Start
Entdecken
Suche senden
Hochladen
Einloggen
Registrieren
Anzeige
Anzeige
Nächste SlideShare
ทักษะการคิด
Wird geladen in ... 3
1
von
7
Top clipped slide
บทความ
15. Mar 2013
•
0 gefällt mir
1 gefällt mir
×
Sei der Erste, dem dies gefällt
Mehr anzeigen
•
2,128 Aufrufe
Aufrufe
×
Aufrufe insgesamt
0
Auf Slideshare
0
Aus Einbettungen
0
Anzahl der Einbettungen
0
Jetzt herunterladen
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Melden
aorchalisa
Folgen
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Recomendados
ทักษะการคิด
Napakan Srionlar
20.4K Aufrufe
•
3 Folien
บทความวิชาการ
Supattra Rakchat
5.5K Aufrufe
•
10 Folien
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
Note Na-ngam
18K Aufrufe
•
53 Folien
งานนำเสนอ Thinking
เชียร์ นะมาตย์
897 Aufrufe
•
67 Folien
58210401110 งาน1 ss
ศุภกร หาญกุล
5.5K Aufrufe
•
91 Folien
การวัดความสามารถในการคิด
Wuttipong Tubkrathok
6.5K Aufrufe
•
42 Folien
Más contenido relacionado
Presentaciones para ti
(17)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
Namchai
•
3.3K Aufrufe
Mm100
Korn Pornprasertpattra
•
447 Aufrufe
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
Sununtha Putpun
•
6K Aufrufe
พหุปัญญา
Proud N. Boonrak
•
1.4K Aufrufe
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
Boukee Singlee
•
20.3K Aufrufe
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
chamriang
•
11.1K Aufrufe
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
rubtumproject.com
•
6.2K Aufrufe
ความคิดสร้างสรรค์
Surapon Boonlue
•
12.3K Aufrufe
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
สุรจักษ์ ชีวิตคือการเรียนรู้
•
4.4K Aufrufe
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
Wichit Thepprasit
•
66 Aufrufe
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
saengpet
•
2.3K Aufrufe
วิธีคิดกระบวนระบบ
sivapong klongpanich
•
672 Aufrufe
Presentation1
olivemu
•
4.8K Aufrufe
Knowledge management
Wai Chamornmarn
•
1.3K Aufrufe
งานนำเสนอ1
masitah yudee
•
1.4K Aufrufe
บทที่12(d) MindMapping
Sakda Hwankaew
•
1.8K Aufrufe
093โยนิโส มนสิการ
niralai
•
1.6K Aufrufe
Similar a บทความ
(20)
Thinking
0819741995
•
3K Aufrufe
Thinking
0819741995
•
771 Aufrufe
งานนำเสนอ Thinking
เชียร์ นะมาตย์
•
378 Aufrufe
Thinking
0819741995
•
218 Aufrufe
เด็กปัญญาเลิศ....11
Benjarat Meechalat
•
21.8K Aufrufe
บทความทางวิชาการ
ขวัญ ฤทัย
•
6.3K Aufrufe
บทความทางวิชาการ
ขวัญ ฤทัย
•
124.5K Aufrufe
Expand
Aon Narinchoti
•
7.8K Aufrufe
Technology Of Participation(Top)
Mickey Toon Luffy
•
2.2K Aufrufe
การจัดการการเรียนรู้
uncasanova
•
504 Aufrufe
51105
Chayapa Parawong
•
298 Aufrufe
Pys3 pbl
Kanchana Phuangmali
•
272 Aufrufe
Pys3 pbl
Kanchana Phuangmali
•
222 Aufrufe
Pys3 pbl
Kanchana Phuangmali
•
118 Aufrufe
งานวิจัยเผยแพร่
Jiraporn
•
27.8K Aufrufe
เฟียเจท์ 1
ya035
•
240 Aufrufe
เฟียเจท์ 1
Rorsed Mardra
•
130 Aufrufe
เฟียเจท์ 1
Rorsed Mardra
•
185 Aufrufe
เฟ ยเจท 1
ya035
•
254 Aufrufe
เฟียเจท์ 1
ya035
•
866 Aufrufe
Anzeige
บทความ
บทความเรื่อง การคิดแก้ปัญหา ความรู้ เบืองต้
นเกียวกับการคิด ้ ่ การคิดเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมองที่ใช้สัญลักษณ์หรื อภาพแทนสิ่ งของ เหตุการณ์หรื อ สถานการณ์ต่าง ๆโดยมีการจัดระบบความรู ้ ข้อมูล ข่าวสารซึ่ งเป็ นประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ หรื อสิ่ งเร้าใหม่ ที่ไปได้ ทั้งใน รู ปแบบ ธรรมดาและสลับซับซ้อน ผลจากการจัดระบบสามารถ แสดงออกได้ หลายลักษณะ เช่น การให้เหตุผลการแก้ปัญหาต่าง ๆ เนื่ องจากการคิดเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมอง เรา จึงควรที่จะทราบเกี่ยวกับสมอง เช่นโครงสร้างทางสมอง และพิจารณาว่ามีความสัมพันธ์กบการคิดใน ั ลักษณะใดบ้าง ความหมายการคิด ความหมายของการคิด ได้รับการบัญญัติข้ ึนมาจากนักจิตวิทยาและนักวิชาการทั้งชาวไทยและชาว ต่างประเทศหลายท่านตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบน ซึ่ งได้รวบรวมไว้เป็ นบ้างส่ วนดังนี้ ั ่ ก่อ สวัสดิพาณิ ชย์ (2506) อธิ บายไว้วา การคิดคือ พฤติกรรมทางจิตใจซึ่ งมีแนวทางอันแน่วแน่ พฤติกรรมเหล่านี้เกิดจากปั ญหาที่ตองแก้ไข การแก้ปัญหานั้นต้องอาศัยนามธรรม และสัญลักษณ์เป็ นส่ วน ้ ใหญ่ การคิดจะจบลงด้วยการสรุ ปผลในขั้นสุ ดท้าย แนวคิดนี้สอดคล้องกับแนวคิดของนักจิตวิทยา ต่างประเทศท่านหนึ่ง คือ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) ที่คิดว่า การคิดจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีความสับสนวุนวาย ่ สงสัย หรื อเกิดคับข้องใจ หรื อขัดแย้งในใจ หลังจากนั้นจึงจะเกิดพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อค้นหาวิธีการแก้ปัญหา หรื อขจัดสิ่ งที่เกิดสงสัยนั้น จึงอาจกล่าอีกนัยหนึ่งได้วา การคิดจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีปัญหานันเอง ่ ่ ชูชีพ อ่อนโคกสู ง (2518) กล่าวว่า การคิดเป็ นกระบวนการที่มีสัญลักษณ์หรื อภาพของสิ่ งของหรื อ สถานการณ์ต่าง ๆ มาปรากฏในแนวคิด (Idea)หรื อจิตใจ (Mild) โกวิท ประวาลพฤกษ์ (2523) ให้แนวคิดว่า คนที่คิดเก่งแต่มีความรู ้สึกไม่ดีไม่ถูกต้องตามทานอง คลองทา ไม่ลงมือกระทาตามความคิด ไม่กล้าที่จะทา หรื อบุคคลที่มีความรู ้สึกที่ดีแต่คิดไม่ถูกต้องด้วย เหตุผล ไม่ลงมือกระทา อยูเ่ ฉย ๆ เพียงเพื่อให้เกิดความรู ้สึกที่ดีเท่านั้น เรี ยกว่า ไม่ถูกต้องสมบูรณ์ ความ สมบูรณ์รอบด้านจาเป็ นที่จะต้องมีความคิด ความรู้สึก และการกระทาที่มีความสัมพันธ์กน ั ่ ทองหล่อ วงษ์สินทร์ (2523) อธิ บายไว้วา การคิดหมายถึง กระบวนการสร้างสัญลักษณ์หรื อภาพให้ ปรากฏในสมอง ประสาท พรปรี ดา (2523) กล่าวว่า การคิดเป็ นพฤติกรรมภายในที่มีความสลับซับซ้อน จะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อมนุษย์ได้มีการพัฒนาทางสติปัญญาในระดับสู งเท่านั้น ชาติ แจ่มนุช (2545) ได้ให้ความหมายของการคิดไว้ 2 ลักษณะ ดังต่อไปนี้ 1. การคิดเป็ นกระบวนการทางานของสมองโดยใช้ประสบการณ์มาสัมผัสกับสิ่ งเร้าและข้อมูลหรื อ สิ่ งแวดล้อม เพื่อแก้ปัญหา แสวงหาคาตอบ ตัดสิ นใจหรื อสร้างสรรค์สิ่งใหม่
2. การคิดเป็ นพฤตกรรมที่เกิดในสมอง
เป็ นนามธรรมที่ไม่สามารถมองเห็นได้ดวยตาเปล่า การจะรู ้ ้ ว่ามนุษย์คิดอะไร คิดอย่างไร จะต้องสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดง และสามารถควบคุมให้คิดจนบรรลุ เป้ าหมายได้ ่ ฌอน เพียเจท์ (jean Piaget: 1964) อธิ บายไว้วา การคิดคือ การปฏิบติการทางสมองการที่ลกษณะ ั ั ความคิดของเด็กและผูใหญ่มีความแตกต่างกัน เพราะปฏิบติการทางสมองแตกต่างกัน เขายังมีความเห็นว่า ้ ั การปฏิบติการทางสมองคือ การที่สมองแปลงความรู ้ใหม่ให้เหมาะสมที่จะเก็บเข้าที่ทาง (Acommodation) ั ดังนั้นเมื่อสมองทางานจึงต้องมีกระบวนการคู่เกิดขึ้นเสมอ คือการรับ (Assimilation) และการเก็บ (Accommodation) เพื่อเก็บความรู ้ใหม่ไปปรุ งแต่งแบบแห่งความคิด (Thought Pattern) และทาหน้าที่แปลง ่ (Transform) สิ่ งใหม่ที่เข้ามาโดยอาศัยความรู ้เดิมที่มีอยูแล้ว จากนั้นจึงเก็บความรู ้ใหม่ท่ีเข้าที่เข้าทางแล้วให้ เป็ นระบบ ฮิลการ์ด (Hilgard ) กล่าวว่า การคิดเป็ นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสมองอันเนื่ องมาจากการใช้ สัญลักษณ์แทนสิ่ งของ เหตุการณ์หรื อ สถานการณ์ ต่าง ๆ บรู โน (Bruno ) กล่าวว่า การคิดเป็ นกระบวนการทางสมองที่ใช้สัญลักษณ์จินตภาพ ความคิดเห็น และความคิด รวบยอด แทนประสบการณ์ในอดีต ความเป็ นไปได้ในอนาคต และความเป็ นจริ งที่ปรากฏ การคิดจึงทาให้คนเรา มีกระบวนการ ทางสมองในระดับสู ง กระบวนการเหล่านี้ได้แก่ ตรรกศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ ภาษา จินตนาการ ความใส่ ใจ เชาวน์ปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ และอื่นๆ มากาเรต ดับบลิว แมทลิน (Matlin ) กล่าวว่า การคิดเป็ นกิจกรรมทางสมอง เป็ นกระบวนการทาง ปัญญา ซึ่งประกอบด้วย การสัมผัส การรับรู้ การรวบรวม การจา การรื้ อฟื้ นข้อมูลเก่าหรื อประสบการณ์ โดย ั ที่บุคคลนาข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เก็บไว้เป็ นระบบ การคิดเป็ นการจัด รู ปแบบของข้อมูลข่าวสารใหม่กบ ข้อมูลเก่า ผลจากการจัดสามารถแสดงออกมาภายนอกให้ผอื่นรับรู ้ได้ ู้ ่ สรุ ปได้วาการคิดเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมองที่ใช้สัญลักษณ์หรื อภาพแทนสิ่ งของ เหตุการณ์ หรื อสถานการณ์ต่าง ๆ โดยมี การจัดระบบความรู ้ ข้อมูล ข่าวสารซึ่ งเป็ นประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ ใหม่หรื อสิ่ งเร้าใหม่ ที่ไปได้ ทั้งใน รู ปแบบ ธรรมดาและ สลับซับซ้อน ผลจากการจัดระบบสามารถ แสดงออกได้หลายลักษณะ เช่น การให้เหตุผลการแก้ปัญหาต่าง ๆ เนื่ องจากการคิดเป็ น กระบวนการที่ เกิดขึ้นในสมอง เราจึงควรที่จะทราบเกี่ยวกับสมอง เช่นโครงสร้างทางสมอง และพิจารณาว่ามี ั ความสัมพันธ์กบ การคิดในลักษณะใดบ้าง
ทักษะการคิด
ความหมายของทักษะการคิด ทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกหรื อแสดงพฤติกรรมของการใช้ ความคิดอย่างชานิชานาญ ซึ่ งแต่ละคนจะมีทกษะการคิดที่แตกต่างกัน บางคนสามารถคิดได้เร็ ว ถูกต้องเป็ น ั ขั้นเป็ นตอน บางคนคิดได้ชา ผิดพลาด สับสน แต่อย่างไรก็ตามทักษะการคิดเป็ นสิ่ งที่สามารถพัฒนาและ ้ ฝึ กฝนได้ บุคคลใดได้รับการพัฒนาและฝึ กอย่างชานิชานาญก็จะมีทกษะการคิดเพิ่มมากขึ้น ระดับของการคิด ั สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ระดับ คือ 1. ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน (Basic thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิดโดยทัว ๆ ไป ่ เป็ นการคิดที่ไม่สลับซับซ้อนมากมาย เป็ นทักษะที่ใช้เป็ นพื้นฐานที่จะนาไปใช้ในการคิดในชีวตประจาวัน ิ โดยทัว ๆ ไปของมนุษย์ ส่ วนใหญ่จะเป็ นทักษะการสื่ อสารและสื่ อความหมายต่าง ๆ ที่บุคคลทุกคนจาเป็ นที่ ่ จะใช้ในการรับสารที่แสดงความคิดของผูอื่นเข้ามารับรู้ ตีความจดจา และถ่ายทอดความคิดของตนให้แก่ ้ ผูอื่น ประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ ดังนี้ ้ - การจด - การจา - การอ่าน - การฟัง - การบรรยาย - การอธิ บาย - การเขียน - การพูด - การแสดงออก - การบอกความรู้ - การเล่า - การบอกความรู้สึก 2. ทักษะการคิดที่เป็ นแกน (Core thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่ตองใช้ในการ ้ ตัดสิ นใจและแก้ปัญหาทัว ๆ ไปในชีวตประจาวันและเป็ นพื้นฐานของการคิดระดับสู งที่มีความซับซ้อนซึ่ง ่ ิ คนเราจาเป็ นต้องใช้ในการเรี ยนรู ้เนื้ อหาวิชาการต่าง ๆ ตลอดจนการใช้ชีวตอย่างมีคุณภาพประกอบด้วย ิ ทักษะต่าง ๆ ดังนี้ - การสังเกต - การสารวจ - การถาม - การเก็บรวบรวมข้อมูล - การจาแนกแยกแยะ - การจัดหมวกหมู่ - การเปรี ยบเทียบ - การเรี ยงลาดับ - การเชื่อมโยง - การแปล - การขยายความ - การตีความ - การให้เหตุผล - การสรุ ปย่อ - การสรุ ปอ้างอิง
3. ทักษะการคิดขั้นสู ง
(Higher-ordered thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่มีข้ นตอน ั หลายขั้นต้องอาศัยทักษะการสื่ อสารและสื่ อความหมายและทักษะการคิดที่เป็ นแกนหลาย ๆ ทักษะในแต่ละ ขั้น ดังนั้น ทักษะการคิดขั้นสู งจะพัฒนาได้เมื่อเด็กได้พฒนาทักษะการคิดพื้นฐานจนมีความชานาญ ั พอสมควรแล้ว ประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ ดังนี้ - การแก้ปัญหา - การคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ - การคิดตัดสิ นใจ - การวางแผน - การสรุ ปความ - การนิยาม - การวิเคราะห์ - การแก้ไขปรับปรุ ง - การจัดระบบความคิด - การคาดคะเน - การพยากรณ์ - การตั้งสมมติฐาน - การทดสอบสมมติฐาน - การประยุกต์ความรู้ - การพิสูจน์ความจริ ง การประยุกต์รูปแบบการคิดที่เหมาะสมกับสังคมไทย (เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญศักดิ์, 2545 : 4-20) มีลกษณะต่างกัน 10 มิติ ดังนี้ ั 1. การคิดในเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) หมายถึง ความตั้งใจ ที่จะพิจารณาตัดสิ น เรื่ องใดเรื่ องหนึ่งโดยการไม่เห็นคล้อยตามข้อเสนออย่างง่าย ๆ แต่ต้ งคาถามท้าทายหรื อโต้แย้งสมมติฐาน ั และข้อสมมติฐานที่อยูเ่ บื้องหลัง และพยายามเปิ ดแนวทางความคิดออกสู่ ทางต่าง ๆ ที่แตกต่างจาก ข้อเสนอนั้นเพื่อให้สามารถได้คาตอบที่สมเหตุ สมผลมากกว่าข้อเสนอเดิม 2. การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) หมายถึง การจาแนกแจกแจงองค์ประกอบ ต่าง ๆ ของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งหรื อเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบ เหล่านั้นเพื่อค้นหาสาเหตุสาเหตุที่แท้จริ งของสิ่ งที่เกิดขึ้น 3. การคิดเชิงสังเคราะห์ (Synthesis Type Thinking) หมายถึง ความสามารถในการดึง องค์ประกอบต่าง ๆ มาผสมผสานเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้สิ่งใหม่ตามวัตถุประสงค์ที่ตองการ ้ 4. ความสามารถในการคิดเชิงเปรี ยบเทียบ (Comparative Thinking) หมายถึงการ พิจารณาเทียบเคียงความเหมือนและ/หรื อความแตกต่างระหว่างสิ่ งนั้นกับสิ่ งอื่น ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ สามารถอธิ บายเรื่ องนั้นได้อย่างชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการคิด การแก้ปัญหาหรื อการหาทางเลือกเรื่ องใด เรื่ องหนึ่ง 5. ความสามารถในการคิดเชิงมโนทัศน์ (Conceptual Thinking) หมายถึงความสามารถ ในการประสานข้อมูลทั้งหมดที่มีอยูเ่ กี่ยวกับเรื่ องหนึ่งเรื่ องใดแล้วนามาสร้างเป็ นความคิดรวบยอด 6. ความสามารถในการคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creative Thinking) หมายถึงการขยาย ขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบความคิดที่มีอยูสู่ ความคิดใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนเพื่อค้นหาตอบที่ดี ่ ั ที่สุดให้กบปั ญหาทีเกิดขึ้น
7. ความสามารถในคิดเชิงประยุกต์ (Applicative
Thinking) ความสามารถในการนาสิ่ งที่ มีอยูเ่ ดิมไปปรับใช้ประโยชน์ในบริ บทใหม่ได้อย่างเหมาะสม โดยยังคงหลักการของสิ่ งเดิมไว้ 8. ความสามารถในการคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking) หมายถึงความสามารถใน การกาหนดแนวทางที่ดีท่ีสุดภายใต้เงื่อนไข ข้อจากัดต่าง ๆ เพื่อบรรลุเป้ าหมายที่ตองการ ้ 9. การคิดเชิงบูรณาการ (Intergrative Thinking) หมายถึงความสามารถในการเชื่อมโยง แนวคิดหรื อองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าหาแกนหลักได้อย่างเหมาะสมเพื่อธิ บายหรื อให้เหตุผล สนับสนุนเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง การคิดเชิงบูรณาการเป็ นการคิดบนฐานความเข้าใจในสัจธรรมที่วาสิ่ งต่าง ๆ ่ นั้นไม่ได้อยูอย่างโดดเดี่ยว ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่ งใดแต่เชื่ อมโยงกับสิ่ งต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งสิ่ งอย่างเป็ นเหตุผล ่ ั สัมพันธ์กนทั้งเหตุผลที่เชื่ อมกันโดยตรงและโดยอ้อม ดังนั้นในการพิจารณาเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งจาเป็ นต้อง มององค์ประกอบแวดล้อมให้รอบด้านการคิดเชิงบูรณาการ จึงเป็ นเครื่ องมือที่จะช่วยให้มองเรื่ อง ๆ เดียว ได้อย่างครบถ้วนทุกมุม สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ได้อย่างมีเหตุผล ทาให้มองเห็นภาพทั้งภาพ เข้าใจ บริ บททั้งหมด ไม่ตกหล่นในประเด็นสาคัญ ๆ เมื่อเห็นการเชื่ อมโยงทั้งหมด จึงทาให้เกิดความเข้าใจและ ตัดสิ นใจไม่ผดพลาด ิ 10. ความสามารถในการคิดเชิงอนาคต (Futuristic Thinking) หมายถึงความสามารถใน การคาดการณ์สิ่งที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตอย่างมีหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม ช่วยให้ขยายขอบเขตการมองชี วตให้ ิ กว้างออกไปจากกรอบที่เคยมองแต่เพียงชีวตประจาวัน ิ หากใช้เป้ าหมายในการคิดเป็ นเกณฑ์ (ธัญญา ผลอนันต์, 2545 : 79-88) อาจจัดประเภทได้ 2 ประเภทใหญ่ คือ 1. การคิดอย่างมีเป้ าหมาย 2. การคิดอย่างไร้เป้ าหมาย ในทานองเดียวกันถ้าใช้ลกษณะทิศทางการคิดเป็ นเกณฑ์สามารถแบ่งได้ 3 ประเภท คือ ั 1. การคิดเชิงบวก ถือเป็ นสิ่ งที่ช่วยให้ผคิดมีความสุ ข ู้ 2. การคิดเชิงลบ เป็ นการคิดเพื่อความไม่ประมาท 3. การคิดเชิงคู่ขนาน เป็ นการคิดตามหลักการ ตามเหตุผล ข้อมูลที่ปรากฏ
การคิดแก้ ปัญหา
ความหมายของการแก้ปัญหา ่ การคิดแก้ปัญหา เห็นกระบวนการที่มีความเชื่ อมโยงระหว่างข้อมูลที่มีอยูในปั ญหากับตัวผู ้ แก้ปัญหา โดยนาประสบการณ์ ความรู้ ความเข้าใจ และความคิดมาประยุกต์หาวิธีการเอาชนะอุปสรรคหรื อ ปัญหาที่กาลังเผชิญอยู่ เพื่อหาคาตอบของปั ญหาในสถานการณ์ใหม่ท่ีไม่คุนเคย (ปรี ชา เนาว์เย็นผล,2544 ้ กระบวนการคิดแก้ ปัญหา Polya ได้นาเสนอกระบวนการคิดแก้ปัญหา ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้น ที่ 1 ทาความเข้าใจปั ญหา เป็ นการทบทวนปัญหาที่พบเพื่อทาความเข้าใจให้ ถ่องแท้ในประเด็นต่าง ๆ พิจารณาปัญหาที่พบเกี่ยวข้องกับอะไร มีขอมูลใดบ้างที่เกี่ยวข้อง มีเงื่อนไขหรื อ ้ ต้องการข้อมูลใดเพิ่มเติมหรื อไม่ ขั้น ที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา เป็ นขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลพิจารณาแนวทาง ปฏิบติที่เป็ นไปได้รวมถึงการคิดหาวิธีการหรื อ เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึงประสบการณ์ ในการ ั แก้ปัญหาที่เคยประสบความสาเร็ จมาก่อนที่คล้ายกับหรื อในทานองเดี่ยวกับกับปั ญหาที่กาลังเผชิญทฤษฎี หรื อหลักการที่เกี่ยวข้องกับปั ญหา ขั้นที่ 3 ดาเนินการตามแผน นาแผนไปปฏิบติ ตรวจสอบแต่ละขั้นตอนที่ปฏิบติ ั ั ทบทวน หรื อขยายขั้นตอนการปฏิบติตามที่จาเป็ น อาจรวมถึงสร้างแผนการปฏิบติใหม่ถาจาเป็ น ั ั ้ ขั้นที่ 4 สรุ ปและตรวจสอบผลการแก้ปัญหา ตรวจสอบคาตอบกับเงื่อนไขที่ กาหนด เลือกคาตอบที่ดีและเหมาะสมที่สุด ความสั มพันธ์ ระหว่างกระบวนการคิด จากกระบวนการคิดที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นว่าขั้นตอนของกระบวนการคิดวิเคราะห์จะ สอดแทรกอยูในขั้นตอนของทุกกระบวนการคิด เมื่อเป็ นเช่นนี้นกการศึกษา ครู หรื อผูที่เกี่ยวข้องกับการจัด ่ ั ้ การศึกษาสาหรับเด็กควรจะให้ความสาคัญเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กเพื่อใช้เป็ น พื้นฐานสาหรับการพัฒนาทักษะและกระบวนการคิดลักษณะอื่นต่อไป ตารางข้างล่างแสดงให้เห็น ั ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการคิดวิเคราะห์กบกระบวนการคิดลักษณะอื่น
การคิดระดับสู ง การคิดวิเคราะห์
การแก้ปัญหา ทาความเข้าใจปัญหา หาความสัมพันธ์ของข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา เปรี ยบเทียบ ทางเลือก ลงมือแก้ปัญหา ตรวจสอบผลการดาเนินการ การคิดอย่างมีวจารณญาณ จาแนกแยกแยะ จัดระบบข้อมูลอย่างมีเหตุผล เปรี ยบเทียบข้อมูลเพื่อการ ิ ตัดสิ นใจอย่างมีเหตุผล การคิดสร้างสรรค์ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูล จัดระบบข้อมูล เปรี ยบเทียบ ข้อมูลใหม่กบข้อมูลเดิมผสมผสานนาไปสู่ การสร้างผลงานที่สร้างสรรค์ โดยการพัฒนาจากของเดิมหรื อ ั สร้างขึ้นมาใหม่ สรุ ป จากกระบวนการในการพัฒนากระบวนการคิดทั้งหมดที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็ นเพียงตัวอย่างที่ได้เลือกมานาเสนอ สามารถเลือกนาเอากระบวนการที่นกการศึกษาทั้งในประเทศและ ั ต่างประเทศนาเสนอไว้ใช้ได้อย่างอิสระตามสถานการณ์ บริ บท ตลอดจนสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง
Anzeige