SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 56
การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน
FUNDAMENTAL ANALYSIS
OUTLINE
 Financial Asset
 ความหมาย
 นักลงทุนจะซื้อหลักทรัพย์เมื่อ
 การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน
 ประเภทการวิเคราะห์
FINANCIAL ASSET
 สินทรัพย์ทางการเงิน (Financial Assets) แต่ละ
ประเภทล้วนมีมูลค่าในตัวของมันเอง นักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
จะต้องเข้าใจถึงวิธีการประเมินมูลค่า และแหล่งที่มาของมูลค่าของสินทรัพย์
เหล่านั้น
ความหมายการวิเคราะห์หลักทรัพย์
การวิเคราะห์หลักทรัพย์ เป็นกระบวนการเพื่อการค้นหา
มูลค่าที่แท้จริงหรือมูลค่าตามปั จจัยพื้ นฐาน
(Intrinsic Value) ของหลักทรัพย์ โดยอาศัย
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหลักทรัพย์ที่เปิดเผยต่อสาธารณะ
และการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวอย่างเป็นระบบ ทั้งข้อมูล
ในอดีตและการคาดการณ์ข้อมูลในอนาคตของ
หลักทรัพย์นั้น
นักลงทุนจะซื้อหลักทรัพย์เมื่อ :
มูลค่าที่แท้จริงของหลักทรัพย์สูงกว่ามูลค่าของราคา
ตลาดปัจจุบัน
นักลงทุนจะขายหลักทรัพย์เมื่อ :
มูลค่าที่แท้จริงของหลักทรัพย์ต่ากว่ามูลค่าของราคาตลาดปัจจุบัน
ประเมินหามูลค่าที่เหมาะสม (INTRINSIC VALUE)
ประเมินหามูลค่าที่เหมาะสม (intrinsic value)
ของหุ้นสามัญนั้น เพื่อนําไปใช้ในการกําหนดกลยุทธ์ในการ
ลงทุนของนักลงทุนว่าจะ ซื้อหุ้น ขายหุ้น หรือถือครองหุ้น
นั้นต่อไป
การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน
การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน หมายถึง การประเมินผลการ
ดําเนินงาน รายได้ กําไรสุทธิ เพื่อคาดการณ์อนาคต
ประเภทการวิเคราะห์
แบ่งตามลักษณะการวิเคราะห์ แบ่งออกเป็น
การวิเคราะห์บนลงล่าง Top Down Approach
การวิเคราะห์ล่างขึ้นบน Bottom Top Approach
TOP DOWN APPROACH
BOTTOM UP APPROACH
 Company
Sector Analysis
Macro Economy
ขั้นตอนการวิเคราะห์หลักทรัพย์
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
การตีความผลที่ได้จากการศึกษา
เพื่อนามาพิจารณากาหนดหลักทรัพย์ หรือกลุ่มหลักทรัพย์ที่จะลงทุน
วัตถุประสงค์เบื้องต้นของการวิเคราะห์หลักทรัพย์
วัตถุประสงค์เบื้องต้นของการวิเคราะห์หลักทรัพย์ คือ การวิเคราะห์
อัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง เพื่อให้ได้มาซึ่งหลักทรัพย์ และกลุ่ม
หลักทรัพย์ลงทุนที่ดีที่สุด ที่ให้ผลตอบแทนสูงสุด ณ ความเสี่ยงระดับ
หนึ่ง
วัตถุประสงค์เบื้องต้นของการวิเคราะห์หลักทรัพย์
ผู้วิเคราะห์หลักทรัพย์จําเป็นต้องวิเคราะห์ข้อมูล ตรวจสอบ และ
ตัดสินใจให้สอดคล้องกับ เป้ าหมายการลงทุนที่ผู้ลงทุนตั้งไว้อย่าง
ชัดเจน และสมเหตุสมผล
** วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์หลักทรัพย์โดยใช้ปัจจัยพื้นฐาน
คือ การค้นหามูลค่าที่แท้จริงของหลักทรัพย์ ก่อนการตัดสินใจ
ซื้อ **
ภาพรวมการวิเคราะห์หลักทรัพย์โดยใช้ปัจจัยพื้นฐาน
การวิเคราะห์เศรษฐกิจ
องค์ประกอบที่ต้องวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค:วัฎจักรธุรกิจ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติเบื่อต้น ผลผลิตอุตสาหกรรมอัตรา
ดอกเบี้ยทั้งในและต่างประเทศ นโยบายการคลัง นโยบายการเงิน นโยบายเศรษฐกิจอื่น ๆ ของรัฐบาล
การวิเคราะห์อุตสาหกรรม
องค์ประกอบที่ต้องวิเคราะห์:วัฎจักรธุรกิจ วงจรการขยายตัวของอุตสาหกรรม โครงสร้างการแข่งขันของอุตสาหกรรม
การวิเคราะห์บริษัท
องค์ประกอบที่ต้องวิเคราะห์:ประเภทของบริษัท ลักษณะของบริษัทในเชิงคุณภาพ (ขนาดของบริษัทอัตราการขยายตัวในอดีต เป็น
ต้น) ลักษณะของบริษัทในเชิงปริมาณ
หลักทรัพย์ที่ให้อัตราผลตอบแทนสูงสุด ณ ระดับความเสี่ยงหนึ่ง
กลุ่มหลักทรัพย์ที่เลือกลงทุน
การวิเคราะห์เศรษฐกิจ
การวิเคราะห์เศรษฐกิจ เป็นขั้นตอนที่มีความสําคัญต่อการ
วิเคราะห์หลักทรัพย์ด้วยปัจจัยพื้นฐาน เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจ จะส่งผลกระทบต่อราคาของ
หลักทรัพย์
การวิเคราะห์เศรษฐกิจ
วิเคราะห์เศรษฐกิจ ควรพิจารณาทั้งภาวะเศรษฐกิจในประเทศ
และภาวะเศรษฐกิจโลก
วัตถุประสงค์ของวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจ
เพื่อนําไปสู่การคาดการณ์ทิศทางการขยายตัวของ
เศรษฐกิจ และกาหนดอุตสาหกรรมที่คาดว่าจะได้รับ
ผลประโยชน์จากการขยายตัวของเศรษฐกิจ ท้ายที่สุดก็จะ
สามารถเลือกบริษัทที่ควรลงทุนในอุตสาหกรรมนั้นได้
ตัวชี้และเครื่องวัดที่ใช้ในการวิเคราะห์เศรษฐกิจ
วัฏจักรเศรษฐกิจ
นโยบายการเงิน
อัตราเงินเฟ้ อ
การใช้จ่ายของผู้บริโภคและของธุรกิจ
GDP
อัตราการว่างงาน
อัตราการนาเข้าส่งออก
นโยบายของทางรัฐบาล
มาตรการต่างๆ ที่เกิดขึ้นจะส่งผลดีต่ออุตสาหกรรมใดบ้าง
ตัวชี้และเครื่องวัดที่ใช้ในการวิเคราะห์เศรษฐกิจ
 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product หรือ GDP)
ใช้กันอย่างแพร่หลาย เป็นเครื่องวัดมูลค่าของผลผลิตสินค้าและบริการทั้งหมดที่ผลิตขึ้นใน
ประเทศ
 ผลผลิตอุตสาหกรรม (industrial Production) ผลผลิตของอุตสาหกรรม มี
ความเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกันกับภาวะเศรษฐกิจและวัฏจักรธุรกิจ
 ดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index) เป็นดัชนีแสดงถึงการ
เปลี่ยนแปลงของสินค้าและบริการในแต่ละงวด (ใช้เป็นเครื่องมือวัดภาวะเงินเฟ้ อได้)
ตัวชี้และเครื่องวัดที่ใช้ในการวิเคราะห์เศรษฐกิจ
 ดัชนีราคาผู้ผลิต (Producer Price Index) เป็นดัชนีแสดงถึงการเปลี่ยนแปลง
ราคาสินค้าจากผู้ผลิต ตั้งแต่วัตถุดิบไปจนถึงสินค้าสําเร็จรูป (ใช้เป็นเครื่องมือวัดภาวะเงินเฟ้ อ
ได้)
 อัตราการว่างงาน (Unemployment Rate) แสดงอัตราร้อยละของผู้ว่างงานใน
ระบบเศรษฐกิจเทียบกับกําลังแรงงานรวม
 อัตราดอกเบี้ยในประเทศและต่างประเทศ อัตราดอกเบี้ยที่จะนํามาเปรียบเทียบควรเป็นอัตรา
ดอกเบี้ยที่เคลื่อนไหวตลอดเวลา
 ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน (Private Consumption Index) แสดงการ
เปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายในภาคเอกชน คํานวณจากยอดจําหน่ายและมูลค่าสินค้านําเข้า รวมทั้ง
มูลค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม
นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล
นโยบายการเงิน (Monetary Policy)
ธนาคารกลาง (ธนาคารแห่งประเทศไทย) จะเป็ นผู้ดาเนินนโยบายการเงินของ
ประเทศ เพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาและการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ ผ่านการ
ควบคุมอัตราดอกเบี้ย โดยใช้อัตราดอกเบี้ยธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตรระยะ 1 วัน เป็ น
เครื่องมือในการส่งสัญญาณ
ธนาคารแห่งประเทศไทย ลดอัตราดอกเบี้ย กระตุ้นเศรษฐกิจ
ธนาคารแห่งประเทศไทย เพิ่มอัตราดอกเบี้ย ควบคุมการใช้
จ่ายภาคเอกชน
นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล
นโยบายการคลัง (Fiscal Policy)
ใช้อัตราภาษีและค่าใช้จ่ายของภาครัฐเป็ นเครื่องมือ
เพิ่มภาษี ประชาชนบริโภคและผลิตน้อยลง
ลดภาษี ประชาชนบริโภคและผลิตมากขึ้น
ปัจจัยในการวิเคราะห์เศรษฐกิจ
เพื่อสรุปภาพรวมเศรษฐกิจของประเทศว่า ณ ปัจจุบันอยู่ในช่วงขาขึ้น
(Upward Trend) หรือขาลง (Downward
Trend) รวมถึงคาดการณ์ว่าในอนาคตอีก 1 - 2 หรือ 5 ปี
ข้างหน้า ภาวะเศรษฐกิจจะอยู่ในช่วงใด
สรุปกระบวนการวิเคราะภาวะเศรษฐกิจ
วัฏจักรเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจขยายตัว (Expansion /
Recovery) เป็นช่วงที่การผลิตและการจ้าง
งานเริ่มเพิ่มขึ้น รายได้และรายจ่ายของครัวเรือน
สูงขึ้น ทิศทางการลงทุนมีแนวโน้มดีขึ้น
วัฏจักรเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจรุ่งเรือง (Peak) เป็นจุดสูงสุดของวัฏจักร ณ
จุดนี้ระบบเศรษฐกิจจะมีประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งการผลิตและ
การบริโภค เริ่มมีการขาดแคลนแรงงานและวัตถุดิบ ทําให้
ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ระดับราคาสินค้าสูง ธุรกิจมีกําไรสูง
ตามไปด้วย
วัฏจักรเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจถดถอย (Contraction /
Recession) เ ป็ น ช่ว ง ที่กิ จ ก ร ร ม ท า ง
เศรษฐกิจเริ่มลดลง GDP และความต้องการสินค้า
โดยรวมลดลง ธุรกิจเริ่มขาดแคลนเงินทุนหมุนเวียน
การผลิตและการจ้างงานลดลง
วัฏจักรเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจตกต่า (Trough)ช่วงเวลานี้การว่างงานสูง
ความต้องการสินค้าโดยรวมลดลง สินค้าที่ผลิตขึ้นมาไม่สามารถขาย
ได้ กําไรของธุรกิจลดลง การขยายตัวทางธุรกิจจะอยู่ในอัตรตํ่า
เนื่องจากความเสี่ยงในการขาดทุนสูง
หากผู้ลงทุนรู้ว่ากําลังอยู่ในช่วงไหนของวัฏจักร
เศรษฐกิจ ผู้ลงทุนก็น่าจะประเมินได้ว่าอุตสาหกรรมใดจะ
ได้รับประโยชน์จากภาวะเศรษฐกิจในช่วงนั้นๆ เพราะโดย
ปกติแล้วอุตสาหกรรมต่างๆ จะฟื้ นตัวช้าเร็วแตกต่างกันไป
และมีการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านนโยบาย
เศรษฐกิจมหภาค
การวิเคราะห์อุตสาหกรรม
การวิเคราะห์อุตสาหกรรม หลังจากนักลงทุนได้ข้อมูลภาพ
รวมทางเศรษฐกิจโดยรวมมาแล้ว นักลงทุนสามารถนํา
ข้อมูลมาเลือกอุตสาหกรรมที่น่าสนใจ พิจารณา
อุตสาหกรรมใดที่มีแนวโน้มที่ดีในภาวะเศรษฐกิจนั้นๆ
อุตสาหกรรมที่เราสนใจอยู่ในวงจรชีวิตช่วงใด ภาวะการ
แข่งขันเป็นอย่างไร การเข้ามาของคู่แข่งทําได้ง่ายหรือยาก
เพื่อที่เป็นข้อมูลในการตัดสินใจลงทุน
การวิเคราะห์อุตสาหกรรม
ในการวิเคราะห์อุตสาหกรรม ผู้วิเคราะห์หลักทรัพย์ควร
พิจารณา วัฏจักรธุรกิจประเภทอุตสาหกรรม วงจรการขยายตัว
ของอุตสาหกรรม และโครงสร้างการแข่งขันของอุตสาหกรรม
ควบคู่กันไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการการ
วิเคราะห์อุตสาหกรรม
วัฏจักรของอุตสาหกรรม
การวิเคราะห์อุตสาหกรรม
อุตสาหกรรม แบ่งออกเป็ น 6 ประเภทใหญ่
 อุตสาหกรรมสินค้าแปรรูป
 อุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคบริโภคใช้สิ้นเปลือง
 อุตสาหกรรมสินค้าคงทน
 อุตสาหกรรมสินค้าเพื่อการส่งออก
 อุตสาหกรรมสินค้าเกี่ยวกับการเงินการธนาคาร
 อุตสาหกรรมสินค้าบริการ
การวิเคราะห์อุตสาหกรรม
การวิเคราะห์ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างปัจจัยทางด้านมหาภาค
ต่าง ๆ ที่กระทบต่ออุตสาหกรรม
- ปัจจัยทางด้านประชากร (Demographics)
- ปัจจัยทางด้านรูปแบบการดาเนินชีวิต (lifestyles)
- ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี (Technology)
- ปัจจัยทางด้านการเมืองและกฎระเบียบต่าง ๆ (Politics and
Regulations)
วงจรการขยายตัวของธุรกิจ
วงจรการขยายตัวของธุรกิจ
แบ่งออกเป็ น 4 ช่วง
ระยะเริ่มพัฒนา (Initial Development Stage)
ระยะเจริญเติบโต (Growth)
ระยะการขยายตัว (Expansion)
ระยะอิ่มตัวหรือถดถอย (Maturity or Decline)
การแข่งขันในอุตสาหกรรม
(MICHAEL E. PORTER)
ปัจจัยอื่น ๆ ทางอุตสาหกรรมที่ต้องพิจารณา
ความสัมพันธ์ระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
ตัวแปรทางด้านต้นทุน
กฎระเบียบข้อบังคับของรัฐบาล
ตัวแปรทางด้านเศรษฐกิจ
การจัดกลุ่มอุตสาหกรรมของตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ลาดับการฟื้ นตัวของอุตสาหกรรม
1.สถาบันการเงิน (Financials)
2.สินค้าอุปโภคบริโภคประเภทคงทนถาวร (Consumer
Durables)
3. สินค้าทุน (Capital Goods)
4.วัตถุดิบพื้นฐานของอุตสาหกรรม (Basic Industries)
5.สินค้าอุปโภคบริโภคที่จําเป็น (Consumer Staples)
การวิเคราะห์บริษัท
การวิเคราะห์บริษัท เป็นการค้นหาบริษัทที่น่าสนใจลงทุน โดยดูจาก
ลักษณะและรูปแบบการดําเนินธุรกิจ ความสามารถและบุคลากร
รวมถึงผลประกอบการและสถานะทางการเงินของธุรกิจว่ามีแนวโน้ม
เป็นอย่างไร มีโอกาสที่การลงทุนจะสร้างผลกําไรหรือไม่
การวิเคราะห์บริษัท
ข้อมูลบริษัท หมายความรวมถึงทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและ
ข้อมูลเชิงคุณภาพทั้งบริษัทและบริษัทในเครือที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลบริษัท
สามารถหาได้ทั้งภายในและจากแหล่งภายนอก แหล่งภายนอก เช่น บท
วิเคราะห์ของผู้เชี่ยวชาญต่าง ๆ
ประเภทการวิเคราะห์บริษัท
แบ่งตามข้อมูลของการวิเคราะห์ แบ่งออกเป็น
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ข้อมูลประวัติความเป็นมา
ข้อมูลลักษณะการดําเนินงาน
ข้อมูลแนวทางในอนาคต
การเชื่อมโยงผลกระทบทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
การเชื่อมโยงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างที่มี
ผลต่อการวิเคราะห์บริษัท
ข้อมูลเชิงปริมาณ
 เป็นข้อมูลเชิงตัวเลขที่ได้รับมาจากกิจกรรมต่าง ๆ ของบริษัท
งบการเงิน ที่ประกอบด้วย
งบกําไรขาดทุน
งบดุล
งบกระแสเงินสด
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ
หมายเหตุประกอบงบ
รายงานของผู้สอบบัญชี
ประเภทของบริษัทและประเภทของหลักทรัพย์
Growth Company และ Growth Stock
 Growth Company - ยอดขายและกําไรของบริษัท
จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่ามาตรฐานและบริษัทอื่น ๆ ในอุตสาหกรรม
เดียวกัน
 Growth Stock - จะจ่ายเงินปันผลน้อย แต่ราคา
หลักทรัพย์ในตลาดจะปรับตัวสูงขึ้นอย่างสมํ่าเสมอ
ประเภทของบริษัทและประเภทของหลักทรัพย์
Defensive Company และ Defensive
Stock
 Defensive Company บริษัทจะมีกําไรที่มี
เสถียรภาพ แม้ว่าภาวะเศรษฐกิจจะตกตํ่า
 Defensive Stock หุ้นของบริษัทจ่ายเงินปันผลหรือ
มีผลประกอบการในช่วงเศรษฐกิจซบเซาได้ดีกว่าหลักทรัพย์ตัวอื่น ๆ
โดยรวม
ประเภทของบริษัทและประเภทของหลักทรัพย์
Cyclical Company และ Cyclical Stock
 Cyclical Company บริษัทจะได้รับผลกระทบ
โดยตรงจากวัฎจักรเศรษฐกิจ ยอดขายและกําไรจะเพิ่มขึ้นเมื่อเศรษฐกิจ
ขยายตัว
 Cyclical Stock ราคาหลักทรัพย์จะทิ้งตัวลงตามวัฏ
จักรเศรษฐกิจ
ประเภทของบริษัทและประเภทของหลักทรัพย์
Speculative company และ Speculative
Stock
 Speculative company ผลตอบแทนสูงความ
เสี่ยงสูง เช่น การทําเหมืองแร่ การขุดเจาะนํ้ามัน
 Speculative Stock เป็นหลักทรัพย์ที่ดึงดูดผู้
ลงทุนที่ต้องการเก็งกําไร ปรับตัวขึ้นลงอย่างรวดเร็วตามอุปสงค์และ
อุปทานของตลาด อัตราความเสี่ยงสูง
สําหรับเหตุผลทางทฤษฎีที่ใช้สนับสนุนในการ
วิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานนั้น มีรากฐานแนวความคิด
ที่ว่ามูลค่าที่แท้จริง (Intrinsic Value)
และราคาของหลักทรัพย์ควรจะอยู่ใกล้เคียงกัน
การวิเคราะห์ทางปัจจัยพื้นฐาน
จะวิเคราะห์หลักทรัพย์เพื่อหามูลค่าที่แท้จริงของ
หลักทรัพย์ โดยคิดในรูปแบบของมูลค่าปัจจุบัน
(Present Value)
 เป็นการประเมินมูลค่าของหลักทรัพย์ที่จะลงทุน ซึ่งคาด
ว่าจะได้รับผลตอบแทนในอนาคต ทั้งในรูปของกําไรจาก
การขายหลักทรัพย์(Capital Gain) และ
ผลตอบแทนจากการลงทุนในรูปแบบของดอกเบี้ย หรือ
เงินปันผล(Yield)
 หากราคาหุ้นที่ประเมินได้ (ราคาที่แท้จริง) สูง
กว่าราคาตลาดของหลักทรัพย์ก็จะตัดสินใจซื้อ
 หากราคาหุ้นที่ประเมินได้ (ราคาที่แท้จริง) ตํ่า
กว่าราคาตลาดก็ตัดสินใจขาย
Fundamental analysis

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"Audyken Ssy
 
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Apple Natthakan
 
Case Study of Digital Communication Planning
Case Study of Digital Communication PlanningCase Study of Digital Communication Planning
Case Study of Digital Communication PlanningKamolwan Korphaisarn
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)Thailife Insurance Co.,Ltd.(PLC)
 
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
7 steps for Digital Marketing Plan & StrategyKamolwan Korphaisarn
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคWut Sookcharoen
 

Andere mochten auch (7)

พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
 
Daiso
DaisoDaiso
Daiso
 
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
Case Study of Digital Communication Planning
Case Study of Digital Communication PlanningCase Study of Digital Communication Planning
Case Study of Digital Communication Planning
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
 
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 

Fundamental analysis