SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 27
Downloaden Sie, um offline zu lesen
หน้าต่างท่องเที่ยวสู่ล้านนา
LANNA TOURISM ENCLAVE
ดร.กรวรรณ สังขกร
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการอบรมผู้ประกอบการล้านนาลองสเตย์ Lanna LONGSTAY พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรมฮาโมไนซ์ จ.เชียงใหม่
กิจกรรมหลัก
Lanna Longstay
Lanna Wellness
Lanna Tourism Branding
การท่องเที่ยวตามเส้นทางประชารัฐ
Lanna TravelTech Startup
LANNA LONGSTAY
ศักยภาพ ความพร้อม และความต้องการของ LONGSTAY ใน
ภาคเหนือตอนบน
กิจกรรม
• สารวจและวิเคราะห์พฤติกรรม Longstay นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 1,000 ราย
• นักท่องเที่ยวแบบ Longstay
• นักท่องเที่ยวทั่วไป
• ศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวแบบ Longstay 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน
• จัดอบรมผู้ประกอบการ Longstay 3 รุ่น
• รุ่นที่ 1 กลุ่มด้านอสังหาริมทรัพย์ สถานที่พานัก
• รุ่นที่ 2 กลุ่มด้านสุขภาพ Wellness สถานพยาบาล
• รุ่นที่ 3 กลุ่มด้านการท่องเที่ยว โครงสร้างพื้นฐาน กฎ ระเบียบ
• ศึกษาดูงาน Longstay ภูเก็ต
คาจากัดความของ LONG STAY
• กระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 90 วันขึ้นไป และได้วีซ่า O-A
• สานักธุรกิจบริการ กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ หมายถึง ธุรกิจบริการเพื่อสุขภาพระยะยาว
(long-stay and health care) เป็นการให้บริการร่วมกันระหว่างโรงพยาบาล รีสอร์ท โรงแรมตามสถานที่
พักผ่อนทั่วประเทศ โดยใช้บริการด้านสุขภาพเป็นจุดขาย
• การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้คาจากัดความของนักท่องเที่ยวที่พานักระยะยาว ว่า หมายถึง
นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 30 วันขึ้นไป
Longstay
Retirement
Medical/
Wellness
SportEducation
Work
Digital
Nomad
ประเภทของ
Longstay
ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay
เน้นการท่องเที่ยวและบริการที่มีคุณภาพ
ความมั่นใจด้านความปลอดภัย
กิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยและสุขภาพ
ความมั่นใจด้านบริการดูแลสุขภาพที่ดี
กลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวเกษียณอายุการทางาน
- ในประเทศญี่ปุ่นมีค่าครองชีพที่สูง ผู้สูงอายุชาว
ญี่ปุ่นจึงมาใช้ชีวิตหลังเกษียณในประเทศที่มีค่าครอง
ชีพต่ากว่า เช่น ประเทศไทย
- ผู้สูงอายุชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการ
ท่องเที่ยวต่างประเทศ
- พวกเขามักมองหาการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ๆ
เช่น Home stay การไปพักในบ้านของคน
ท้องถิ่น, Outdoor Activity Tour การ
ท่องเที่ยวควบคู่การทากิจกรรมบางอย่าง
- ผู้สูงอายุชาวญี่ปุ่นชอบหาประสบการณ์จริงและ
เรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่นจากประเทศที่ตนไปพักอาศัย
- มีประชากรผู้สูงอายุกว่า 76 ล้านคน ในนั้น 3 แสนคน ใช้ชีวิตหลังเกษียณใน
ต่างประเทศ
- ส่วนใหญ่เลือกไปประเทศในยุโรป เช่น อิตาลี เยอรมัน และสแกนดิเนเวีย
- ปัจจัยในการเลือก คือ มีความผูกผันทางบรรพบุรุษ หรือมีญาติพี่น้องอาศัยอยู่
ที่นั้น
- ไอร์แลนด์ เป็นประเทศที่ชาวอเมนิกันสูงอายุเลือกไปเป็นอันดับต้นๆ เพราะ
•เป็นประเทศที่มีมาตรฐานการดารงชีวิตสูง
•มีระบบรักษาพยาบาลที่ดี
•ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก
•ค่าครองชีพไม่สูงนัก
-นอกจากไอร์แลนด์ นักท่องเที่ยวชาวอเมริกันยังพานักระยะยาวที่ โปรตุเกสตอน
ใต้ กรีซ และเมืองชายฝั่งทะเลสเปน เพราะ ภูมิทัศน์สวยงาม ค่าครองชีพไม่สูง
มีความปรอดภัยในการดารงชีวิตสูง
-ชาวอเมริกันส่วนใหญ่เลือกอยู่ประเทศที่มีความสะดวกสบาย ค่าครองชีพไม่สูง
-บางส่วนเลือกอยู่ในประเทศของตัวเอง ในบริเวณที่อากาศดี เช่น รัฐฟลอริดา
และรัฐทางใต้
- ประเทศใกล้เคียงที่เลือกไปอยู่ ได้แก่ ประเทศเม็กซิโก
- ในอดีต นักท่องเที่ยว long stay ในยุโรปมักเลือกสถานที่ที่เคย
ไปมาแล้ว และมีประสบการณ์ในการท่องเที่ยวที่ดี
-ประเทศที่นิยมไปพานักระยะยาว ได้แก่ สเปน โปรตุเกส อิตาลี กรีซ
และรัฐฟลอริดาในอเมริกา เพราะมีปัจจัยในด้าน ความสะดวกในการ
เดินทาง มีวัฒนธรรมใกล้เคียงกัน มีระบบรักษาพยาบาลที่ดี มี
มาตรฐานการดารงชีวิตสูง
-กระแสโลกาภิวัฒน์ ทาให้พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว long
stay ชาวยุโรปเปลี่ยนไป เช่น
•ผู้สูงอายุชาวยุโรปมีสุขภาพที่แข็งแรงขึ้น
•มีกาลังใช้จ่ายด้วยตัวเองมากขึ้น
•อยากทดลองไปใช้ชีวิต ในสถานที่ที่ขนบธรรมเนียมประเพณี และ
วัฒนธรรมที่แตกต่าง
-โดยเลือกพานักระยะยาวในประเทศที่มีค่าครองชีพต่า คุ้มค่ากับเงิน
มีสภาพภูมิอากาศดี และมีวิถีชีวิตตรงกับที่ตนต้องการ
-มีประชากรผู้สูงอายุเพียง 8 ล้านคน
-สิ่งที่น่าสนใจคือมีผู้สูงอายุเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยใน
อัตราที่สูงมาก
-ชาวสแกนดิเนเวียผูกพันกับทะเลและภูเขาอย่างมาก
-ชอบการดาน้าและเล่นเรือใบ ชอบแสงแดด เพราะประเทศ
ของตนเองมีแสงแดดน้อยและหนาวตลอดทั้งปี
-เป็นประเทศที่ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวเป็นอันดับต้นๆ ของโลก
รองจากญี่ปุ่น
-นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มีกาลังใช้จ่ายสูง
•พิถีพิถันเรื่องความสะอาดของอาหารและที่พัก
•ห้องพักต้องไม่ใหญ่ แต่มีรสนิยมในการตกแต่ง
-ชาวสแกนดิเนเวียชอบอาหารไทยโดยเฉพาะอาหารทะเลที่มี
หลากหลายรูปแบบและรสชาติ
-พฤติกรรมชาวสแกนดิเนเวียคล้ายคลึงกับชาวยุโรป คือ เลือก
เดินทางโดยอิสระ และสนใจมีบ้านหลังที่ 2 ในต่างประเทศ ที่มี
ทะเล ภูเขา แสงแดด และอากาศดี
ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay
เน้นกิจกรรมและสถานพยาบาลที่เชื่อถือได้
ปลอดภัย
ต้องการบริการที่ประทับใจ
มีสินค้าและบริการที่อิงกับธรรมชาติ
และวิถีชีวิต
อัตราค่าบริการที่พึงพอใจ
Medical/Wellness
ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay
เน้นการอยู่ที่สะดวกสบาย ด้านที่พัก อาหาร
มีสถานที่ฝึกซ้อมที่สะดวก สบาย
บริการอื่นๆ มีความต้องการไม่
แตกต่างจากกลุ่มนักท่องเที่ยว
ความสามารถในการใช้จ่ายไม่สูงมากนัก
กลุ่มนักกีฬา
ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay
เน้นกิจกรรมเชิงธรรมชาติ ผจญภัย
และการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
ต้องการสัมผัสสิ่งแปลกใหม่
บริการอื่นๆ มีความต้องการไม่
แตกต่างจากกลุ่มนักท่องเที่ยว
ความสามารถในการใช้จ่ายไม่สูงมาก
นัก แต่ซื้อง่าย
กลุ่มเยาวชนที่เข้ามาเพื่อการศึกษา
ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay
เอื้อต่อการทางาน สถานที่ทางาน
เน้นการอยู่ที่สะดวกสบาย ด้านที่พัก อาหาร
การเดินทางที่สะดวกสบาย
มี Internet / Wifi สิ่งอานวยความสะดวก
กลุ่มทางาน
WHY DIGITAL NOMAD IN CHIANG MAI
• 1) Chiang Mai Digital Nomad Community
• 2) Cost of Living in Chiang Mai
• 3) Availability of Accommodation
• 4) Digital Nomad Hotspot
• 5) InternetWIFI
• 6) Co-working Spaces and Cafes
• 7) Working Productivity
• 8) Chiang Mai Coffee
• 9) No Horns, Hustlers, Poverty & Ripoffs
• 10) FantasticWheather
• 11) World Best Food
• 12) Cheap Fresh Produce
• 13) Relaxed, Non Sex-Tourist Atmosphere
• 14) Fantastic People
• 15) Safety
• 16) The Temples & Culture
• 17) The Holidays & Festivals
• 18) Beautiful Scenery and Landscapes
• 19) So Much to Do!!
• 20) Cheap Medical Treatments
• 21) Transport is Cheap
• 22)Visa’s are Easy to Get
• 23) Everything you will need is here
• 24) Chiang Mai Buddy
ปี
ตม.จว.
เชียงราย
ตม.
เชียงแสน
ตม.จว.
เชียงใหม่
ตม.จว.
ตาก
ตม.จว.
น่าน
ตม.จว.
แม่ฮ่องสอน
ตม.จว.
พิษณุโลก
ตม.จว.
นครสวรรค์
2554 3,455 - 22,431 1,773 813 524 1,424 1,141
2555 3656 11 33,250 1,884 955 785 3,893 3,684
2556 5,140 527 49,132 1,337 976 1,000 3,100 2,932
2557 6,978 775 47,789 4,251 1,679 976 4,247 5,202
2558 9,326 430 60,501 5,675 1,581 1,686 5,346 4,551
2559 8,210 321 50,283 2,524 1,297 1,763 4,004 2,723
จำนวนนักท่องเที่ยวที่พำนักระยะยำวในภำคเหนือตอนบน ปี 2554 – 2559
แยกรำยด่ำนตรวจคนเข้ำเมือง
#7 Panama
The World’s Best Places to Retire in 2018
#6 Ecuador #5 Bali #4 Cambodia
#3 Mexico #2 Thailand
And The Winner Is…
#1 Malaysia
MM2H
โปรแกรม MM2H ของประเทศมาเลเซียเปิดโอกาสให้กับชาวต่างชาติทุกสัญชาติ/
เชื้อชาติ ทุกเพศและวัย และทุกศาสนาที่เลือกประเทศมาเลเซียเป็นบ้านหลังที่สอง
และประสงค์จะย้ายจากประเทศของตนมาพานักระยะยาวในประเทศมาเลเซีย
สามารถนาคู่สมรสและครอบครัว (บุตรที่มีอายุไม่เกิน 21 ปี) เข้ามาอยู่อาศัยด้วยได้
ปัจจุบันมีชาวต่างชาติเข้ามาใช้ชีวิตและท่องเที่ยวในประเทศมาเลเซียในโปรแกรม
MM2H และถือวีซ่าประเภทพานักระยะยาวมากกว่า 30,000 คน
ปัจจัยจูงใจให้ชาวญี่ปุ่นสูงอายุย้ายไปพานักระยะยาวที่ประเทศมาเลเซีย
ค่าครองชีพต่า (ตามมาตรฐานชาวยุโรป) อากาศที่สบาย สภาพแวดล้อมการใช้ชีวิตที่ดี
ระบบบริการวีซ่ามีประสิทธิภาพ บริการดูแลผู้สูงอายุ กิจกรรมนันทนาการที่น่าพึงพอใจ
และมีชุมชนชาวญี่ปุ่นที่เข้มแข็ง ค่าที่พักที่ไม่แพงมากเกินไป เพื่อเหลือเงินไว้สาหรับอาหาร
ค่าที่แสนอร่อยนอกบ้านได้บ่อยเท่าที่ต้องการ
กลุ่มความต้องการ (Needs) แรงจูงใจในการย้ายถิ่นหลังเกษียณ (Motivators)
Need ด้านการเติมเต็มชีวิต 1
2
3
มีโอกาสที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่
มีโอกาสที่จะทาในสิ่งที่ชอบและสนใจ
มีประสบการณ์ต่อพื้นที่/เมืองปลายทาง
(จากการท่องเที่ยวหรือการมาทางานก็ตาม)
Need ด้านการรับรู้คุณค่า/การพัฒนาตนเอง 4
5
มีโอกาสที่จะทาในสิ่งที่ชอบและสนใจ
มีโอกาสที่จะทากิจกรรมนันทนาการต่างๆ
Need ด้านความสัมพันธ์
(เป็นอิทธิพลจากคนอื่น/ภายนอก)
6
7
8
9
มีชุมชน/สังคมของชาวต่างประเทศด้วยกัน
มีความสะดวกง่ายในการเดินทางเข้า-ออก
มีคนท้องถิ่นที่เป็นมิตรกับชาวต่างชาติ
มีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่ใกล้กับเมืองบ้านเกิด
Need ด้านความสัมพันธ์
(เป็นอิทธิพลจากภายใน/ของตนเอง)
10 มีความสัมพันธ์ที่ดีกับครอบครัวและบุตร
แรงจูงใจของผู้สูงวัยเกษียณอายุต่อการย้ายถิ่นไปพานักระยะยาวในต่างประเทศ
ที่มา: K.M. Wong, G. Musa / Tourism Management (2014)
กลุ่มความต้องการ (Needs) แรงจูงใจในการย้ายถิ่นหลังเกษียณ (Motivators)
Need ด้านความปลอดภัยมั่นคง
(เป็นอิทธิพลจากคนอื่น/ภายนอก)
11
12
13
14
15
16
17
18
19
มีค่าเช่าที่พัก/อสังหาริมทรัพย์ที่สามารถจ่ายได้
มีบริการดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุ
มีระบบวีซ่าเข้าประเทศที่มีประสิทธิภาพ
มีบริการสุขภาพและการแพทย์ที่ครบครัน
มีสภาพแวดล้อมการใช้ชีวิตที่ดีเหมาะสม
มีค่าครองชีพ/ต้นทุนการใช้ชีวิตต่ากว่าบ้านเกิด
มีวิกฤติชีวิตที่ผลักดันให้อยากย้ายถิ่นพานัก
มีอัตราภาษีที่เอื้อสิทธิประโยชน์แก่ผู้สูงวัย
มีสภาพอากาศที่อบอุ่น สบาย ดีต่อสุขภาพ
แรงจูงใจของผู้สูงวัยเกษียณอายุต่อการย้ายถิ่นไปพานักระยะยาวในต่างประเทศ
ที่มา: K.M. Wong, G. Musa / Tourism Management (2014)
กลุ่มความต้องการ (Needs) แรงจูงใจในการย้ายถิ่นหลังเกษียณ (Motivators)
Need ด้านกายภาพ
(เป็นอิทธิพลจากคนอื่น/ภายนอก)
20
21
22
23
มีปัญหาสุขภาพ
มีบริการสุขภาพและการแพทย์ที่ครบครัน
มีค่าครองชีพ/ต้นทุนการใช้ชีวิตต่ากว่าบ้านเกิด
มีสภาพอากาศที่อบอุ่น สบาย ดีต่อสุขภาพ
Need ด้านกายภาพ
(เป็นอิทธิพลจากภายใน/ของตนเอง)
24
25
26
มีวิถีชีวิตที่ผ่อนคลายสบายๆ
มีธรรมชาติที่สวยงามและวัฒนธรรมที่ดีงาม
มีวิกฤติชีวิตที่ผลักดันให้อยากย้ายถิ่นพานัก
แรงจูงใจของผู้สูงวัยเกษียณอายุต่อการย้ายถิ่นไปพานักระยะยาวในต่างประเทศ
ที่มา: K.M. Wong, G. Musa / Tourism Management (2014)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาดสินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาดnattatira
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์chakaew4524
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกพัน พัน
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือkitkit1974
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน Manisa Piuchan
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41สำเร็จ นางสีคุณ
 
โครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLEmmy Nichanan
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีFURD_RSU
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 

Was ist angesagt? (20)

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาดสินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
สินค้าการท่องเที่ยวแบบใด จะถูกใจตลาด
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือ
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
 
โครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 

Ähnlich wie Lanna longstay

Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiKorawan Sangkakorn
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยKorawan Sangkakorn
 
Senior tourism 20 june 2014
Senior tourism  20 june 2014Senior tourism  20 june 2014
Senior tourism 20 june 2014jirawit
 
eTAT journal 1/2555
eTAT journal 1/2555eTAT journal 1/2555
eTAT journal 1/2555Zabitan
 

Ähnlich wie Lanna longstay (9)

Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang mai
 
Lc_rm
Lc_rmLc_rm
Lc_rm
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
 
Senior tourism 20 june 2014
Senior tourism  20 june 2014Senior tourism  20 june 2014
Senior tourism 20 june 2014
 
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & LamphoonCBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
 
eTAT journal 1/2555
eTAT journal 1/2555eTAT journal 1/2555
eTAT journal 1/2555
 

Mehr von Korawan Sangkakorn

การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่Korawan Sangkakorn
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาKorawan Sangkakorn
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)Korawan Sangkakorn
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ Korawan Sangkakorn
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กKorawan Sangkakorn
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotKorawan Sangkakorn
 
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนการถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนKorawan Sangkakorn
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green TourismKorawan Sangkakorn
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ HomestayKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่Korawan Sangkakorn
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesTourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesKorawan Sangkakorn
 

Mehr von Korawan Sangkakorn (20)

การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
 
LPB city plan
LPB city planLPB city plan
LPB city plan
 
Tourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPBTourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPB
 
CNX Tourism Situation
CNX Tourism SituationCNX Tourism Situation
CNX Tourism Situation
 
LPB Tourism Situation
LPB Tourism SituationLPB Tourism Situation
LPB Tourism Situation
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
 
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนการถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesTourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
 

Lanna longstay

  • 1. หน้าต่างท่องเที่ยวสู่ล้านนา LANNA TOURISM ENCLAVE ดร.กรวรรณ สังขกร ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โครงการอบรมผู้ประกอบการล้านนาลองสเตย์ Lanna LONGSTAY พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรมฮาโมไนซ์ จ.เชียงใหม่
  • 2. กิจกรรมหลัก Lanna Longstay Lanna Wellness Lanna Tourism Branding การท่องเที่ยวตามเส้นทางประชารัฐ Lanna TravelTech Startup
  • 3. LANNA LONGSTAY ศักยภาพ ความพร้อม และความต้องการของ LONGSTAY ใน ภาคเหนือตอนบน
  • 4. กิจกรรม • สารวจและวิเคราะห์พฤติกรรม Longstay นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 1,000 ราย • นักท่องเที่ยวแบบ Longstay • นักท่องเที่ยวทั่วไป • ศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวแบบ Longstay 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน • จัดอบรมผู้ประกอบการ Longstay 3 รุ่น • รุ่นที่ 1 กลุ่มด้านอสังหาริมทรัพย์ สถานที่พานัก • รุ่นที่ 2 กลุ่มด้านสุขภาพ Wellness สถานพยาบาล • รุ่นที่ 3 กลุ่มด้านการท่องเที่ยว โครงสร้างพื้นฐาน กฎ ระเบียบ • ศึกษาดูงาน Longstay ภูเก็ต
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. คาจากัดความของ LONG STAY • กระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 90 วันขึ้นไป และได้วีซ่า O-A • สานักธุรกิจบริการ กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ หมายถึง ธุรกิจบริการเพื่อสุขภาพระยะยาว (long-stay and health care) เป็นการให้บริการร่วมกันระหว่างโรงพยาบาล รีสอร์ท โรงแรมตามสถานที่ พักผ่อนทั่วประเทศ โดยใช้บริการด้านสุขภาพเป็นจุดขาย • การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้คาจากัดความของนักท่องเที่ยวที่พานักระยะยาว ว่า หมายถึง นักท่องเที่ยวที่พานักอยู่ในเมืองไทยเกิน 30 วันขึ้นไป
  • 10. ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay เน้นการท่องเที่ยวและบริการที่มีคุณภาพ ความมั่นใจด้านความปลอดภัย กิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยและสุขภาพ ความมั่นใจด้านบริการดูแลสุขภาพที่ดี กลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวเกษียณอายุการทางาน
  • 11. - ในประเทศญี่ปุ่นมีค่าครองชีพที่สูง ผู้สูงอายุชาว ญี่ปุ่นจึงมาใช้ชีวิตหลังเกษียณในประเทศที่มีค่าครอง ชีพต่ากว่า เช่น ประเทศไทย - ผู้สูงอายุชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการ ท่องเที่ยวต่างประเทศ - พวกเขามักมองหาการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ๆ เช่น Home stay การไปพักในบ้านของคน ท้องถิ่น, Outdoor Activity Tour การ ท่องเที่ยวควบคู่การทากิจกรรมบางอย่าง - ผู้สูงอายุชาวญี่ปุ่นชอบหาประสบการณ์จริงและ เรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่นจากประเทศที่ตนไปพักอาศัย
  • 12. - มีประชากรผู้สูงอายุกว่า 76 ล้านคน ในนั้น 3 แสนคน ใช้ชีวิตหลังเกษียณใน ต่างประเทศ - ส่วนใหญ่เลือกไปประเทศในยุโรป เช่น อิตาลี เยอรมัน และสแกนดิเนเวีย - ปัจจัยในการเลือก คือ มีความผูกผันทางบรรพบุรุษ หรือมีญาติพี่น้องอาศัยอยู่ ที่นั้น - ไอร์แลนด์ เป็นประเทศที่ชาวอเมนิกันสูงอายุเลือกไปเป็นอันดับต้นๆ เพราะ •เป็นประเทศที่มีมาตรฐานการดารงชีวิตสูง •มีระบบรักษาพยาบาลที่ดี •ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก •ค่าครองชีพไม่สูงนัก -นอกจากไอร์แลนด์ นักท่องเที่ยวชาวอเมริกันยังพานักระยะยาวที่ โปรตุเกสตอน ใต้ กรีซ และเมืองชายฝั่งทะเลสเปน เพราะ ภูมิทัศน์สวยงาม ค่าครองชีพไม่สูง มีความปรอดภัยในการดารงชีวิตสูง -ชาวอเมริกันส่วนใหญ่เลือกอยู่ประเทศที่มีความสะดวกสบาย ค่าครองชีพไม่สูง -บางส่วนเลือกอยู่ในประเทศของตัวเอง ในบริเวณที่อากาศดี เช่น รัฐฟลอริดา และรัฐทางใต้ - ประเทศใกล้เคียงที่เลือกไปอยู่ ได้แก่ ประเทศเม็กซิโก
  • 13. - ในอดีต นักท่องเที่ยว long stay ในยุโรปมักเลือกสถานที่ที่เคย ไปมาแล้ว และมีประสบการณ์ในการท่องเที่ยวที่ดี -ประเทศที่นิยมไปพานักระยะยาว ได้แก่ สเปน โปรตุเกส อิตาลี กรีซ และรัฐฟลอริดาในอเมริกา เพราะมีปัจจัยในด้าน ความสะดวกในการ เดินทาง มีวัฒนธรรมใกล้เคียงกัน มีระบบรักษาพยาบาลที่ดี มี มาตรฐานการดารงชีวิตสูง -กระแสโลกาภิวัฒน์ ทาให้พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว long stay ชาวยุโรปเปลี่ยนไป เช่น •ผู้สูงอายุชาวยุโรปมีสุขภาพที่แข็งแรงขึ้น •มีกาลังใช้จ่ายด้วยตัวเองมากขึ้น •อยากทดลองไปใช้ชีวิต ในสถานที่ที่ขนบธรรมเนียมประเพณี และ วัฒนธรรมที่แตกต่าง -โดยเลือกพานักระยะยาวในประเทศที่มีค่าครองชีพต่า คุ้มค่ากับเงิน มีสภาพภูมิอากาศดี และมีวิถีชีวิตตรงกับที่ตนต้องการ
  • 14. -มีประชากรผู้สูงอายุเพียง 8 ล้านคน -สิ่งที่น่าสนใจคือมีผู้สูงอายุเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยใน อัตราที่สูงมาก -ชาวสแกนดิเนเวียผูกพันกับทะเลและภูเขาอย่างมาก -ชอบการดาน้าและเล่นเรือใบ ชอบแสงแดด เพราะประเทศ ของตนเองมีแสงแดดน้อยและหนาวตลอดทั้งปี -เป็นประเทศที่ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวเป็นอันดับต้นๆ ของโลก รองจากญี่ปุ่น -นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มีกาลังใช้จ่ายสูง •พิถีพิถันเรื่องความสะอาดของอาหารและที่พัก •ห้องพักต้องไม่ใหญ่ แต่มีรสนิยมในการตกแต่ง -ชาวสแกนดิเนเวียชอบอาหารไทยโดยเฉพาะอาหารทะเลที่มี หลากหลายรูปแบบและรสชาติ -พฤติกรรมชาวสแกนดิเนเวียคล้ายคลึงกับชาวยุโรป คือ เลือก เดินทางโดยอิสระ และสนใจมีบ้านหลังที่ 2 ในต่างประเทศ ที่มี ทะเล ภูเขา แสงแดด และอากาศดี
  • 15. ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay เน้นกิจกรรมและสถานพยาบาลที่เชื่อถือได้ ปลอดภัย ต้องการบริการที่ประทับใจ มีสินค้าและบริการที่อิงกับธรรมชาติ และวิถีชีวิต อัตราค่าบริการที่พึงพอใจ Medical/Wellness
  • 16. ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay เน้นการอยู่ที่สะดวกสบาย ด้านที่พัก อาหาร มีสถานที่ฝึกซ้อมที่สะดวก สบาย บริการอื่นๆ มีความต้องการไม่ แตกต่างจากกลุ่มนักท่องเที่ยว ความสามารถในการใช้จ่ายไม่สูงมากนัก กลุ่มนักกีฬา
  • 17. ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay เน้นกิจกรรมเชิงธรรมชาติ ผจญภัย และการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ต้องการสัมผัสสิ่งแปลกใหม่ บริการอื่นๆ มีความต้องการไม่ แตกต่างจากกลุ่มนักท่องเที่ยว ความสามารถในการใช้จ่ายไม่สูงมาก นัก แต่ซื้อง่าย กลุ่มเยาวชนที่เข้ามาเพื่อการศึกษา
  • 18. ความต้องการของตลาดการท่องเที่ยว แบบ Long Stay เอื้อต่อการทางาน สถานที่ทางาน เน้นการอยู่ที่สะดวกสบาย ด้านที่พัก อาหาร การเดินทางที่สะดวกสบาย มี Internet / Wifi สิ่งอานวยความสะดวก กลุ่มทางาน
  • 19. WHY DIGITAL NOMAD IN CHIANG MAI • 1) Chiang Mai Digital Nomad Community • 2) Cost of Living in Chiang Mai • 3) Availability of Accommodation • 4) Digital Nomad Hotspot • 5) InternetWIFI • 6) Co-working Spaces and Cafes • 7) Working Productivity • 8) Chiang Mai Coffee • 9) No Horns, Hustlers, Poverty & Ripoffs • 10) FantasticWheather • 11) World Best Food • 12) Cheap Fresh Produce • 13) Relaxed, Non Sex-Tourist Atmosphere • 14) Fantastic People • 15) Safety • 16) The Temples & Culture • 17) The Holidays & Festivals • 18) Beautiful Scenery and Landscapes • 19) So Much to Do!! • 20) Cheap Medical Treatments • 21) Transport is Cheap • 22)Visa’s are Easy to Get • 23) Everything you will need is here • 24) Chiang Mai Buddy
  • 20. ปี ตม.จว. เชียงราย ตม. เชียงแสน ตม.จว. เชียงใหม่ ตม.จว. ตาก ตม.จว. น่าน ตม.จว. แม่ฮ่องสอน ตม.จว. พิษณุโลก ตม.จว. นครสวรรค์ 2554 3,455 - 22,431 1,773 813 524 1,424 1,141 2555 3656 11 33,250 1,884 955 785 3,893 3,684 2556 5,140 527 49,132 1,337 976 1,000 3,100 2,932 2557 6,978 775 47,789 4,251 1,679 976 4,247 5,202 2558 9,326 430 60,501 5,675 1,581 1,686 5,346 4,551 2559 8,210 321 50,283 2,524 1,297 1,763 4,004 2,723 จำนวนนักท่องเที่ยวที่พำนักระยะยำวในภำคเหนือตอนบน ปี 2554 – 2559 แยกรำยด่ำนตรวจคนเข้ำเมือง
  • 21. #7 Panama The World’s Best Places to Retire in 2018 #6 Ecuador #5 Bali #4 Cambodia #3 Mexico #2 Thailand And The Winner Is… #1 Malaysia
  • 22.
  • 23. MM2H โปรแกรม MM2H ของประเทศมาเลเซียเปิดโอกาสให้กับชาวต่างชาติทุกสัญชาติ/ เชื้อชาติ ทุกเพศและวัย และทุกศาสนาที่เลือกประเทศมาเลเซียเป็นบ้านหลังที่สอง และประสงค์จะย้ายจากประเทศของตนมาพานักระยะยาวในประเทศมาเลเซีย สามารถนาคู่สมรสและครอบครัว (บุตรที่มีอายุไม่เกิน 21 ปี) เข้ามาอยู่อาศัยด้วยได้ ปัจจุบันมีชาวต่างชาติเข้ามาใช้ชีวิตและท่องเที่ยวในประเทศมาเลเซียในโปรแกรม MM2H และถือวีซ่าประเภทพานักระยะยาวมากกว่า 30,000 คน
  • 24. ปัจจัยจูงใจให้ชาวญี่ปุ่นสูงอายุย้ายไปพานักระยะยาวที่ประเทศมาเลเซีย ค่าครองชีพต่า (ตามมาตรฐานชาวยุโรป) อากาศที่สบาย สภาพแวดล้อมการใช้ชีวิตที่ดี ระบบบริการวีซ่ามีประสิทธิภาพ บริการดูแลผู้สูงอายุ กิจกรรมนันทนาการที่น่าพึงพอใจ และมีชุมชนชาวญี่ปุ่นที่เข้มแข็ง ค่าที่พักที่ไม่แพงมากเกินไป เพื่อเหลือเงินไว้สาหรับอาหาร ค่าที่แสนอร่อยนอกบ้านได้บ่อยเท่าที่ต้องการ
  • 25. กลุ่มความต้องการ (Needs) แรงจูงใจในการย้ายถิ่นหลังเกษียณ (Motivators) Need ด้านการเติมเต็มชีวิต 1 2 3 มีโอกาสที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ มีโอกาสที่จะทาในสิ่งที่ชอบและสนใจ มีประสบการณ์ต่อพื้นที่/เมืองปลายทาง (จากการท่องเที่ยวหรือการมาทางานก็ตาม) Need ด้านการรับรู้คุณค่า/การพัฒนาตนเอง 4 5 มีโอกาสที่จะทาในสิ่งที่ชอบและสนใจ มีโอกาสที่จะทากิจกรรมนันทนาการต่างๆ Need ด้านความสัมพันธ์ (เป็นอิทธิพลจากคนอื่น/ภายนอก) 6 7 8 9 มีชุมชน/สังคมของชาวต่างประเทศด้วยกัน มีความสะดวกง่ายในการเดินทางเข้า-ออก มีคนท้องถิ่นที่เป็นมิตรกับชาวต่างชาติ มีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่ใกล้กับเมืองบ้านเกิด Need ด้านความสัมพันธ์ (เป็นอิทธิพลจากภายใน/ของตนเอง) 10 มีความสัมพันธ์ที่ดีกับครอบครัวและบุตร แรงจูงใจของผู้สูงวัยเกษียณอายุต่อการย้ายถิ่นไปพานักระยะยาวในต่างประเทศ ที่มา: K.M. Wong, G. Musa / Tourism Management (2014)
  • 26. กลุ่มความต้องการ (Needs) แรงจูงใจในการย้ายถิ่นหลังเกษียณ (Motivators) Need ด้านความปลอดภัยมั่นคง (เป็นอิทธิพลจากคนอื่น/ภายนอก) 11 12 13 14 15 16 17 18 19 มีค่าเช่าที่พัก/อสังหาริมทรัพย์ที่สามารถจ่ายได้ มีบริการดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุ มีระบบวีซ่าเข้าประเทศที่มีประสิทธิภาพ มีบริการสุขภาพและการแพทย์ที่ครบครัน มีสภาพแวดล้อมการใช้ชีวิตที่ดีเหมาะสม มีค่าครองชีพ/ต้นทุนการใช้ชีวิตต่ากว่าบ้านเกิด มีวิกฤติชีวิตที่ผลักดันให้อยากย้ายถิ่นพานัก มีอัตราภาษีที่เอื้อสิทธิประโยชน์แก่ผู้สูงวัย มีสภาพอากาศที่อบอุ่น สบาย ดีต่อสุขภาพ แรงจูงใจของผู้สูงวัยเกษียณอายุต่อการย้ายถิ่นไปพานักระยะยาวในต่างประเทศ ที่มา: K.M. Wong, G. Musa / Tourism Management (2014)
  • 27. กลุ่มความต้องการ (Needs) แรงจูงใจในการย้ายถิ่นหลังเกษียณ (Motivators) Need ด้านกายภาพ (เป็นอิทธิพลจากคนอื่น/ภายนอก) 20 21 22 23 มีปัญหาสุขภาพ มีบริการสุขภาพและการแพทย์ที่ครบครัน มีค่าครองชีพ/ต้นทุนการใช้ชีวิตต่ากว่าบ้านเกิด มีสภาพอากาศที่อบอุ่น สบาย ดีต่อสุขภาพ Need ด้านกายภาพ (เป็นอิทธิพลจากภายใน/ของตนเอง) 24 25 26 มีวิถีชีวิตที่ผ่อนคลายสบายๆ มีธรรมชาติที่สวยงามและวัฒนธรรมที่ดีงาม มีวิกฤติชีวิตที่ผลักดันให้อยากย้ายถิ่นพานัก แรงจูงใจของผู้สูงวัยเกษียณอายุต่อการย้ายถิ่นไปพานักระยะยาวในต่างประเทศ ที่มา: K.M. Wong, G. Musa / Tourism Management (2014)