดินจำกจุดอ้ำงอิง 0 ไปตำมลูกศรไปถึงที่ตำแหน่ง 6 เมตร แล้วเดินกลับไปหยุดนิ่งที่
ตำแหน่ง 4 เมตร จงหำขนำดของระยะทำงทั้งหมด
ก. 10 เมตร
ข. 9 เมตร
ค. 8 เมตร
ง. 7 เมตร
-1 3 4 5 6
เมตร
0 1 2
22
4. วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลม มีรัศมีควำมโค้ง 7 เมตร เมื่อเคลื่อนที่ครบรอบพอดี จงหำระยะทำง
และกำรกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้
ก. ระยะทำง 44 m กำรกระจัด 44 m
ข. ระยะทำง 44 m กำรกระจัด 0 m
ค. ระยะทำง 154 m กำรกระจัด 0 m
ง. ระยะทำง 154 m กำรกระจัด 154 m
5. ข้อแตกต่ำงของระยะทำงกับกำรกระจัด คือ ข้อใด
ก. ระยะทำง และกำรกระจัดเป็นปริมำณสเกลำร์
ข. ระยะทำง และกำรกระจัดเป็นปริมำณเวกเตอร์
ค. ระยะทำงเป็นปริมำณเวกเตอร์ กำรกระจัดเป็นปริมำณสเกลำร์
ง. ระยะทำงเป็นปริมำณสเกลำร์ กำรกระจัดเป็นปริมำณเวกเตอร์
6. ข้อใดกล่ำว ไม่ถูกต้อง
ก. กำรกระจัดมีค่ำมำกกว่ำระยะทำงเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ไม่เป็นเส้นตรง
ข. ระยะทำงจะมีค่ำเท่ำกับกำรกระจัดเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง
ค. ระยะทำงคือควำมยำวตำมเส้นทำงที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ทั้งหมด
ง. กำรกระจัดคือระยะทำงในแนวตรงจำกตำแหน่งเริ่มต้นไปยังตำแหน่งสุดท้ำยของวัตถุ
7. ชำยคนหนึ่งขับรถจำกบ้ำนไปร้ำนหนังสือซึ่งเป็นทำงตรงเป็นระยะทำง 20 กิโลเมตร เมื่อซื้อ
หนังสือเสร็จขับรถกลับบ้ำน จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่รถเคลื่อนที่
ก. ระยะทำง 20 km กำรกระจัด 20 km
ข. ระยะทำง 20 km กำรกระจัด 0 km
ค. ระยะทำง 40 km กำรกระจัด 20 km
ง. ระยะทำง 40 km กำรกระจัด 0 km
23
8. ประภำสเดินจำกบ้ำนไปทำงทิศตะวันออกได้ทำง 80 เมตร จำกนั้นเดินทำงไปทำงทิศใต้ได้ทำง
60 เมตร จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่เขำเคลื่อนที่ได้
ก. ระยะทำง 140 m กำรกระจัด 100 m
ข. ระยะทำง 140 m กำรกระจัด 60 m
ค. ระยะทำง 100 m กำรกระจัด 60 m
ง. ระยะทำง 100 m กำรกระจัด 80 m
9. ปิ่นพงษ์ขับรถมุ่งหน้ำไปทำงทิศเหนือเป็นระยะทำง 20 กิโลเมตร โดยขับรถเป็นทำงตรง จงหำ
ระยะทำงและกำรกระจัดที่เขำเคลื่อนที่
ก. ระยะทำง 0 กิโลเมตร ระยะทำง 20 กิโลเมตร
ข. ระยะทำง 20 กิโลเมตร ระยะทำง 0 กิโลเมตร
ค. ระยะทำง 20 กิโลเมตร ระยะทำง 40 กิโลเมตร
ง. ระยะทำง 20 กิโลเมตร ระยะทำง 20 กิโลเมตร
10. รติมำขับรถมุ่งหน้ำไปทำงทิศตะวันออก 30 กิโลเมตร จำกนั้นเลี้ยวซ้ำยไปทำงทิศเหนืออีก 40
กิโลเมตร จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่รถเคลื่อนที่ไปได้
ก. ระยะทำง 70 km กำรกระจัด 50 km
ข. ระยะทำง 40 km กำรกระจัด 30 km
ค. ระยะทำง 50 km กำรกระจัด 70 km
ง. ระยะทำงและกำรกระจัด 70 km
30
ข้อที่ คำตอบ
1 ง
2 ง
3 ค
4 ข
5 ง
6 ก
7 ง
8 ก
9 ง
10 ก
แบบฝึกทักษะที่ 1
เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
24
กรมวิชำกำร. หนังสือเรียนรำยวิชำเพิ่มเติมฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ตำมหลักสูตร
แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภำ
ลำดพร้ำว, 2554.
กรมวิชำกำร. หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำนฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ตำมหลักสูตร
แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภำ
ลำดพร้ำว, 2554.
. กำรออกแบบหน่วยกำรเรียนรู้อิงมำตรฐำน หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : สถำบันพัฒนำคุณภำพวิชำกำร, 2551.
ธีรชัย ปูรณโชติ. กำรสร้ำงบทเรียนสำเร็จรูปเส้นทำงสู่อำจำรย์3. กรุงเทพฯ :
จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย, 2532.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. หลักกำรวัดและกำรประเมินผลกำรศึกษำ. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ : เฮ้ำส์ออฟเคอมีสท์, 2545.
วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ, สำนัก. ตัวชี้วัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์กำรเกษตรแห่ง
ประเทศไทย, 2551.
บรรณำนุกรม
ภำคผนวก

More Related Content

What's hot

เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
jirupi
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
krupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
Jariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
nik2529
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
Apinya Phuadsing
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 

Similar to ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf

แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
srkschool
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศหน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
krupornpana55
 
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
krupornpana55
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้อง
krupornpana55
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
Duangnapa Jangmoraka
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
krupornpana55
 
หน่วยที่ 3.3
หน่วยที่ 3.3 หน่วยที่ 3.3
หน่วยที่ 3.3
krupornpana55
 
วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1
nakaenoi
 
หน่วยที่ 3.2
หน่วยที่ 3.2 หน่วยที่ 3.2
หน่วยที่ 3.2
krupornpana55
 
งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)
งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)
งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)
จักรพัฒน์ สมบูรณ์
 

Similar to ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf (20)

Obec robot contest 2012
Obec robot contest 2012Obec robot contest 2012
Obec robot contest 2012
 
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศหน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
 
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
 
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามาการวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้อง
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
หน่วยที่ 3.3
หน่วยที่ 3.3 หน่วยที่ 3.3
หน่วยที่ 3.3
 
เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่
 
วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1
 
Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 
หน่วยที่ 3.2
หน่วยที่ 3.2 หน่วยที่ 3.2
หน่วยที่ 3.2
 
งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)
งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)
งานนำเสนอ รร.ขนาดเล็ก 2007 (ฉบับนำเสนอ ๑)
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 

ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf

  • 1. แบบฝึกทักษะวิชา ฟิสิกส์1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตาแหน่ง ระยะทางและการกระจัด นายนพพร กาแก้ว ตาแหน่งครู วิทยฐานะชานาญการ โรงเรียนเมืองแกพิทยาสรรค์ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เล่มที่ 1
  • 2. แบบฝึกทักษะ เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด เล่มนี้ ข้ำพเจ้ำได้จัดทำขึ้น เพื่อใช้ประกอบกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนกลุ่มสำระ กำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 โดยมุ่งที่จะให้นักเรียนมีควำมรู้และ ควำมเข้ำใจเรื่องตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด และมุ่งให้นักเรียนเป็นผู้รู้จัก แสวงหำควำมรู้ สร้ำงองค์ควำมรู้ใหม่และนำควำมรู้ไปใช้ในกำรวำงแผนในกำร แก้ปัญหำที่เกิดขึ้นกับตนเองเพื่อกำรดำรงชีวิตในสังคมได้อย่ำงเป็นสุข ข้ำพเจ้ำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ แบบฝึกทักษะเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในกำร พัฒนำกำรเรียนกำรสอน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ต่อไป ขอขอบคุณผู้ที่ให้คำแนะนำ ในกำรจัดทำแบบฝึกทักษะเล่มนี้ จนสำเร็จ เรียบร้อยด้วยดี นพพร กำแก้ว ก คำนำ
  • 3. ข สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คำนำ ก สำรบัญ ข คำชี้แจงสำหรับครู 1 คำชี้แจงสำหรับนักเรียน 2 แบบทดสอบก่อนเรียน 4 สำระสำคัญ 9 จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 9 ตำแหน่ง 10 ระยะทำง 12 กำรกระจัด 14 แบบฝึกหัดที่ 1 17 แบบฝึกหัดที่ 2 18 แบบฝึกหัดที่ 3 19 แบบทดสอบหลังเรียน 20 บรรณำนุกรม 24 ภำคผนวก 25 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 26 แบบฝึกหัดที่ 1 27 แบบฝึกหัดที่ 2 28 แบบฝึกหัดที่ 3 29 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 30
  • 4. คำชี้แจงสำหรับครู 1 แบบฝึกทักษะ เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด เล่มนี้ ได้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบกำรเรียนกำรสอนในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 และเพื่อให้แบบฝึกทักษะนี้ เกิดประโยชน์สูงสุดในกำรเรียน กำรสอน ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ครูต้องศึกษำเนื้อหำของแบบฝึกทักษะเข้ำใจเป็นอย่ำงดีเป็นกำร เตรียมกำรสอน 2. เตรียมแบบฝึกทักษะให้พร้อมให้พอกับจำนวนนักเรียนก่อน ดำเนินกำรสอน 3. ชี้แจงให้นักเรียนเข้ำใจเกี่ยวกับกำรใช้แบบฝึกทักษะ เพื่อให้นักเรียน รู้บทบำทและหน้ำที่ของนักเรียน 4. ชี้แจงปลูกฝังคุณธรรมด้ำนควำมซื่อสัตย์ด้ำนกำรรักษำสิ่งของ ของส่วนรวมโดยไม่ขีดเขียนหรือทำให้บทเรียนฉีกขำดอย่ำงเคร่งครัด 5. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อสำรวจควำมรู้พื้นฐำนและ ดูกำรพัฒนำกำรเรียน 6. เดินดูกำรทำงำนของนักเรียน เพื่อสังเกตพฤติกรรมกำรเรียนของ นักเรียน 7. หำกนักเรียนมีปัญหำในกำรใช้แบบฝึกทักษะ ให้คำปรึกษำแนะนำแก่ นักเรียนได้ 8. กำรสรุปบทเรียนควรเป็นกิจกรรมร่วมกันของนักเรียน 9. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนหลังจำกเรียนจบแล้ว
  • 5. คำชี้แจงสำหรับนักเรียน 2 แบบฝึกทักษะ เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด เล่มนี้ ได้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบกำรเรียนกำรสอนในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 และเพื่อให้แบบฝึกทักษะนี้ เกิดประโยชน์สูงสุดในกำรเรียน กำรสอน ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. นักเรียนต้องศึกษำด้วยตนเอง ไปตำมลำดับของเนื้อหำ เมื่อนักเรียน เข้ำใจเนื้อหำแล้วให้ทำแบบฝึกหัดตำมคำสั่ง 2. ทำแบบฝึกหัดทุกบทต้องทำลงในสมุดของนักเรียนเอง 3. ห้ำมขีดเขียนข้อควำมใด ๆ ลงในแบบฝึกทักษะ 4. เมื่อทำแบบฝึกหัดเสร็จแล้วให้ตรวจคำตอบด้วยตนเอง ถ้ำไม่ตรงกับเฉลย ให้นักเรียนศึกษำใหม่อีกครั้ง และบันทึกผลในภำคผนวกจนครบทุกกิจกรรม 5. หำกนักเรียนมีปัญหำไม่เข้ำใจเนื้อหำหรือไม่เข้ำใจวิธีใช้ให้ปรึกษำ ครูผู้สอน 6. นักเรียนต้องมีควำมซื่อสัตย์ต่อตนเอง เป็นคุณธรรมสูงสุดในกำรใช้ แบบฝึกทักษะ 7. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ก่อนและหลังกำรใช้ แบบฝึกทักษะ
  • 7. 4 คำชี้แจง 1. ข้อสอบมีจำนวน 10 ข้อ 10 คะแนน 2. ใช้เวลำในกำรทำข้อสอบ 10 นำที 3. ข้อสอบแต่ละข้อมี 4 ตัวเลือก คือ ก ข ค ง 4. ในกำรตอบ ให้ใช้ดินสอดำเบอร์ 2B ระบำยวงกลมตัวเลือก ก ข ค หรือ ง ในกระดำษคำตอบให้เต็มวง ตัวอย่ำง ถ้ำ เลือกข้อ ง เป็นคำตอบ ก ข ค ง ถ้ำต้องกำรเปลี่ยนตัวเลือกใหม่ ต้องลบรอยระบำยในวงกลมตัวเลือกเดิมให้สะอำดหมดรอย ดำเสียก่อน แล้วจึงระบำยวงกลมตัวเลือกใหม่ 5. จงพยำยำมใช้ควำมคิด และพิจำรณำคำตอบจำกตัวเลือกให้ดี ไม่ควรเดำ กำรเดำไม่ทำให้คะแนนดีขึ้น แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกทักษะที่ 1 เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด
  • 8. 5 รูปภาพใช้ตอบคาถามข้อที่ 1-2 1. ชำยคนหนึ่งเดินจำกจุดอ้ำงอิง 0 ไปตำมลูกศรไปถึงที่ตำแหน่ง 6 เมตร แล้วเดินกลับไป หยุดนิ่งที่ตำแหน่ง 4 เมตร จงหำขนำดของกำรกระจัด ก. 4 เมตร ข. 5 เมตร ค. 6 เมตร ง. 7 เมตร 2. ชำยคนหนึ่งเดินจำกจุดอ้ำงอิง 0 ไปตำมลูกศรไปถึงที่ตำแหน่ง 6 เมตร แล้วเดินกลับไป หยุดนิ่งที่ตำแหน่ง 4 เมตร จงหำขนำดของระยะทำงทั้งหมด ก. 7 เมตร ข. 8 เมตร ค. 9 เมตร ง. 10 เมตร 3. ขบวนกำรที่ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงตำแหน่งมีควำมหมำยตรงกับข้อใด ก. คลื่น ข. กำรเคลื่อนที่ ค. พลังงำนศักย์ ง. สนำมแม่เหล็กไฟฟ้ำ -1 3 4 5 6 เมตร 0 1 2
  • 9. 6 4. ข้อแตกต่ำงของระยะทำงกับกำรกระจัด คือ ข้อใด ก. ระยะทำง และกำรกระจัดเป็นปริมำณสเกลำร์ ข. ระยะทำง และกำรกระจัดเป็นปริมำณเวกเตอร์ ค. ระยะทำงเป็นปริมำณสเกลำร์ กำรกระจัดเป็นปริมำณเวกเตอร์ ง. ระยะทำงเป็นปริมำณเวกเตอร์ กำรกระจัดเป็นปริมำณสเกลำร์ 5. ปิ่นพงษ์ขับรถมุ่งหน้ำไปทำงทิศเหนือเป็นระยะทำง 20 กิโลเมตร โดยขับรถเป็นทำงตรง จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่เขำเคลื่อนที่ ก. ระยะทำง 20 กิโลเมตร ระยะทำง 0 กิโลเมตร ข. ระยะทำง 0 กิโลเมตร ระยะทำง 20 กิโลเมตร ค. ระยะทำง 20 กิโลเมตร ระยะทำง 20 กิโลเมตร ง. ระยะทำง 20 กิโลเมตร ระยะทำง 40 กิโลเมตร 6. ข้อใดกล่ำว ไม่ถูกต้อง ก. ระยะทำงจะมีค่ำเท่ำกับกำรกระจัดเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ข. กำรกระจัดมีค่ำมำกกว่ำระยะทำงเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ไม่เป็นเส้นตรง ค. ระยะทำงคือควำมยำวตำมเส้นทำงที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ทั้งหมด ง. กำรกระจัดคือระยะทำงในแนวตรงจำกตำแหน่งเริ่มต้นไปยังตำแหน่งสุดท้ำย ของวัตถุ 7. รติมำขับรถมุ่งหน้ำไปทำงทิศตะวันออก 30 กิโลเมตร จำกนั้นเลี้ยวซ้ำยไปทำงทิศ เหนืออีก 40 กิโลเมตร จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่รถเคลื่อนที่ไปได้ ก. ระยะทำงและกำรกระจัด 70 km ข. ระยะทำง 40 km กำรกระจัด 30 km ค. ระยะทำง 50 km กำรกระจัด 70 km ง. ระยะทำง 70 km กำรกระจัด 50 km
  • 10. 7 8. ชำยคนหนึ่งขับรถจำกบ้ำนไปร้ำนหนังสือซึ่งเป็นแนวตรงเป็นระยะทำง 20 กิโลเมตร เมื่อซื้อหนังสือเสร็จขับรถกลับบ้ำน จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่รถเคลื่อนที่ ก. ระยะทำง 20 km กำรกระจัด 0 km ข. ระยะทำง 20 km กำรกระจัด 20 km ค. ระยะทำง 40 km กำรกระจัด 0 km ง. ระยะทำง 40 km กำรกระจัด 20 km 9. วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลม มีรัศมีควำมโค้ง 7 เมตร เมื่อเคลื่อนที่ครบรอบพอดี จงหำ ระยะทำงและกำรกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ ก. ระยะทำง 44 m กำรกระจัด 0 m ข. ระยะทำง 44 m กำรกระจัด 44 m ค. ระยะทำง 154 m กำรกระจัด 0 m ง. ระยะทำง 154 m กำรกระจัด 154 m 10. ประภำสเดินจำกบ้ำนไปทำงทิศตะวันออกได้ทำง 80 เมตร จำกนั้นเดินทำงไปทำงทิศใต้ ได้ทำง 60 เมตร จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่เขำเคลื่อนที่ได้ ก. ระยะทำง 140 m กำรกระจัด 60 m ข. ระยะทำง 140 m กำรกระจัด 100 m ค. ระยะทำง 100 m กำรกระจัด 60 m ง. ระยะทำง 100 m กำรกระจัด 80 m
  • 11. 26 ข้อที่ คำตอบ 1 ก 2 ข 3 ข 4 ค 5 ค 6 ข 7 ง 8 ค 9 ก 10 ข แบบฝึกทักษะที่ 1 เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
  • 12. 8 ศึกษำ สำระสำคัญ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ไปอ่ำนใบคำมรู้เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำง กำรกระจัดให้เข้ำใจ แล้ว ทำแบบฝึกหัด ............และแบบทดสอบหลังเรียนตำมลำดับนะ ครับ ........สัญญำว่ำจะไม่ดูเฉลยก่อนนะ สงสัยในกำรทำแบบฝึกหัดข้อใดให้ถำมนะครับ
  • 13. 9 จุดประสงค์กำรเรียนรู้ สำระสำคัญ ตำแหน่ง (position) คือ กำรแสดงออก หรือกำรบอกให้ ทรำบว่ำ วัตถุสิ่งของที่เรำพิจำรณำอยู่ที่ใด ระยะทำง หมำยถึง ระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ได้จริง ๆ โดยจะต้องมี ตำแหน่งเริ่มต้น ตำแหน่งสุดท้ำยและเส้นทำงกำรเคลื่อนที่ของ วัตถุ และกำรกระจัด (displacement) หมำยถึง ระยะทำงที่สั้น ที่สุดในกำรย้ำยตำแหน่งจำกจุกเริ่มต้นไปยังจุดสุดท้ำยของกำร เคลื่อนที่ในช่วงที่พิจำรณำ 1. นักเรียนอธิบำยควำมหมำยของ ตำแหน่ง ระยะทำง กำรกระจัดได้ถูกต้อง 2. นักเรียนบอกควำมแตกต่ำงของระยะทำง กับกำร กระจัดได้ 3. คำนวณหำขนำด ทิศทำง ของระยะทำงและกำร กระจัด จำกสถำนกำรณ์ที่กำหนดให้ได้
  • 14. 10 ตำแหน่ง ตำแหน่ง (position) คือ กำรแสดงออก หรือกำรบอกให้ทรำบว่ำ วัตถุสิ่งของ ที่เรำพิจำรณำอยู่ที่ใด เรำจะคิดถึงวัตถุที่มีขนำดเล็กก่อน ซึ่งจะสำมำรถบอกได้ ชัดเจนว่ำตำแหน่งอยู่ที่ใด โดยเฉพำะบนเส้นตรงเส้นหนึ่งเมื่อเทียบกับจุดอ้ำงอิง ที่ จุดอ้ำงอิงเป็นปัจจัยจำเป็นเพื่อควำมชัดเจน อำจจะเป็นจุดศูนย์ของโคออดิเน็ตใน พิกัด xy เนื่องจำกเรำจะพิจำรณำกรณีหนึ่งมิติก่อน เรำจะใช้เฉพำะแกน x และอำจ บอกว่ำวัตถุของเรำอยู่ที่ตำแหน่ง x = x1 ที่เวลำ t1 อันหมำยถึงวัตถุอยู่ที่ระยะทำง x1 จำกจุด O (จุดอ้ำงอิง) ที่เวลำดังกล่ำว ถ้ำวัตถุเลื่อนไปอยู่ที่ x2 ที่เวลำ t2 แสดงว่ำ วัตถุ ได้มีกำรเคลื่อนที่ระหว่ำงเวลำ t1 และ t2 ตำแหน่งทั้งสองของวัตถุ
  • 16. 12 ระยะทำง ระยะทำงเป็นปริมำณสเกลำร์ที่ไม่สำมำรถเป็นจำนวนลบ และมีเพียงขนำด (magnitude) ระยะทำงที่นับโดยยำนพำหนะ (ด้วยมำตรระยะทำง) หรือโดยคน สัตว์สิ่งของ ฯลฯ ควรแยกแยะออกจำกระยะกระจัดระหว่ำงจุดเริ่มต้นถึงจุดสิ้นสุด ถึงแม้ว่ำจะ หมำยถึงระยะทำงที่สั้นที่สุดก็ตำม เนื่องจำกเส้นทำงอำจมีกำรวนรอบ ซึ่งจุดสิ้นสุด สำมำรถเป็นจุดเดียวกับจุดเริ่มต้นก็ได้ ระยะทำง หมำยถึงตัวเลขที่อธิบำยว่ำ วัตถุแต่ละอย่ำงอยู่ห่ำงกันเท่ำไรใน ช่วงเวลำหนึ่ง ในทำงฟิสิกส์ ระยะทำงอำจหมำยถึงควำมยำวทำงกำยภำพ ระยะเวลำ หรือกำรประมำณค่ำบนสิ่งที่พิจำรณำสองอย่ำง ส่วนทำงคณิตศำสตร์จะพิจำรณำอย่ำง เฉพำะเจำะจงมำกกว่ำ โดยทั่วไปแล้ว "ระยะทำงจำก A ไป B" มีควำมหมำย เหมือนกับ "ระยะทำงระหว่ำง A กับ B" อีกควำมหมำย ระยะทำง หมำยถึง ระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ได้จริง ๆ โดย จะต้องมีตำแหน่งเริ่มต้น ตำแหน่งสุดท้ำยและเส้นทำงกำรเคลื่อนที่ของวัตถุ สัญลักษณ์ s เป็นปริมำณสเกลำร์ มีหน่วยเป็น เมตร (m)
  • 17. 13 ตัวอย่ำงที่ 2 สำหรับกำรบอกตำแหน่งของวัตถุ เช่น รถ แป้นบำสเกตบอล เป็นต้น ในแนวเส้นตรง นิยมเขียนเส้นตรง แล้วกำหนดจุดอ้ำงอิง พร้อมกับสเกลแสดงระยะทำง จำกรูปบอกได้ว่ำ จุด A อยู่ห่ำงจำกจุด O ไปทำงขวำ 20 เมตร และจุด B อยู่ห่ำงจำกจุด O ไปทำงซ้ำย 30 เมตร ในกรณีที่มีเพียง 2 ทิศทำง คือทิศทำงไปทำงขวำ กำหนดให้ใช้เครื่องหมำย (+) และทิศทำงไปทำงซ้ำย กำหนดให้ใช้เครื่องหมำย ( - )
  • 18. 14 กำรกระจัด กำรกระจัด คือ ปริมำณที่บอกกำรเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุ หรือ เส้นทำงที่สั้นที่สุดจำกจุดเริ่มต้น ถึงจุดสุดท้ำย ของกำรเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุ เป็นปริมำณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร (m) กำรกระจัด หรือ กำรขจัด (Displacement) คือ กำรเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุ จัดเป็นปริมำณเวกเตอร์ ชนิดหนึ่ง ระยะทำงที่สั้นที่สุดก็คือควำมยำวของเส้นตรงสมมติที่ลำกจำกจุดเริ่มต้นไปยังจุดสิ้นสุด ดังนั้น มันจึงอำจแตกต่ำงจำกเส้นทำงเดินปกติก็ได้ เวกเตอร์กำรกระจัด ก็คือควำมยำวและทิศทำงของเส้นตรง สมมติดังกล่ำว
  • 19. 15 ตัวอย่ำงที่ 3 พิจำรณำรูปที่กำหนดให้ จำกรูป วำงวัตถุไว้ที่จุด A มีคู่ลำดับเป็น (x1,y1) ต่อมำย้ำยวัตถุไปยังจุด B ซึ่งมีคู่ลำดับ เป็น (x2,y2) ในกำรย้ำยตำแหน่งจำกจุด A ไปจุด B เรำสำมำรถกระทำได้หลำยทำง อำจจะใช้ทำง 1,2 และ 3 ก็สำมำรถย้ำยจำก A ไป B ได้ ระยะทำง คือ ควำมยำวตำมเส้นทำง 1,2,3 ซึ่งมีค่ำไม่เท่ำกัน กำรกระจัด คือ ควำมยำวตำมเส้นทำงที่สั้นที่สุด คือ เส้นทำงที่ 2 ที่มีลูกศรที่ชี้จำก A ไป B
  • 20. 16 ตัวอย่ำงที่ 4 ย้ำยวัตถุไปทำงทิศตะวันออก 4 เมตร จำกนั้นย้ำยข้นไปทำงทิศเหนือเป็น ระยะทำง 3 เมตร จงคำนวณกำรกระจัดและระยะทำงจำกจุดเริ่มต้นถึงจุดปลำย ดังรูป จำกรูป วัตถุถูกย้ำยจำก A ไป B (ไปทำงทิศตะวันออก) 4 m และจำก B ไป C (ไปทำง ทิศเหนือ) 3 m จะได้ d  เป็นกำรกระจัดระหว่ำงจุดเริ่มต้นกับจุดปลำย จะได้ขนำดของ s  เป็น s  =    22 BCAB  = 22 )3()4(  = 5 m ให้s เป็นระยะห่ำงจำกจุดเริ่มต้นถึงจุดปลำย ดังนั้นได้ s = AB+BC = 4+3 = 7 m นั่นคือ กำรกระจัดมีค่ำ 5 เมตร แต่ระยะทำงมีค่ำ 7 เมตร 4 m 3 m
  • 21. 17 แบบฝึกหัดที่ 1 ตำแหน่ง ระยะทำง และกำรกระจัด 1.ชำยคนหนึ่งเดินจำกจุดอ้ำงอิง 0 ไปตำมลูกศร แล้วหยุดนิ่งที่ตำแหน่ง 4 เมตร จงหำขนำดของกำรกระจัดและระยะทำงทั้งหมด ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………... คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (อธิบำยโดยละเอียด)
  • 22. 27 เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1 ตำแหน่ง ระยะทำง และกำรกระจัด คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (อธิบำยโดยละเอียด) ชำยคนหนึ่งเดินจำกจุดอ้ำงอิง 0 ไปตำมลูกศร แล้วหยุดนิ่งที่ตำแหน่ง 4 เมตร จงหำขนำดของกำรกระจัดและระยะทำงทั้งหมด วิธีทำ หำ s  เมื่อ s  เป็นขนำดของกำรกระจัด จะได้ s  = ระยะ OB = 4 m นั่นคือ ขนำดของกำรกระจัดของกำรเดินนี้เท่ำกับ 4 เมตร มีทิศพุ่งไปทำงขวำมือ (จำกO ไปB) หำ s เมื่อ s เป็นระยะทำงทั้งหมด จะได้ s = ระยะ OA+ระยะ AB = 6+2 = 8 m นั่นคือ ระยะทำงทั้งหมดเท่ำกับ 8 เมตร
  • 23. 18 แบบฝึกหัดที่ 2 ตำแหน่ง ระยะทำง และกำรกระจัด ทองเหลืองมีอะไรเป็นตัวทา ละลาย และตัวถูกละลาย คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (อธิบำยโดยละเอียด) ย้ำยวัตถุไปทำงทิศตะวันออก 12 เมตร จำกนั้นย้ำยข้นไปทำงทิศเหนือเป็น ระยะทำง 16 เมตร จงคำนวณกำรกระจัดและระยะทำงจำกจุดเริ่มต้นถึงจุดปลำย ดังรูป ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………..………… …………………………………………………………………………………..
  • 24. 28 เฉลยแบบฝึกหัดที่ 2 ตำแหน่ง ระยะทำง และกำรกระจัด คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (อธิบำยโดยละเอียด) ย้ำยวัตถุไปทำงทิศตะวันออก 12 เมตร จำกนั้นย้ำยข้นไปทำงทิศเหนือเป็น ระยะทำง 16 เมตร จงคำนวณระยะทำงจำกจุดเริ่มต้นถึงจุดปลำย ดังรูป จำกรูป วัตถุถูกย้ำยจำก A ไป B (ไปทำงทิศตะวันออก) 12 m และจำก B ไป C (ไป ทำงทิศเหนือ) 16 m จะได้ s  เป็นกำรกระจัดระหว่ำงจุดเริ่มต้นกับจุดปลำย จะได้ขนำดของ s  เป็น s  =    22 BCAB  = 22 )16()12(  = 20 m ให้ s เป็นระยะห่ำงจำกจุดเริ่มต้นถึงจุดปลำย ดังนั้นได้ s = AB+BC = 12+16 = 28 m นั่นคือ กำรกระจัดมีค่ำ 20 เมตร แต่ระยะทำงมีค่ำ 28 เมตร
  • 25. 19 แบบฝึกหัดที่ 3 ตำแหน่ง ระยะทำง และกำรกระจัด คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (อธิบำยโดยละเอียด) รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปทำงทิศตะวันออกเป็นระยะ 5 กิโลเมตร จำกนั้นเคลื่อนที่ ไปทำงทิศตะวันตกเป็นระยะ 2 กิโลเมตร จงหำระยะทำงและกำรกระจัดของรถคันนี้ ………………………………………………………………………………… ……………………………….………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………… ……………………….………………………………………………………… ……………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………… …….…………………………………………………………………………… …………………………………….…………………………………………… …………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………… ………………….……………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………….
  • 26. 29 เฉลยแบบฝึกหัดที่ 3 ตำแหน่ง ระยะทำง และกำรกระจัด คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (อธิบำยโดยละเอียด) รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปทำงทิศตะวันออกเป็นระยะ 5 กิโลเมตร จำกนั้นเคลื่อนที่ไป ทำงทิศตะวันตกเป็นระยะ 2 กิโลเมตร จงหำระยะทำงของรถคันนี้ 5 km กำรกระจัด 2 km วิธีทำ ระยะทำง = 5 km + 2 km = 7 km กำรกระจัด = 5 km - 2 km = 3 km มีทิศทำงไปทำงตะวันออก
  • 27. 30 คำชี้แจง 1. ข้อสอบมีจำนวน 10 ข้อ 10 คะแนน 2. ใช้เวลำในกำรทำข้อสอบ 10 นำที 3. ข้อสอบแต่ละข้อมี 4 ตัวเลือก คือ ก ข ค ง 4. ในกำรตอบ ให้ใช้ดินสอดำเบอร์ 2B ระบำยวงกลมตัวเลือก ก ข ค หรือ ง ในกระดำษคำตอบให้เต็มวง ตัวอย่ำง ถ้ำ เลือกข้อ ง เป็นคำตอบ ก ข ค ง ถ้ำต้องกำรเปลี่ยนตัวเลือกใหม่ ต้องลบรอยระบำยในวงกลมตัวเลือกเดิมให้สะอำดหมดรอย ดำเสียก่อน แล้วจึงระบำยวงกลมตัวเลือกใหม่ 5. จงพยำยำมใช้ควำมคิด และพิจำรณำคำตอบจำกตัวเลือกให้ดี ไม่ควรเดำ กำรเดำไม่ทำให้คะแนนดีขึ้น แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกทักษะที่ 1 เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด
  • 28. 21 1. ขบวนกำรที่ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงตำแหน่งมีควำมหมำยตรงกับข้อใด ก. คลื่น ข. สนำมแม่เหล็กไฟฟ้ำ ค. พลังงำนศักย์ ง. กำรเคลื่อนที่ รูปภำพใช้ตอบคำถำมข้อที่ 2-3 2. ชำยคนหนึ่งเดินจำกจุดอ้ำงอิง 0 ไปตำมลูกศรไปถึงที่ตำแหน่ง 6 เมตร แล้วเดินกลับไปหยุดนิ่งที่ ตำแหน่ง 4 เมตร จงหำขนำดของกำรกระจัด ก. 7 เมตร ข. 6 เมตร ค. 5 เมตร ง. 4 เมตร 3. ชำยคนหนึ่งเดินจำกจุดอ้ำงอิง 0 ไปตำมลูกศรไปถึงที่ตำแหน่ง 6 เมตร แล้วเดินกลับไปหยุดนิ่งที่ ตำแหน่ง 4 เมตร จงหำขนำดของระยะทำงทั้งหมด ก. 10 เมตร ข. 9 เมตร ค. 8 เมตร ง. 7 เมตร -1 3 4 5 6 เมตร 0 1 2
  • 29. 22 4. วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลม มีรัศมีควำมโค้ง 7 เมตร เมื่อเคลื่อนที่ครบรอบพอดี จงหำระยะทำง และกำรกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ ก. ระยะทำง 44 m กำรกระจัด 44 m ข. ระยะทำง 44 m กำรกระจัด 0 m ค. ระยะทำง 154 m กำรกระจัด 0 m ง. ระยะทำง 154 m กำรกระจัด 154 m 5. ข้อแตกต่ำงของระยะทำงกับกำรกระจัด คือ ข้อใด ก. ระยะทำง และกำรกระจัดเป็นปริมำณสเกลำร์ ข. ระยะทำง และกำรกระจัดเป็นปริมำณเวกเตอร์ ค. ระยะทำงเป็นปริมำณเวกเตอร์ กำรกระจัดเป็นปริมำณสเกลำร์ ง. ระยะทำงเป็นปริมำณสเกลำร์ กำรกระจัดเป็นปริมำณเวกเตอร์ 6. ข้อใดกล่ำว ไม่ถูกต้อง ก. กำรกระจัดมีค่ำมำกกว่ำระยะทำงเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ไม่เป็นเส้นตรง ข. ระยะทำงจะมีค่ำเท่ำกับกำรกระจัดเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ค. ระยะทำงคือควำมยำวตำมเส้นทำงที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ทั้งหมด ง. กำรกระจัดคือระยะทำงในแนวตรงจำกตำแหน่งเริ่มต้นไปยังตำแหน่งสุดท้ำยของวัตถุ 7. ชำยคนหนึ่งขับรถจำกบ้ำนไปร้ำนหนังสือซึ่งเป็นทำงตรงเป็นระยะทำง 20 กิโลเมตร เมื่อซื้อ หนังสือเสร็จขับรถกลับบ้ำน จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่รถเคลื่อนที่ ก. ระยะทำง 20 km กำรกระจัด 20 km ข. ระยะทำง 20 km กำรกระจัด 0 km ค. ระยะทำง 40 km กำรกระจัด 20 km ง. ระยะทำง 40 km กำรกระจัด 0 km
  • 30. 23 8. ประภำสเดินจำกบ้ำนไปทำงทิศตะวันออกได้ทำง 80 เมตร จำกนั้นเดินทำงไปทำงทิศใต้ได้ทำง 60 เมตร จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่เขำเคลื่อนที่ได้ ก. ระยะทำง 140 m กำรกระจัด 100 m ข. ระยะทำง 140 m กำรกระจัด 60 m ค. ระยะทำง 100 m กำรกระจัด 60 m ง. ระยะทำง 100 m กำรกระจัด 80 m 9. ปิ่นพงษ์ขับรถมุ่งหน้ำไปทำงทิศเหนือเป็นระยะทำง 20 กิโลเมตร โดยขับรถเป็นทำงตรง จงหำ ระยะทำงและกำรกระจัดที่เขำเคลื่อนที่ ก. ระยะทำง 0 กิโลเมตร ระยะทำง 20 กิโลเมตร ข. ระยะทำง 20 กิโลเมตร ระยะทำง 0 กิโลเมตร ค. ระยะทำง 20 กิโลเมตร ระยะทำง 40 กิโลเมตร ง. ระยะทำง 20 กิโลเมตร ระยะทำง 20 กิโลเมตร 10. รติมำขับรถมุ่งหน้ำไปทำงทิศตะวันออก 30 กิโลเมตร จำกนั้นเลี้ยวซ้ำยไปทำงทิศเหนืออีก 40 กิโลเมตร จงหำระยะทำงและกำรกระจัดที่รถเคลื่อนที่ไปได้ ก. ระยะทำง 70 km กำรกระจัด 50 km ข. ระยะทำง 40 km กำรกระจัด 30 km ค. ระยะทำง 50 km กำรกระจัด 70 km ง. ระยะทำงและกำรกระจัด 70 km
  • 31. 30 ข้อที่ คำตอบ 1 ง 2 ง 3 ค 4 ข 5 ง 6 ก 7 ง 8 ก 9 ง 10 ก แบบฝึกทักษะที่ 1 เรื่อง ตำแหน่ง ระยะทำงและกำรกระจัด เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
  • 32. 24 กรมวิชำกำร. หนังสือเรียนรำยวิชำเพิ่มเติมฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ตำมหลักสูตร แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภำ ลำดพร้ำว, 2554. กรมวิชำกำร. หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำนฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ตำมหลักสูตร แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภำ ลำดพร้ำว, 2554. . กำรออกแบบหน่วยกำรเรียนรู้อิงมำตรฐำน หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : สถำบันพัฒนำคุณภำพวิชำกำร, 2551. ธีรชัย ปูรณโชติ. กำรสร้ำงบทเรียนสำเร็จรูปเส้นทำงสู่อำจำรย์3. กรุงเทพฯ : จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย, 2532. พิชิต ฤทธิ์จรูญ. หลักกำรวัดและกำรประเมินผลกำรศึกษำ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เฮ้ำส์ออฟเคอมีสท์, 2545. วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ, สำนัก. ตัวชี้วัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์กำรเกษตรแห่ง ประเทศไทย, 2551. บรรณำนุกรม