SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1. พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.
2522 แก้ไขล่าสุด พ.ศ. 2556
2. พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทําความ
ผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
2550 (2560)
พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
(2558)
ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วน
บุคคล พ.ศ. ….
กฎหมายเกี่ยวกับ
เนื้อหาและโฆษณา
ออนไลน์
3. พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ. 2522
ประกาศ อย. เรื่อง หลักเกณฑ์การโฆษณาอาหาร พ.ศ.
2561
ประกาศ อย. เรื่อง หลักเกณฑ์การโฆษณาเครื่องดื่มที่
ผสมกาเฟอีน พ.ศ. 2555
พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 (2562)
พ.ร.บ.เครื่องมือแพทย์ พ.ศ. 2551
พ.ร.บ.เครื่องสําอาง พ.ศ. 2535 (2558)
พร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหาร
สําหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560
พรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.
2551
พ.ร.บ.ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท พ.ศ. 2518
พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (2562)
ประกาศ คปภ. เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการออก การเสนอ
ขายกรมธรรม์ประกันภัยของบริษัทประกันวินาศภัยฯ พ.ศ. 2561
……...
สิทธิในการได้
รับข้อมูล
อย่างถูก
ต้อง ไม่ชวน
ให้เข้าใจผิด
SPAM, การ
เผยแพร่ข้อมูล
คอมพิวเตอร์
อันเป็นเท็จ
หรือโดย
เจ้าของลิขสิทธิ์
ไม่ได้อนุญาต
หรือโดย
เจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคลไม่
ได้ยินยอม
หลักปฏิบัติ หลักเกณฑ์
การขออนุญาต
ตามประเภทสินค้าและ
บริการ (มีมากกว่านี้)
พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค
ส่วนที่ 1 การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านการโฆษณา
การให้ข้อมูล
อย่างเป็นธรรม
อันตราย/รําคาญ
ระบุคําเตือน
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ - มาตรา 11 - SPAM
ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือ
ปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบ
คอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นอันมีลักษณะเป็นการ
ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรําคาญแก่ผู้รับข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับสามารถบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับ
ได้โดยง่าย ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท
ให้รัฐมนตรีออกประกาศกําหนดลักษณะและวิธีการส่ง รวมทั้งลักษณะและปริมาณของ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งไม่เป็นการก่อให้เกิดความเดือดร้อน
รําคาญแก่ผู้รับ และลักษณะอันเป็นการบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการ
ตอบรับได้โดยง่าย
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ - มาตรา 14 - “เนื้อหา” ที่เป็นความผิด
ผู้ใดกระทําความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ง
แสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
(1) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่
บิดเบือนหรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดย
ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน อันมิใช่การกระทําความผิดฐานหมิ่นประมาท
ตามประมวลกฎหมายอาญา
(2) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิด
ความเสียหายต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ
ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะ
ของประเทศ หรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
(3) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความ
มั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
ในกรณีที่เคย
เกิดขึ้น นิติกร
ของอย.อาจ
ฟ้องตามพ.ร.บ.
ของผลิตภัณฑ์
ที่เกี่ยวข้อง
(อาหาร, ยา,
ฯลฯ) ร่วมกับ
มาตรา 14 ของ
พ.ร.บ.
คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ - มาตรา 14 - “เนื้อหา” ที่เป็นความผิด (ต่อ)
(4) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูล
คอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้
(5) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์
ตาม (1) (2) (3) หรือ (4)
ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่ง (1) มิได้กระทําต่อประชาชน แต่เป็นการกระทําต่อ
บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ผู้กระทํา ผู้เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ดังกล่าวต้อง
ระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และให้
เป็นความผิดอันยอมความได้
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ - มาตรา 15 - ความรับผิดของผู้ให้บริการ
ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้ความร่วมมือ ยินยอม หรือรู้เห็นเป็นใจให้มี
การกระทําความผิดตามมาตรา 14 ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน
ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทําความผิดตามมาตรา 14
ให้รัฐมนตรีออกประกาศกําหนดขั้นตอนการแจ้งเตือน การระงับการทําให้แพร่หลายของ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ และการนําข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์
ถ้าผู้ให้บริการพิสูจน์ได้ว่าตนได้ปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามวรรคสอง ผู้
นั้นไม่ต้องรับโทษ
เจ้าของเพจ
บนเฟซบุ๊กก็อาจ
ถูกตีความ
ว่าเป็นผู้ให้
บริการได้
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ - มาตรา 16 - ภาพตัดต่อ
ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้ความร่วมมือ ยินยอม หรือรู้เห็นเป็นใจให้มีการกระ
ทําความผิดตามมาตรา 14 ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่น
เดียวกับผู้กระทําความผิดตามมาตรา 14
ให้รัฐมนตรีออกประกาศกําหนดขั้นตอนการแจ้งเตือน การระงับการทําให้แพร่หลายของข้อมูล
คอมพิวเตอร์ และการนําข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์
ถ้าผู้ให้บริการพิสูจน์ได้ว่าตนได้ปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามวรรคสอง ผู้นั้นไม่ต้อง
รับโทษ
ถึงได้เลขทะเบียนผลิตภัณฑ์
จากอย.แล้ว ก็ยังโฆษณาไม่ได้
(ยกเว้นเครื่องสําอาง)
โฆษณาแต่ละชิ้น ต้องขอ
อนุญาตโฆษณาจากอย.
โดยในโฆษณาจะต้องแสดง
เลขที่อนุญาตโฆษณาแสดงให้
เห็นด้วย
ประกาศ อย. เรื่องหลักเกณฑ์ในการโฆษณาอาหาร พ.ศ 2561
เป็นประกาศที่ระบุรายละเอียดตามมาตรา 40 (ห้ามโฆษณาเรื่องอะไรบ้าง) และมาตรา 41
(เรื่องที่โฆษณาได้และต้องขออนุญาตมีหลักเกณฑ์อย่างไร) ของพ.ร.บ.อาหาร 2522
“การโฆษณาอาหาร” หมายความถึงการกระทําด้วยวิธีการใดๆ ให้
ประชาชนเห็นหรือทราบข้อความเกี่ยวกับอาหาร ส่วนประกอบของ
อาหาร เพื่อประโยชน์ทางการค้า
“ข้อความ” หมายความรวมถึง ข้อความ ข้อความเสียง เสียง
ภาพ รูปภาพ รอยประดิษฐ์ เครื่องหมายสัญลักษณ์ หรือการกระ
ทําอื่นใดที่เข้าใจได้ในความหมาย
ประกาศ อย. เรื่องหลักเกณฑ์ในการโฆษณาอาหาร พ.ศ 2561
การโฆษณาอาหารต้องไม่ใช้ข้อความในลักษณะไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค หรือ
ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนรวม
● ข้อความที่ทําให้เข้าใจว่ามีวัตถุใดในอาหารหรือเป็นส่วนประกอบของอาหาร
ซึ่งความจริงไม่มี หรือมีแต่ไม่เท่าที่ทําให้เข้าใจตามที่โฆษณา
● ข้อความที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดหรือไม่เข้าใจลักษณะหรือวิธีการบริโภค
อาหาร
● ข้อความที่เป็นการแนะนํา รับรองหรือยกย่องคุณประโยชน์ คุณภาพหรือ
สรรพคุณของอาหารโดยบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขหรือผู้ที่
อ้างตนหรือแสดงตนหรือทําให้เข้าใจว่าเป็นบุคลากรทางการแพทย์และ
สาธารณสุข
● ข้อความที่เป็นการเปรียบเทียบหรือทับถมผลิตภัณฑ์ของผู้อื่น
ประกาศ อย. เรื่องหลักเกณฑ์ในการโฆษณาอาหาร พ.ศ 2561
การโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหารต้องไม่มีลักษณะที่
เป็นเท็จหรือหลอกลวงให้เกิดความหลงเชื่อโดยไม่สมควร
● ทําให้เข้าใจว่าสามารถบําบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค ความเจ็บป่วย หรือ
อาการของโรค
● ทําให้เข้าใจว่ามีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของร่างกาย หน้าที่การทํางานของอวัยวะ หรือระบบการ
ทํางานของร่างกาย
● ทําให้เข้าใจว่าบํารุงกาม บํารุงเพศ หรือเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์
● ทําให้เข้าใจว่าเพื่อบํารุงผิวพรรณหรือเพื่อความสวยงาม
● ทําให้เข้าใจว่ามีผลต่อการลดนํ้าหนักหรือลดความอ้วน (เว้นแต่กรณีอาหารสําหรับผู้
ที่ต้องการควบคุมนํ้าหนัก ที่ได้รับอนุญาตจากอย.)
● ทําให้เข้าใจว่ามีผลต่อการกระชับสัดส่วน ดักจับไขมัน หรืออื่นใดในทํานองเดียวกัน
● ใช้หรืออ้างอิงรายงานทางวิชาการ สถิติ ที่ยังไม่ผ่านการประเมินการกล่าวอ้างทาง
สุขภาพจากอย.
ประกาศ อย. เรื่องหลักเกณฑ์ในการโฆษณาอาหาร พ.ศ 2561
● การโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหาร แม้จะเป็น
สรรพคุณที่ปรากฏบนฉลากที่ได้รับอนุมัติแล้ว ก็ต้องขออนุญาตเพื่อ
โฆษณาก่อน
● ในการโฆษณาอาหารนั้น นอกจากต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ทั่วไปในการ
โฆษณาแล้ว ยังต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เฉพาะสําหรับอหารแต่ละประเภท
ด้วย
ตัวอย่าง: อาหารสําหรับทารก อาหารสําหรับเด็กเล็ก อาหารเสริมสําหรับเด็กเล็ก
● อาหารสําหรับทารก (แรกเกิด-12 เดือน) อาหารทารกสูตรต่อเนื่องที่ระบุ
อายุ 6-12 เดือน และอาหารเสริมสําหรับทารก -- ห้ามโฆษณา
● อาหารสําหรับเด็กเล็ก (12 เดือน - 3 ปี) -- ห้ามใช้ข้อความเกี่ยวกับทารก
หรือเด็กเล็ก ที่ทําให้เข้าใจได้ว่าเป็นอาหารสําหรับทารกหรือเหมาะสมสําหรับ
ใช้เลี้ยงทารก
● อาหารเสริมสําหรับเด็กเล็ก -- ต้องไม่สื่อให้เข้าใจว่า ทารกสามารถ
รับประทานได้, ต้องไม่ทําให้เข้าใจว่า มีคุณค่าครบถ้วนเพียงพอต่อความ
ต้องการของเด็กเล็ก, ผู้แสดงแบบมีอายุ 12 เดือนขึ้นไปจนถึง 3 ปี ที่มี
รูปร่างลักษณะและพัฒนาการที่สมวัย
ดูเพิ่มใน ประกาศ อย. เรื่องหลักเกณฑ์ในการโฆษณาอาหาร พ.ศ 2561
http://www.fda.moph.go.th/sites/food/law1/sum_law.pdf (ตั้งแต่หน้า 2,683)
ตัวอย่าง: อาหารสําหรับทารก อาหารสําหรับเด็กเล็ก อาหารเสริมสําหรับเด็กเล็ก
ในการส่งเสริมการตลาดอาหารสําหรับทารกและอาหารสําหรับเด็กเล็ก ห้ามผู้ผลิต ผู้นําเข้า หรือผู้
จําหน่ายอาหารสําหรับทารกหรืออาหารสําหรับเด็กเล็ก หรือตัวแทน ดําเนินการดังต่อไปนี้
● (1) แจกหรือให้คูปองหรือสิทธิที่จะได้รับส่วนลด ขายพ่วง แลกเปลี่ยนหรือให้ของรางวัล
ของขวัญหรือสิ่งอื่นใด
● (2) แจกอาหารสําหรับทารกหรืออาหารสําหรับเด็กเล็ก หรือตัวอย่างอาหารสําหรับทารกหรือ
อาหารสําหรับเด็กเล็ก ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม
● (3) ให้อาหารสําหรับทารกหรืออาหารสําหรับเด็กเล็ก สิ่งของ หรือสิ่งอื่นใดแก่หญิงตั้งครรภ์
หญิงที่มีบุตรซึ่งเป็นทารกหรือเด็กเล็ก หรือบุคคลในครอบครัวที่มีทารกหรือเด็กเล็ก
● (4) ติดต่อหญิงตังครรภ์หรือหญิงที่มีบุตรซึ่งเป็นทารกหรือเด็กเล็ก หรือบุคคลใน
ครอบครัวที่มีทารกหรือเด็กเล็กไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เพื่อส่งเสริม สนับสนุน หรือ
แนะนําให้ใช้อาหารสําหรับทารกหรืออาหารสําหรับเด็กเล็ก หรือเพื่อสื่อให้เกิดความเชื่อมโยงกับ
อาหารสําหรับทารกหรืออาหารสําหรับเด็กเล็ก
มาตรา 18 พร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสําหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560
https://www.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=11995
เล่นเกม
แจกของ
ตัวอย่าง: นมโค ผลิตภัณฑ์ของนม นํ้านมถั่วเหลือง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
● นมโค นมปรุงแต่ง ผลิตภัณฑ์ของนม นมเปรียว เครื่องดื่มนม และนํานม
ถั่วเหลือง -- ต้องแสดงข้อความ "ควรกินอาหารหลากหลายครบ 5 หมู่
ในสัดส่วนที่เหมาะสมเป็นประจํา" หรือข้อความในทํานองเดียวกัน, ผู้แสดง
แบบต้องมีอายุเกิน 3 ปี และการพูดต้องให้ออกเสียงอย่างชัดเจน
● ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร -- ต้องแสดงข้อความ "ไม่มีผลในการป้องกันหรือ
รักษาโรค" "อ่านคําเตือนในฉลากก่อนบริโภค" "เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควร
รับประทาน", ต้องแสดงข้อความ "ควรกินอาหารหลากหลายครบ 5 หมู่ ใน
สัดส่วนที่เหมาะสมเป็นประจํา" หรือข้อความในทํานองเดียวกัน, ผู้แสดง
แบบต้องมีอายุ 15 ปีขึ้นไป และไม่ใช่สตรีมีครรภ์
ดูเพิ่มใน ประกาศ อย. เรื่องหลักเกณฑ์ในการโฆษณาอาหาร พ.ศ 2561
http://www.fda.moph.go.th/sites/food/law1/sum_law.pdf (ตั้งแต่หน้า 2,683)
https://www.facebook.com/weareoja/photos/a.
664480593637716/1414160838669684/
ตัวอย่าง: “เบียร์ไม่มีแอลกอฮอล์”
● (ความเห็นจากกระทรวงสาธารณสุขและอย.)
● ถ้าใช้คําว่า “เบียร์ไร้แอลกอฮอล์” อาจเข้าข่ายว่าโฆษณาโอ้อวดหรือเกินจริง
เพราะไม่ใช่เบียร์ (ต้องใช้คําว่า “เครื่องดื่มมอลต์ปราศจากแอลกอฮอล์”)
● เครื่องดื่มมอลต์จัดเป็นอาหาร ถ้ามีการโฆษณาสรรพคุณ ก็ต้องขอ
อนุญาตกับอย.ก่อน (ตาม พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ. 2522)
● ถ้ามีการโฆษณาแจกแจงส่วนประกอบของอาหาร (ปริมาณแอลกอฮอล์)
สามารถทําได้เมื่อมีหลักฐานพิสูจน์ตามที่กล่าวอ้างจริง
● การโฆษณาจะต้องไม่เชื่อมโยงถึงเบียร์หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อื่น
● อย.ให้ความเห็นว่า การรีวิวผลิตภัณฑ์ เข้าข่ายเป็นการโฆษณาโดยไม่ได้รับ
อนุญาต และอย.จะดําเนินการทางกฎหมายกับผู้รีวิวต่อไป

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จะสอบได้ไหมนะ lol)

การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยการนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณาปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณาhutchzup
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)Utai Sukviwatsirikul
 
การโฆษณา ยา อาหาร เครื่องสำอาง Annoucement cosmetic drug food
การโฆษณา ยา อาหาร เครื่องสำอาง Annoucement cosmetic drug foodการโฆษณา ยา อาหาร เครื่องสำอาง Annoucement cosmetic drug food
การโฆษณา ยา อาหาร เครื่องสำอาง Annoucement cosmetic drug foodApichart Laithong
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57Utai Sukviwatsirikul
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...Utai Sukviwatsirikul
 
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด
ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด
ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาโครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาZiwapohn Peecharoensap
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตายyim2009
 

Ähnlich wie กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จะสอบได้ไหมนะ lol) (20)

การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยการนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณาปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
 
บรรยาย
บรรยายบรรยาย
บรรยาย
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
 
GPP for community pharmacist
GPP for community pharmacistGPP for community pharmacist
GPP for community pharmacist
 
การโฆษณา ยา อาหาร เครื่องสำอาง Annoucement cosmetic drug food
การโฆษณา ยา อาหาร เครื่องสำอาง Annoucement cosmetic drug foodการโฆษณา ยา อาหาร เครื่องสำอาง Annoucement cosmetic drug food
การโฆษณา ยา อาหาร เครื่องสำอาง Annoucement cosmetic drug food
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 
บท4กฎหมาย
บท4กฎหมายบท4กฎหมาย
บท4กฎหมาย
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
 
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด
ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด
ยุทธศาสตร์วิชาชีพเภสัชกรรมการตลาด
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาโครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 

Mehr von Arthit Suriyawongkul

Beyond retailer-consumer relationships
Beyond retailer-consumer relationshipsBeyond retailer-consumer relationships
Beyond retailer-consumer relationshipsArthit Suriyawongkul
 
ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
 ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล... ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...Arthit Suriyawongkul
 
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัวพ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัวArthit Suriyawongkul
 
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งRights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งArthit Suriyawongkul
 
ว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคมว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคมArthit Suriyawongkul
 
โดนอุ้มในโลกเสมือน
โดนอุ้มในโลกเสมือน โดนอุ้มในโลกเสมือน
โดนอุ้มในโลกเสมือน Arthit Suriyawongkul
 
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัลคนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัลArthit Suriyawongkul
 
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on ThailandThree-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on ThailandArthit Suriyawongkul
 
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...Arthit Suriyawongkul
 
Data Protection
 in the Age of Big Data
Data Protection
 in the Age of Big DataData Protection
 in the Age of Big Data
Data Protection
 in the Age of Big DataArthit Suriyawongkul
 
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16Arthit Suriyawongkul
 
Information Laws in Mekong Countries
Information Laws in Mekong CountriesInformation Laws in Mekong Countries
Information Laws in Mekong CountriesArthit Suriyawongkul
 
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมืองแนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมืองArthit Suriyawongkul
 
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวมการส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวมArthit Suriyawongkul
 
Cybercrime and Cybersecurity Differences
Cybercrime and Cybersecurity DifferencesCybercrime and Cybersecurity Differences
Cybercrime and Cybersecurity DifferencesArthit Suriyawongkul
 
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in ThailandDevelopment and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in ThailandArthit Suriyawongkul
 
The Junta Digital Agenda: 76 Days Later
The Junta Digital Agenda: 76 Days LaterThe Junta Digital Agenda: 76 Days Later
The Junta Digital Agenda: 76 Days LaterArthit Suriyawongkul
 
The state of Internet freedom after the coup in Thailand
The state of Internet freedom after the coup in ThailandThe state of Internet freedom after the coup in Thailand
The state of Internet freedom after the coup in ThailandArthit Suriyawongkul
 
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิดเร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิดArthit Suriyawongkul
 

Mehr von Arthit Suriyawongkul (20)

Beyond retailer-consumer relationships
Beyond retailer-consumer relationshipsBeyond retailer-consumer relationships
Beyond retailer-consumer relationships
 
ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
 ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล... ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
 
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัวพ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
 
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งRights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
 
ว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคมว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคม
 
โดนอุ้มในโลกเสมือน
โดนอุ้มในโลกเสมือน โดนอุ้มในโลกเสมือน
โดนอุ้มในโลกเสมือน
 
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัลคนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
 
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on ThailandThree-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
 
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
 
Data Protection
 in the Age of Big Data
Data Protection
 in the Age of Big DataData Protection
 in the Age of Big Data
Data Protection
 in the Age of Big Data
 
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
 
Information Laws in Mekong Countries
Information Laws in Mekong CountriesInformation Laws in Mekong Countries
Information Laws in Mekong Countries
 
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมืองแนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
 
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวมการส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
 
Cybercrime and Cybersecurity Differences
Cybercrime and Cybersecurity DifferencesCybercrime and Cybersecurity Differences
Cybercrime and Cybersecurity Differences
 
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in ThailandDevelopment and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
 
Thailand on LINE
Thailand on LINEThailand on LINE
Thailand on LINE
 
The Junta Digital Agenda: 76 Days Later
The Junta Digital Agenda: 76 Days LaterThe Junta Digital Agenda: 76 Days Later
The Junta Digital Agenda: 76 Days Later
 
The state of Internet freedom after the coup in Thailand
The state of Internet freedom after the coup in ThailandThe state of Internet freedom after the coup in Thailand
The state of Internet freedom after the coup in Thailand
 
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิดเร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
 

กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จะสอบได้ไหมนะ lol)

  • 1. 1. พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 แก้ไขล่าสุด พ.ศ. 2556 2. พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทําความ ผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (2560) พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 (2558) ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคล พ.ศ. …. กฎหมายเกี่ยวกับ เนื้อหาและโฆษณา ออนไลน์ 3. พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ. 2522 ประกาศ อย. เรื่อง หลักเกณฑ์การโฆษณาอาหาร พ.ศ. 2561 ประกาศ อย. เรื่อง หลักเกณฑ์การโฆษณาเครื่องดื่มที่ ผสมกาเฟอีน พ.ศ. 2555 พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 (2562) พ.ร.บ.เครื่องมือแพทย์ พ.ศ. 2551 พ.ร.บ.เครื่องสําอาง พ.ศ. 2535 (2558) พร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหาร สําหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560 พรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 พ.ร.บ.ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท พ.ศ. 2518 พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (2562) ประกาศ คปภ. เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการออก การเสนอ ขายกรมธรรม์ประกันภัยของบริษัทประกันวินาศภัยฯ พ.ศ. 2561 ……... สิทธิในการได้ รับข้อมูล อย่างถูก ต้อง ไม่ชวน ให้เข้าใจผิด SPAM, การ เผยแพร่ข้อมูล คอมพิวเตอร์ อันเป็นเท็จ หรือโดย เจ้าของลิขสิทธิ์ ไม่ได้อนุญาต หรือโดย เจ้าของข้อมูล ส่วนบุคคลไม่ ได้ยินยอม หลักปฏิบัติ หลักเกณฑ์ การขออนุญาต ตามประเภทสินค้าและ บริการ (มีมากกว่านี้)
  • 4. พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ - มาตรา 11 - SPAM ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือ ปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบ คอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นอันมีลักษณะเป็นการ ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรําคาญแก่ผู้รับข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับสามารถบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับ ได้โดยง่าย ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท ให้รัฐมนตรีออกประกาศกําหนดลักษณะและวิธีการส่ง รวมทั้งลักษณะและปริมาณของ ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งไม่เป็นการก่อให้เกิดความเดือดร้อน รําคาญแก่ผู้รับ และลักษณะอันเป็นการบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการ ตอบรับได้โดยง่าย
  • 5. พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ - มาตรา 14 - “เนื้อหา” ที่เป็นความผิด ผู้ใดกระทําความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ง แสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (1) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ บิดเบือนหรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดย ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน อันมิใช่การกระทําความผิดฐานหมิ่นประมาท ตามประมวลกฎหมายอาญา (2) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิด ความเสียหายต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะ ของประเทศ หรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน (3) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความ มั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา ในกรณีที่เคย เกิดขึ้น นิติกร ของอย.อาจ ฟ้องตามพ.ร.บ. ของผลิตภัณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง (อาหาร, ยา, ฯลฯ) ร่วมกับ มาตรา 14 ของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
  • 6. พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ - มาตรา 14 - “เนื้อหา” ที่เป็นความผิด (ต่อ) (4) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูล คอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ (5) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตาม (1) (2) (3) หรือ (4) ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่ง (1) มิได้กระทําต่อประชาชน แต่เป็นการกระทําต่อ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ผู้กระทํา ผู้เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ดังกล่าวต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และให้ เป็นความผิดอันยอมความได้
  • 7. พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ - มาตรา 15 - ความรับผิดของผู้ให้บริการ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้ความร่วมมือ ยินยอม หรือรู้เห็นเป็นใจให้มี การกระทําความผิดตามมาตรา 14 ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทําความผิดตามมาตรา 14 ให้รัฐมนตรีออกประกาศกําหนดขั้นตอนการแจ้งเตือน การระงับการทําให้แพร่หลายของ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ และการนําข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ ถ้าผู้ให้บริการพิสูจน์ได้ว่าตนได้ปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามวรรคสอง ผู้ นั้นไม่ต้องรับโทษ เจ้าของเพจ บนเฟซบุ๊กก็อาจ ถูกตีความ ว่าเป็นผู้ให้ บริการได้
  • 8. พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ - มาตรา 16 - ภาพตัดต่อ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้ความร่วมมือ ยินยอม หรือรู้เห็นเป็นใจให้มีการกระ ทําความผิดตามมาตรา 14 ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่น เดียวกับผู้กระทําความผิดตามมาตรา 14 ให้รัฐมนตรีออกประกาศกําหนดขั้นตอนการแจ้งเตือน การระงับการทําให้แพร่หลายของข้อมูล คอมพิวเตอร์ และการนําข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ ถ้าผู้ให้บริการพิสูจน์ได้ว่าตนได้ปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามวรรคสอง ผู้นั้นไม่ต้อง รับโทษ
  • 10. ประกาศ อย. เรื่องหลักเกณฑ์ในการโฆษณาอาหาร พ.ศ 2561 เป็นประกาศที่ระบุรายละเอียดตามมาตรา 40 (ห้ามโฆษณาเรื่องอะไรบ้าง) และมาตรา 41 (เรื่องที่โฆษณาได้และต้องขออนุญาตมีหลักเกณฑ์อย่างไร) ของพ.ร.บ.อาหาร 2522 “การโฆษณาอาหาร” หมายความถึงการกระทําด้วยวิธีการใดๆ ให้ ประชาชนเห็นหรือทราบข้อความเกี่ยวกับอาหาร ส่วนประกอบของ อาหาร เพื่อประโยชน์ทางการค้า “ข้อความ” หมายความรวมถึง ข้อความ ข้อความเสียง เสียง ภาพ รูปภาพ รอยประดิษฐ์ เครื่องหมายสัญลักษณ์ หรือการกระ ทําอื่นใดที่เข้าใจได้ในความหมาย
  • 11. ประกาศ อย. เรื่องหลักเกณฑ์ในการโฆษณาอาหาร พ.ศ 2561 การโฆษณาอาหารต้องไม่ใช้ข้อความในลักษณะไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค หรือ ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนรวม ● ข้อความที่ทําให้เข้าใจว่ามีวัตถุใดในอาหารหรือเป็นส่วนประกอบของอาหาร ซึ่งความจริงไม่มี หรือมีแต่ไม่เท่าที่ทําให้เข้าใจตามที่โฆษณา ● ข้อความที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดหรือไม่เข้าใจลักษณะหรือวิธีการบริโภค อาหาร ● ข้อความที่เป็นการแนะนํา รับรองหรือยกย่องคุณประโยชน์ คุณภาพหรือ สรรพคุณของอาหารโดยบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขหรือผู้ที่ อ้างตนหรือแสดงตนหรือทําให้เข้าใจว่าเป็นบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุข ● ข้อความที่เป็นการเปรียบเทียบหรือทับถมผลิตภัณฑ์ของผู้อื่น
  • 12. ประกาศ อย. เรื่องหลักเกณฑ์ในการโฆษณาอาหาร พ.ศ 2561 การโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหารต้องไม่มีลักษณะที่ เป็นเท็จหรือหลอกลวงให้เกิดความหลงเชื่อโดยไม่สมควร ● ทําให้เข้าใจว่าสามารถบําบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค ความเจ็บป่วย หรือ อาการของโรค ● ทําให้เข้าใจว่ามีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของร่างกาย หน้าที่การทํางานของอวัยวะ หรือระบบการ ทํางานของร่างกาย ● ทําให้เข้าใจว่าบํารุงกาม บํารุงเพศ หรือเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ ● ทําให้เข้าใจว่าเพื่อบํารุงผิวพรรณหรือเพื่อความสวยงาม ● ทําให้เข้าใจว่ามีผลต่อการลดนํ้าหนักหรือลดความอ้วน (เว้นแต่กรณีอาหารสําหรับผู้ ที่ต้องการควบคุมนํ้าหนัก ที่ได้รับอนุญาตจากอย.) ● ทําให้เข้าใจว่ามีผลต่อการกระชับสัดส่วน ดักจับไขมัน หรืออื่นใดในทํานองเดียวกัน ● ใช้หรืออ้างอิงรายงานทางวิชาการ สถิติ ที่ยังไม่ผ่านการประเมินการกล่าวอ้างทาง สุขภาพจากอย.
  • 13. ประกาศ อย. เรื่องหลักเกณฑ์ในการโฆษณาอาหาร พ.ศ 2561 ● การโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหาร แม้จะเป็น สรรพคุณที่ปรากฏบนฉลากที่ได้รับอนุมัติแล้ว ก็ต้องขออนุญาตเพื่อ โฆษณาก่อน ● ในการโฆษณาอาหารนั้น นอกจากต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ทั่วไปในการ โฆษณาแล้ว ยังต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เฉพาะสําหรับอหารแต่ละประเภท ด้วย
  • 14. ตัวอย่าง: อาหารสําหรับทารก อาหารสําหรับเด็กเล็ก อาหารเสริมสําหรับเด็กเล็ก ● อาหารสําหรับทารก (แรกเกิด-12 เดือน) อาหารทารกสูตรต่อเนื่องที่ระบุ อายุ 6-12 เดือน และอาหารเสริมสําหรับทารก -- ห้ามโฆษณา ● อาหารสําหรับเด็กเล็ก (12 เดือน - 3 ปี) -- ห้ามใช้ข้อความเกี่ยวกับทารก หรือเด็กเล็ก ที่ทําให้เข้าใจได้ว่าเป็นอาหารสําหรับทารกหรือเหมาะสมสําหรับ ใช้เลี้ยงทารก ● อาหารเสริมสําหรับเด็กเล็ก -- ต้องไม่สื่อให้เข้าใจว่า ทารกสามารถ รับประทานได้, ต้องไม่ทําให้เข้าใจว่า มีคุณค่าครบถ้วนเพียงพอต่อความ ต้องการของเด็กเล็ก, ผู้แสดงแบบมีอายุ 12 เดือนขึ้นไปจนถึง 3 ปี ที่มี รูปร่างลักษณะและพัฒนาการที่สมวัย ดูเพิ่มใน ประกาศ อย. เรื่องหลักเกณฑ์ในการโฆษณาอาหาร พ.ศ 2561 http://www.fda.moph.go.th/sites/food/law1/sum_law.pdf (ตั้งแต่หน้า 2,683)
  • 15. ตัวอย่าง: อาหารสําหรับทารก อาหารสําหรับเด็กเล็ก อาหารเสริมสําหรับเด็กเล็ก ในการส่งเสริมการตลาดอาหารสําหรับทารกและอาหารสําหรับเด็กเล็ก ห้ามผู้ผลิต ผู้นําเข้า หรือผู้ จําหน่ายอาหารสําหรับทารกหรืออาหารสําหรับเด็กเล็ก หรือตัวแทน ดําเนินการดังต่อไปนี้ ● (1) แจกหรือให้คูปองหรือสิทธิที่จะได้รับส่วนลด ขายพ่วง แลกเปลี่ยนหรือให้ของรางวัล ของขวัญหรือสิ่งอื่นใด ● (2) แจกอาหารสําหรับทารกหรืออาหารสําหรับเด็กเล็ก หรือตัวอย่างอาหารสําหรับทารกหรือ อาหารสําหรับเด็กเล็ก ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม ● (3) ให้อาหารสําหรับทารกหรืออาหารสําหรับเด็กเล็ก สิ่งของ หรือสิ่งอื่นใดแก่หญิงตั้งครรภ์ หญิงที่มีบุตรซึ่งเป็นทารกหรือเด็กเล็ก หรือบุคคลในครอบครัวที่มีทารกหรือเด็กเล็ก ● (4) ติดต่อหญิงตังครรภ์หรือหญิงที่มีบุตรซึ่งเป็นทารกหรือเด็กเล็ก หรือบุคคลใน ครอบครัวที่มีทารกหรือเด็กเล็กไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เพื่อส่งเสริม สนับสนุน หรือ แนะนําให้ใช้อาหารสําหรับทารกหรืออาหารสําหรับเด็กเล็ก หรือเพื่อสื่อให้เกิดความเชื่อมโยงกับ อาหารสําหรับทารกหรืออาหารสําหรับเด็กเล็ก มาตรา 18 พร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสําหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560 https://www.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=11995 เล่นเกม แจกของ
  • 16. ตัวอย่าง: นมโค ผลิตภัณฑ์ของนม นํ้านมถั่วเหลือง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ● นมโค นมปรุงแต่ง ผลิตภัณฑ์ของนม นมเปรียว เครื่องดื่มนม และนํานม ถั่วเหลือง -- ต้องแสดงข้อความ "ควรกินอาหารหลากหลายครบ 5 หมู่ ในสัดส่วนที่เหมาะสมเป็นประจํา" หรือข้อความในทํานองเดียวกัน, ผู้แสดง แบบต้องมีอายุเกิน 3 ปี และการพูดต้องให้ออกเสียงอย่างชัดเจน ● ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร -- ต้องแสดงข้อความ "ไม่มีผลในการป้องกันหรือ รักษาโรค" "อ่านคําเตือนในฉลากก่อนบริโภค" "เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควร รับประทาน", ต้องแสดงข้อความ "ควรกินอาหารหลากหลายครบ 5 หมู่ ใน สัดส่วนที่เหมาะสมเป็นประจํา" หรือข้อความในทํานองเดียวกัน, ผู้แสดง แบบต้องมีอายุ 15 ปีขึ้นไป และไม่ใช่สตรีมีครรภ์ ดูเพิ่มใน ประกาศ อย. เรื่องหลักเกณฑ์ในการโฆษณาอาหาร พ.ศ 2561 http://www.fda.moph.go.th/sites/food/law1/sum_law.pdf (ตั้งแต่หน้า 2,683)
  • 18. ตัวอย่าง: “เบียร์ไม่มีแอลกอฮอล์” ● (ความเห็นจากกระทรวงสาธารณสุขและอย.) ● ถ้าใช้คําว่า “เบียร์ไร้แอลกอฮอล์” อาจเข้าข่ายว่าโฆษณาโอ้อวดหรือเกินจริง เพราะไม่ใช่เบียร์ (ต้องใช้คําว่า “เครื่องดื่มมอลต์ปราศจากแอลกอฮอล์”) ● เครื่องดื่มมอลต์จัดเป็นอาหาร ถ้ามีการโฆษณาสรรพคุณ ก็ต้องขอ อนุญาตกับอย.ก่อน (ตาม พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ. 2522) ● ถ้ามีการโฆษณาแจกแจงส่วนประกอบของอาหาร (ปริมาณแอลกอฮอล์) สามารถทําได้เมื่อมีหลักฐานพิสูจน์ตามที่กล่าวอ้างจริง ● การโฆษณาจะต้องไม่เชื่อมโยงถึงเบียร์หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อื่น ● อย.ให้ความเห็นว่า การรีวิวผลิตภัณฑ์ เข้าข่ายเป็นการโฆษณาโดยไม่ได้รับ อนุญาต และอย.จะดําเนินการทางกฎหมายกับผู้รีวิวต่อไป