SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
อนาคตของสื่อใหม่ กับ อนาคต ของ
ประเทศไทย
นาวาตรี ดร.วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ
กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
WPONGSUWAN@GMAIL.COM
สื่อใหม่ หรือNew Media
เป็นการพัฒนาระบบภาพ เสียง อักษร และ โปรแกรมประยุกต์ เข้าด้วยกัน และ เผยแพร่ผ่านระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทาให้เกิดสื่อที่มีความคมชัด มีปฏิสัมพันธ์ และ เรียกได้ตามต้องการ การเริ่มต้นของ
World Wide Web โดย เซอร์ ทิม เบอร์เนอร์ ลี ที่ CERN เมื่อประมาณ 25 ปีที่ผ่าน
มา (August 6th 1991) (2) เพื่อจุดประสงค์แค่แชร์ข้อมูลเท่านั้น ทาให้เกิด Web สิ่ง
นี้ขึ้นมาและขยายตัวมาจนถึงปัจจุบันที่เป็นยุดของ IoTs หรือ Internet of Things ที่
เราสามารถแชร์ ประสบการณ์ สื่อมัลติมีเดีย การทางาน และ ที่สาคัญ คือ การแชร์สิ่งที่ไม่ใช่ Soft แต่
เป็นของจริงๆ อีกด้วย
Media Convergence
สื่อ สารสนเทศ และ การสื่อสาร เกิดการหลอมรวมเข้าด้วยกันโดยเริ่มประมาณช่วง ปี ค.ศ.
1990 - ค.ศ. 2000 โดยการเริ่มต้นของการทาธุรกิจ ดอท คอม (Dot Com) ที่สร้างธุรกิจที่
มีการเติมโตโดยฐานของระบบอินเทอร์เน็ต ที่เดิมเคยถูกควบคุมโดยโครงการ ARPA
(Advanced Research Project Agency) และ ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ในการดูแล
ของ NFS (National Science Foundation) ทาให้ การพัฒนาธุรกิจที่
เกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีการขยายตัวอย่างมาก โดยเกิด ธุรกิจที่มีมูลค่า
มหาศาล เช่น e-Bay, Amazon, Yahoo, Google, Youtube และ
Facebook เป็นต้น
อนาคต
ธุรกิจอะไรจะเกิดได้อีกต่อไป ซึ่ง คาตอบคงไม่ได้จากัด แค่รูปแบบที่เคยเกิดขึ้นเท่านั้น การพัฒนา Web
2.0 และเครือข่ายสังคม ก็ได้สร้างธุรกิจต่างๆ ขึ้นอีกมากมาย ประมาณการได้ว่าโลกเสมือน หรือ
Cyber World นั้นสามารถขยายออกไป และ มีรูปแบบต่างๆ ได้ไม่จากัด จะจากัดก็ที่จินตนาการของ
มนุษย์จะสร้างขึ้น จะเห็นได้ว่า มีการสร้างอุปกรณ์ และ สื่อ ต่างๆ ในรูปแบบต่างๆ มากมาย เช่น Smart
Phone, Google Glass, Smart Watch, Hologram และ AR (Augmented
Reality) ออกมาขาย หรือ ทาเป็นเกม และ ยังมีบริการ เช่น Youtube Channel, Face
book Live, Biko, และ เกมส์ต่างๆ มากมายให้บริการ และ มีโครงการ Start Up ทางธุรกิจ เพื่อ
พัฒนาธุรกิจใหม่ๆ อีกมากมาย เช่น UBER, Grab Taxi และอื่นๆ อีกมากมายทั้งนี้เนื่องจากการ
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งทางฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และ เครือข่ายทั้งแบบมีสายและไร้สาย ตลอดจน
เครือข่ายมือถือ 3G 4G และ 5G มีการจัดสรรเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ไปแล้วประมาณ สองร้อยล้าน
เลขหมาย
ในกรณีของสื่อใหม่ขอสรุปความต้องการการวิจัยในอนาคตไว้
ดังต่อไปนี้
อุปกรณ์ ที่นาเสนอข้อมูลและส่วนต่อประสานผู้ใช้
Wearable Devices อุปกรณ์จำนวนมำกจะเปลี่ยนไปเป็นอุปกรณ์แบบสวมใส่ได้ เช่น
แว่นตำสมำร์ท หรือ นำฬิกำสมำร์ท ที่เริ่มมีใช้แบบมำกขึ้น ในอนำคต
อุปกรณ์ดังกล่ำวจะมีกำรเพิ่มเติมเข้ำไปในเครื่องใช้ส่วนตัวเช่น เสื้อผ้ำ หรือ แม้แต่รถยนต์
รูปที่ 1 แว่นตาแบบสมาร์ท ของ Google ที่ชื่อ Google Glasses
https://en.wikipedia.org/wiki/Google_Glass
Smart TV ที่ทาให้ห้องนอนห้องรับแขกเป็นสถานที่รวม
สื่อที่มีความสามารถหลากหลาย
โทรทัศน์แบบสมำร์ท ที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และ มีการเปิดเว็บ หรือ การแชร์ข้อมูล
ระหว่างมือถือ กับ โทรทัศน์ ด้วย WiFi และในไม่ช้า จะมีโทรทัศน์แบบอินเทอร์แร็คทีฟ
(Interactive) ที่ทาให้สามารถดูรายการและสืบค้นข้อมูลได้พร้อมๆ กัน หรือดูย้อนหลังได้ทันที ด้วย
ความคมชัดสูงมากระดับ 4K
สิ่งพิมพ์ที่เป็นe-Ink และe-Journal ระบบจอที่งอหรือ
โค้งงอได้จะมาแทนที่กระดาษ
บริการบอกตาบลที่(Geolocation)
ระบบ GPS และบริการที่เกี่ยวเนื่องจะทาให้ไม่มีใครถูกทอดทิ้ง ผู้สูงวัยที่มีปัญหาเรื่องความจา
จะถูกติดตาม และ ช่วยเหลืออย่างรวดเร็วเมื่อหายตัวไป ระบบรถบริการสาธารณะจะมีบริการที่ทาให้ไม่
ต้องรอรถนานเกินไป ณ จุดนัดหมาย หรือ อาจจะทาให้คุณสามารถเรียกรถบริการสาธารณะไปรับที่หน้า
บ้าน หรือ ระบบรถไร้คนขับ ที่เราบอกที่หมายรถจะวิ่งไปได้เองอย่างปลอดภัย ซึ่งรถยนต์ไร้คนขับจาก
Google ซึ่งก่อนหน้านี้ไดทาการวิ่งทดสอบบนถนนจริง ที่ความเร็วของตัวรถที่ใช้ทดสอบนั้นจะอยู่ที่ 40
km/h และหน่วยงานด้านความปลอดภัยทางจราจรบนทางหลวงแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (the
National Highway Traffic Safety Administration – NHTSA) ประกาศยอมรับ
ระบบไร้คนขับของ Google ในฐานะผู้ขับขี่เทียบเท่ากับมนุษย์ และสามารถควบคุมรถยนต์ได้
ระบบนี้จะทาให้ผู้ใช้ระบบสามารถกาหนด Profile ของตน
ให้อุปกรณ์ และพาหนะรับรู้ ความชอบส่วนบุคคลเช่นพฤติกรรม
การเคลื่อนที่ ดนตรี และอุณหภูมิ ที่ชอบ
Social Media สื่อสังคม
ปัจจุบันนี้มีการใช้สื่อสังคม มากมาย และ มีผลต่อผู้รับสื่อไม่เท่ากัน
มีการพยายามวัดผลการใช้สื่อสังคมของ บริษัท ปตท.จากัด มหาชน โดย
อัจฉรา ฉัตรเฉลิมพล และ คณะ (5) ตลอดจน มีการประยุกต์สื่อสังคมใน
การพัฒนา Smart Farm ของ สามารถ ดวงวิจิตรกุล และ คณะ ที่ทา
ให้เห็นว่า เกษตรกรชาวสวนทุเรียน สามารถใช้สื่อสังคมในการติดต่อกับ
ลูกค้า ได้เป็นอย่างดี
บันเทิงและสาระ
และเกม
สารคดี และContents of Things
สำรคดี ในอนำคต จะทำให้เสมือนจริงโดยใช้ AR นักท่องเที่ยวเดินทำงไปที่
อยุธยำ เห็นซำกปรักหักพัง จะสำมำรถใช้มือถือของตนส่องลงไป และเห็นภำพเมือง
ในอดีตซ้อนขึ้นมำจำกเมืองเก่ำได้ ซึ่งงำนประเภทนี้ ยังมีให้ทำอีกมำกมำยใน
ประเทศไทย นอกจำกนั้น Wearable Device เช่น แว่นตำสมำร์ท จะทำให้
สำมำรถมองเห็นข้อมูล ด้วยกำรมองผ่ำนแว่นได้ทันที
Wikipedia และสื่อที่เป็นเว็บ จะมาแทนที่สิ่งพิมพ์ทั้งหมด และ
สามารถอ้างอิงได้
Youtube จะเป็นสื่อที่มีคลิป และ สาระ ตลอดจนสิ่งที่ไม่เป็น
สาระทั้งหมดมารวมกัน และยังสามารถส่งสารในรูปแบบต่างๆ ได้มากมาย
ทั้ง เสียง ภาพ คลิป และ สื่อสามมิติ อาจจะเป็นโฮโลแกรมได้
ปัญหาของสื่อใหม่ในบริบทสังคมไทย
สื่อ สารสนเทศ และ การสื่อสาร จะเกิดการหลอมรวม หรือ Convergence อย่างรวดเร็ว จนในที่สุด
สื่อ และเครือข่ายแบบเดิมจะถูกแทนที่ ความเข้าใจในบริบท ที่เรียกว่ารู้เท่าทันสื่อ หรือ ความต้องการใน
การพัฒนาสื่อที่มีความดึงดูดผู้ชมจนเกิดเป็นการแข่งขัน เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดภาวะ เสพติดสื่อ เช่นการติด
เกมออนไลน์ การติดเฟส ติดไลน์ หรือ การติดการกระจายภาพในระบบสตรีมมิ่งผ่าน Facebook
Live, Youtube Streaming Channel และ Biko Live ที่สามารถใช้ความสามารถของ
โครงข่ายสื่อสารความเร็วสูงมาทา TeleConference แบบ Social ได้อย่างสนุกสนาน และ ง่าย
ปรากฏการณ์ดังกล่าว จะทาให้มีการพัฒนาเกม และ โปรแกรมสื่อสาร ตลอดจนสื่อในรูปแบบต่างๆ มาก
ขึ้น ภาครัฐ ภาคการศึกษา และ ธุรกิจ จะมีปัญหาที่จะตามเทคโนโลยีไม่ทัน ภาครัฐ เช่น กระทรวงดิจิตอล
และ กสทช. ก็จะไม่สามารถควบคุมความเหมาะสมของสื่อใหม่ๆ หรือ อาจจะไม่มีทรัพยากรที่เพียงพอใน
การบริหารจัดการสิ่งเหล่านี้การควบคุม แบบเข้มงวด นอกจากจะทาได้ยาก แล้ว ยังมีปัญหา เป็นอุปสรรค
ต่อการพัฒนาสื่ออีกด้วย
ข้อเสนอการวิจัยที่เกี่ยวกับสื่อใหม่ในระยะต้นน่าจะมีดังนี้
1. การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการศึกษาในด้านต่างๆ ด้วย AR, Hologram สื่อใหม่ๆ
2. การวิจัยเพื่อพัฒนาภูมิคุ้มกันทางสังคม หรือการจัดเรทติ้ง สื่อใหม่
3. การวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม
4. การวิจัยเรื่อง เสรีภาพของสื่อใหม่ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการกากับดูแลสื่อใหม่
5. การวิจัยเรื่องผลกระทบของสื่อสังคม กับสังคมไทย
6. การวิจัยเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นต่อการพัฒนาสื่อใหม่
7. การสร้างบุคลากร และการพัฒนาองค์ความรู้ที่จาเป็นต่อการพัฒนาสื่อใหม่
8. เทคโนโลยีใหม่ๆ กับการ Broadcasting ด้วยราคาไม่แพง และสามารถสร้างสรรค์รายการได้ด้วยจนเอง (Broadcast Yourself:
Desktop Studio)
9. เกมแบบ AR และเกมมือถือ กับปัญหาสังคมไทย
10. ฯลฯ
สรุปและข้อเสนอแนะ
สื่อใหม่ เป็นโอกาสทางธุรกิจ เทคโนโลยี ตลอดจนอาจจะเป็น ภัยคุกคาม ทางสังคม และ
วัฒนธรรม มีโอกาสมากมายที่เราจะได้พัฒนาสื่อ และ ป้อนตลาดโลก แต่ในมุมกลับกัน หาก
เราไม่พร้อม เราจะเสียโอกาส และ จะเผชิญกับภัยคุกคามใหม่ ที่จะนาประเทศเข้าสู่ความ
ถดถอย ทั้งทางสังคม และ วัฒนธรรม ดังนั้น การวิจัย เพื่อหาจุดอ่อน และ สร้างโอกาสในการ
พัฒนาระบบใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ในเวลาไม่เกิน ห้า ถึงสิบปีข้างหน้า จะต้องทา
อย่างเร่งด่วน และ ต่อเนื่องไปเรื่อยๆ หวังว่านักวิจัยที่ได้อ่านบทความนี้จะได้นาไปใช้ในการ
วิจัยและพัฒนาต่อไป
เอกสารอ้างอิง
[1] http://www.newmedia.org/what-is-new-media.html
[2] http://webfoundation.org/about/vision/history-of-the-web/
[3] https://numbering.nbtc.go.th
[4] Paradorn Khongmanee, Wuttipong Pongsuwan, Suchai Thanawastien,Smart Bus: Trafficand Safety for Smart Labour, Proceeding in 8th
InternationalConference on Global Business Environment (ICGBE-2016) Bangkok, Thailand, July 23-24, 2016
[5] Achara Chatchalermpol,Wuttipong Pongsuwan, Leelavadee Vajropala,SOCIALMEDIA PERCEPTIONAFFECTINGTHEBUSINESSOF
PTT PUBLICCOMPANYLIMITED,JOURNALINFORMATIONMANAGEMENTAND BUSINESSREVIEW(IMBR),VOL8, NO 3, 2016
[6] Samard Doungwichitrkul,Wuttipong Pongsuwan, Suchai Thanawastien,Social Communicationfor Smart Farmers: A Case Study on Durian
Farmers, Proceeding in the 3rd Asian Symposium on Education, Equity and Social Justice held in Fukuoka, Japan from August 2-3, 2016.
อนาคตของสื่อใหม่ กับ อนาคต ของประเทศ (อ,วุฒิพงศ์)
อนาคตของสื่อใหม่ กับ อนาคต ของประเทศ (อ,วุฒิพงศ์)

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตguest832105
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อRujroad Kaewurai
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นchaiwat vichianchai
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSakulsri Srisaracam
 
2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapath2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapathnutKT
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSarid Nonthing
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAngkan Mahawan
 
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018ETDAofficialRegist
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 

What's hot (17)

ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
Integrated social media approaches for effectively engaging youth
Integrated social media approaches for effectively engaging youthIntegrated social media approaches for effectively engaging youth
Integrated social media approaches for effectively engaging youth
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Social Media & Journalism
Social Media & JournalismSocial Media & Journalism
Social Media & Journalism
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
 
2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapath2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapath
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Social media for rpm 44, 45
Social media for rpm 44, 45Social media for rpm 44, 45
Social media for rpm 44, 45
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Newsreportprocess
NewsreportprocessNewsreportprocess
Newsreportprocess
 

Viewers also liked

สื่อใหม่กับการเรียนรู้
สื่อใหม่กับการเรียนรู้สื่อใหม่กับการเรียนรู้
สื่อใหม่กับการเรียนรู้Drsek Sai
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่Watermalon Singha
 
คุณลักษณะของสื่อ1
คุณลักษณะของสื่อ1คุณลักษณะของสื่อ1
คุณลักษณะของสื่อ1Ping Knp
 
นำเสนอส อ.Pptx [repaired]
นำเสนอส  อ.Pptx [repaired]นำเสนอส  อ.Pptx [repaired]
นำเสนอส อ.Pptx [repaired]Weerapat Apaikawee
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponSurapon Boonlue
 
สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่Sand Jutarmart
 

Viewers also liked (7)

สื่อใหม่กับการเรียนรู้
สื่อใหม่กับการเรียนรู้สื่อใหม่กับการเรียนรู้
สื่อใหม่กับการเรียนรู้
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
คุณลักษณะของสื่อ1
คุณลักษณะของสื่อ1คุณลักษณะของสื่อ1
คุณลักษณะของสื่อ1
 
นำเสนอส อ.Pptx [repaired]
นำเสนอส  อ.Pptx [repaired]นำเสนอส  อ.Pptx [repaired]
นำเสนอส อ.Pptx [repaired]
 
omeka-portable-startup
omeka-portable-startupomeka-portable-startup
omeka-portable-startup
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysurapon
 
สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่
 

Similar to อนาคตของสื่อใหม่ กับ อนาคต ของประเทศ (อ,วุฒิพงศ์)

ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศป.ปลา ตากลม
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์สราวุฒิ จบศรี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศKrieangsak Pholwiboon
 
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้guest6bc2ef1
 
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้guesta6407f
 
คร.นิป
คร.นิปคร.นิป
คร.นิปguesta6407f
 
คร.นิป
คร.นิปคร.นิป
คร.นิปguesta6407f
 
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะอินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะพายุ ตัวป่วน
 
กลุ่มที่ 53 เรื่องการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
กลุ่มที่ 53 เรื่องการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์กลุ่มที่ 53 เรื่องการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
กลุ่มที่ 53 เรื่องการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์Mono Group
 
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้guesta6407f
 

Similar to อนาคตของสื่อใหม่ กับ อนาคต ของประเทศ (อ,วุฒิพงศ์) (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Application
ApplicationApplication
Application
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
 
Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
Social Networking For Organizations
Social Networking For OrganizationsSocial Networking For Organizations
Social Networking For Organizations
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
 
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
 
คร.นิป
คร.นิปคร.นิป
คร.นิป
 
คร.นิป
คร.นิปคร.นิป
คร.นิป
 
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะอินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
อินเตอร์เน็ต เสร็จแล้วจ๊ะ
 
623 1
623 1623 1
623 1
 
Ku 54
Ku 54Ku 54
Ku 54
 
กลุ่มที่ 53 เรื่องการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
กลุ่มที่ 53 เรื่องการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์กลุ่มที่ 53 เรื่องการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
กลุ่มที่ 53 เรื่องการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
 
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
 

More from Wuttipong Pongsuwan

More from Wuttipong Pongsuwan (7)

90Sep_Pongsuwan
90Sep_Pongsuwan90Sep_Pongsuwan
90Sep_Pongsuwan
 
ThorICBASS
ThorICBASSThorICBASS
ThorICBASS
 
smart อปท
smart อปทsmart อปท
smart อปท
 
The Smart Transportation for Smart labor (1)
The Smart Transportation for Smart labor (1)The Smart Transportation for Smart labor (1)
The Smart Transportation for Smart labor (1)
 
Paper for John Walsh Jul 23_2016-SamardEnglishV2
Paper for John Walsh Jul 23_2016-SamardEnglishV2Paper for John Walsh Jul 23_2016-SamardEnglishV2
Paper for John Walsh Jul 23_2016-SamardEnglishV2
 
Journal_Internal conference John Walsh
Journal_Internal conference John WalshJournal_Internal conference John Walsh
Journal_Internal conference John Walsh
 
Journal_Internal conference_Achara
Journal_Internal conference_AcharaJournal_Internal conference_Achara
Journal_Internal conference_Achara
 

อนาคตของสื่อใหม่ กับ อนาคต ของประเทศ (อ,วุฒิพงศ์)

  • 1. อนาคตของสื่อใหม่ กับ อนาคต ของ ประเทศไทย นาวาตรี ดร.วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ WPONGSUWAN@GMAIL.COM
  • 2.
  • 3. สื่อใหม่ หรือNew Media เป็นการพัฒนาระบบภาพ เสียง อักษร และ โปรแกรมประยุกต์ เข้าด้วยกัน และ เผยแพร่ผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทาให้เกิดสื่อที่มีความคมชัด มีปฏิสัมพันธ์ และ เรียกได้ตามต้องการ การเริ่มต้นของ World Wide Web โดย เซอร์ ทิม เบอร์เนอร์ ลี ที่ CERN เมื่อประมาณ 25 ปีที่ผ่าน มา (August 6th 1991) (2) เพื่อจุดประสงค์แค่แชร์ข้อมูลเท่านั้น ทาให้เกิด Web สิ่ง นี้ขึ้นมาและขยายตัวมาจนถึงปัจจุบันที่เป็นยุดของ IoTs หรือ Internet of Things ที่ เราสามารถแชร์ ประสบการณ์ สื่อมัลติมีเดีย การทางาน และ ที่สาคัญ คือ การแชร์สิ่งที่ไม่ใช่ Soft แต่ เป็นของจริงๆ อีกด้วย
  • 4.
  • 5. Media Convergence สื่อ สารสนเทศ และ การสื่อสาร เกิดการหลอมรวมเข้าด้วยกันโดยเริ่มประมาณช่วง ปี ค.ศ. 1990 - ค.ศ. 2000 โดยการเริ่มต้นของการทาธุรกิจ ดอท คอม (Dot Com) ที่สร้างธุรกิจที่ มีการเติมโตโดยฐานของระบบอินเทอร์เน็ต ที่เดิมเคยถูกควบคุมโดยโครงการ ARPA (Advanced Research Project Agency) และ ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ในการดูแล ของ NFS (National Science Foundation) ทาให้ การพัฒนาธุรกิจที่ เกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีการขยายตัวอย่างมาก โดยเกิด ธุรกิจที่มีมูลค่า มหาศาล เช่น e-Bay, Amazon, Yahoo, Google, Youtube และ Facebook เป็นต้น
  • 6. อนาคต ธุรกิจอะไรจะเกิดได้อีกต่อไป ซึ่ง คาตอบคงไม่ได้จากัด แค่รูปแบบที่เคยเกิดขึ้นเท่านั้น การพัฒนา Web 2.0 และเครือข่ายสังคม ก็ได้สร้างธุรกิจต่างๆ ขึ้นอีกมากมาย ประมาณการได้ว่าโลกเสมือน หรือ Cyber World นั้นสามารถขยายออกไป และ มีรูปแบบต่างๆ ได้ไม่จากัด จะจากัดก็ที่จินตนาการของ มนุษย์จะสร้างขึ้น จะเห็นได้ว่า มีการสร้างอุปกรณ์ และ สื่อ ต่างๆ ในรูปแบบต่างๆ มากมาย เช่น Smart Phone, Google Glass, Smart Watch, Hologram และ AR (Augmented Reality) ออกมาขาย หรือ ทาเป็นเกม และ ยังมีบริการ เช่น Youtube Channel, Face book Live, Biko, และ เกมส์ต่างๆ มากมายให้บริการ และ มีโครงการ Start Up ทางธุรกิจ เพื่อ พัฒนาธุรกิจใหม่ๆ อีกมากมาย เช่น UBER, Grab Taxi และอื่นๆ อีกมากมายทั้งนี้เนื่องจากการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งทางฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และ เครือข่ายทั้งแบบมีสายและไร้สาย ตลอดจน เครือข่ายมือถือ 3G 4G และ 5G มีการจัดสรรเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ไปแล้วประมาณ สองร้อยล้าน เลขหมาย
  • 8. อุปกรณ์ ที่นาเสนอข้อมูลและส่วนต่อประสานผู้ใช้ Wearable Devices อุปกรณ์จำนวนมำกจะเปลี่ยนไปเป็นอุปกรณ์แบบสวมใส่ได้ เช่น แว่นตำสมำร์ท หรือ นำฬิกำสมำร์ท ที่เริ่มมีใช้แบบมำกขึ้น ในอนำคต อุปกรณ์ดังกล่ำวจะมีกำรเพิ่มเติมเข้ำไปในเครื่องใช้ส่วนตัวเช่น เสื้อผ้ำ หรือ แม้แต่รถยนต์ รูปที่ 1 แว่นตาแบบสมาร์ท ของ Google ที่ชื่อ Google Glasses https://en.wikipedia.org/wiki/Google_Glass
  • 9. Smart TV ที่ทาให้ห้องนอนห้องรับแขกเป็นสถานที่รวม สื่อที่มีความสามารถหลากหลาย โทรทัศน์แบบสมำร์ท ที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และ มีการเปิดเว็บ หรือ การแชร์ข้อมูล ระหว่างมือถือ กับ โทรทัศน์ ด้วย WiFi และในไม่ช้า จะมีโทรทัศน์แบบอินเทอร์แร็คทีฟ (Interactive) ที่ทาให้สามารถดูรายการและสืบค้นข้อมูลได้พร้อมๆ กัน หรือดูย้อนหลังได้ทันที ด้วย ความคมชัดสูงมากระดับ 4K
  • 11. บริการบอกตาบลที่(Geolocation) ระบบ GPS และบริการที่เกี่ยวเนื่องจะทาให้ไม่มีใครถูกทอดทิ้ง ผู้สูงวัยที่มีปัญหาเรื่องความจา จะถูกติดตาม และ ช่วยเหลืออย่างรวดเร็วเมื่อหายตัวไป ระบบรถบริการสาธารณะจะมีบริการที่ทาให้ไม่ ต้องรอรถนานเกินไป ณ จุดนัดหมาย หรือ อาจจะทาให้คุณสามารถเรียกรถบริการสาธารณะไปรับที่หน้า บ้าน หรือ ระบบรถไร้คนขับ ที่เราบอกที่หมายรถจะวิ่งไปได้เองอย่างปลอดภัย ซึ่งรถยนต์ไร้คนขับจาก Google ซึ่งก่อนหน้านี้ไดทาการวิ่งทดสอบบนถนนจริง ที่ความเร็วของตัวรถที่ใช้ทดสอบนั้นจะอยู่ที่ 40 km/h และหน่วยงานด้านความปลอดภัยทางจราจรบนทางหลวงแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (the National Highway Traffic Safety Administration – NHTSA) ประกาศยอมรับ ระบบไร้คนขับของ Google ในฐานะผู้ขับขี่เทียบเท่ากับมนุษย์ และสามารถควบคุมรถยนต์ได้
  • 12. ระบบนี้จะทาให้ผู้ใช้ระบบสามารถกาหนด Profile ของตน ให้อุปกรณ์ และพาหนะรับรู้ ความชอบส่วนบุคคลเช่นพฤติกรรม การเคลื่อนที่ ดนตรี และอุณหภูมิ ที่ชอบ
  • 13.
  • 14.
  • 15. Social Media สื่อสังคม ปัจจุบันนี้มีการใช้สื่อสังคม มากมาย และ มีผลต่อผู้รับสื่อไม่เท่ากัน มีการพยายามวัดผลการใช้สื่อสังคมของ บริษัท ปตท.จากัด มหาชน โดย อัจฉรา ฉัตรเฉลิมพล และ คณะ (5) ตลอดจน มีการประยุกต์สื่อสังคมใน การพัฒนา Smart Farm ของ สามารถ ดวงวิจิตรกุล และ คณะ ที่ทา ให้เห็นว่า เกษตรกรชาวสวนทุเรียน สามารถใช้สื่อสังคมในการติดต่อกับ ลูกค้า ได้เป็นอย่างดี
  • 17. สารคดี และContents of Things สำรคดี ในอนำคต จะทำให้เสมือนจริงโดยใช้ AR นักท่องเที่ยวเดินทำงไปที่ อยุธยำ เห็นซำกปรักหักพัง จะสำมำรถใช้มือถือของตนส่องลงไป และเห็นภำพเมือง ในอดีตซ้อนขึ้นมำจำกเมืองเก่ำได้ ซึ่งงำนประเภทนี้ ยังมีให้ทำอีกมำกมำยใน ประเทศไทย นอกจำกนั้น Wearable Device เช่น แว่นตำสมำร์ท จะทำให้ สำมำรถมองเห็นข้อมูล ด้วยกำรมองผ่ำนแว่นได้ทันที
  • 18. Wikipedia และสื่อที่เป็นเว็บ จะมาแทนที่สิ่งพิมพ์ทั้งหมด และ สามารถอ้างอิงได้ Youtube จะเป็นสื่อที่มีคลิป และ สาระ ตลอดจนสิ่งที่ไม่เป็น สาระทั้งหมดมารวมกัน และยังสามารถส่งสารในรูปแบบต่างๆ ได้มากมาย ทั้ง เสียง ภาพ คลิป และ สื่อสามมิติ อาจจะเป็นโฮโลแกรมได้
  • 19. ปัญหาของสื่อใหม่ในบริบทสังคมไทย สื่อ สารสนเทศ และ การสื่อสาร จะเกิดการหลอมรวม หรือ Convergence อย่างรวดเร็ว จนในที่สุด สื่อ และเครือข่ายแบบเดิมจะถูกแทนที่ ความเข้าใจในบริบท ที่เรียกว่ารู้เท่าทันสื่อ หรือ ความต้องการใน การพัฒนาสื่อที่มีความดึงดูดผู้ชมจนเกิดเป็นการแข่งขัน เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดภาวะ เสพติดสื่อ เช่นการติด เกมออนไลน์ การติดเฟส ติดไลน์ หรือ การติดการกระจายภาพในระบบสตรีมมิ่งผ่าน Facebook Live, Youtube Streaming Channel และ Biko Live ที่สามารถใช้ความสามารถของ โครงข่ายสื่อสารความเร็วสูงมาทา TeleConference แบบ Social ได้อย่างสนุกสนาน และ ง่าย ปรากฏการณ์ดังกล่าว จะทาให้มีการพัฒนาเกม และ โปรแกรมสื่อสาร ตลอดจนสื่อในรูปแบบต่างๆ มาก ขึ้น ภาครัฐ ภาคการศึกษา และ ธุรกิจ จะมีปัญหาที่จะตามเทคโนโลยีไม่ทัน ภาครัฐ เช่น กระทรวงดิจิตอล และ กสทช. ก็จะไม่สามารถควบคุมความเหมาะสมของสื่อใหม่ๆ หรือ อาจจะไม่มีทรัพยากรที่เพียงพอใน การบริหารจัดการสิ่งเหล่านี้การควบคุม แบบเข้มงวด นอกจากจะทาได้ยาก แล้ว ยังมีปัญหา เป็นอุปสรรค ต่อการพัฒนาสื่ออีกด้วย
  • 20. ข้อเสนอการวิจัยที่เกี่ยวกับสื่อใหม่ในระยะต้นน่าจะมีดังนี้ 1. การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการศึกษาในด้านต่างๆ ด้วย AR, Hologram สื่อใหม่ๆ 2. การวิจัยเพื่อพัฒนาภูมิคุ้มกันทางสังคม หรือการจัดเรทติ้ง สื่อใหม่ 3. การวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม 4. การวิจัยเรื่อง เสรีภาพของสื่อใหม่ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการกากับดูแลสื่อใหม่ 5. การวิจัยเรื่องผลกระทบของสื่อสังคม กับสังคมไทย 6. การวิจัยเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นต่อการพัฒนาสื่อใหม่ 7. การสร้างบุคลากร และการพัฒนาองค์ความรู้ที่จาเป็นต่อการพัฒนาสื่อใหม่ 8. เทคโนโลยีใหม่ๆ กับการ Broadcasting ด้วยราคาไม่แพง และสามารถสร้างสรรค์รายการได้ด้วยจนเอง (Broadcast Yourself: Desktop Studio) 9. เกมแบบ AR และเกมมือถือ กับปัญหาสังคมไทย 10. ฯลฯ
  • 21. สรุปและข้อเสนอแนะ สื่อใหม่ เป็นโอกาสทางธุรกิจ เทคโนโลยี ตลอดจนอาจจะเป็น ภัยคุกคาม ทางสังคม และ วัฒนธรรม มีโอกาสมากมายที่เราจะได้พัฒนาสื่อ และ ป้อนตลาดโลก แต่ในมุมกลับกัน หาก เราไม่พร้อม เราจะเสียโอกาส และ จะเผชิญกับภัยคุกคามใหม่ ที่จะนาประเทศเข้าสู่ความ ถดถอย ทั้งทางสังคม และ วัฒนธรรม ดังนั้น การวิจัย เพื่อหาจุดอ่อน และ สร้างโอกาสในการ พัฒนาระบบใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ในเวลาไม่เกิน ห้า ถึงสิบปีข้างหน้า จะต้องทา อย่างเร่งด่วน และ ต่อเนื่องไปเรื่อยๆ หวังว่านักวิจัยที่ได้อ่านบทความนี้จะได้นาไปใช้ในการ วิจัยและพัฒนาต่อไป
  • 22. เอกสารอ้างอิง [1] http://www.newmedia.org/what-is-new-media.html [2] http://webfoundation.org/about/vision/history-of-the-web/ [3] https://numbering.nbtc.go.th [4] Paradorn Khongmanee, Wuttipong Pongsuwan, Suchai Thanawastien,Smart Bus: Trafficand Safety for Smart Labour, Proceeding in 8th InternationalConference on Global Business Environment (ICGBE-2016) Bangkok, Thailand, July 23-24, 2016 [5] Achara Chatchalermpol,Wuttipong Pongsuwan, Leelavadee Vajropala,SOCIALMEDIA PERCEPTIONAFFECTINGTHEBUSINESSOF PTT PUBLICCOMPANYLIMITED,JOURNALINFORMATIONMANAGEMENTAND BUSINESSREVIEW(IMBR),VOL8, NO 3, 2016 [6] Samard Doungwichitrkul,Wuttipong Pongsuwan, Suchai Thanawastien,Social Communicationfor Smart Farmers: A Case Study on Durian Farmers, Proceeding in the 3rd Asian Symposium on Education, Equity and Social Justice held in Fukuoka, Japan from August 2-3, 2016.