SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 80
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คำนำ
	 หนังสือ HANBOOK FOR PHARMACIST Vol.II เล่มนี้ จัดทำขึ้น
เพื่อเป็นการเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจให้กับเภสัชกร อันจะเป็นประโยชน์
ต่อการปฏิบัติงานทางด้านวิชาชีพเภสัชกรรมได้ดียิ่งขึ้นไป
	 ขอขอบคุณคณะกรรมการชมรมจังหวัดชลบุรีทุกท่านที่มีส่วนช่วย
ทำให้หนังสือเล่มนี้สำเร็จเป็นรูปเล่ ม และขอบคุณบริษัทยาและเวชภัณฑ์
ทุกแห่งที่ให้การสนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือ และให้ความช่วยเหลือ
ในการจัดงานประชุมวิชาการและการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2553
ของชมรมเภสัชกรจังหวัดชลบุรี ให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
	 พบกันใหม่ใน HANBOOK FOR PHARMACIST Vol.III
ปีต่อไป ค่ะ
	 	 	 	 	 คณะผู้จัดทำ
	 	 	 	 	 30 พฤษภาคม 2553
สารบัญ
หน้า
คำนำ
ขนาดยาเด็กที่ใช้บ่อยในร้านยา	 1
การปรับขนาดยาในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง	 14
โรคภูมิแพ้ Allergy	 32
ประโยชน์และข้อควรระวังจากการได้รับวิตามินและแร่ธาตุ	 46
วิธีการใช้ยาที่มีเทคนิคการใช้พิเศษ	 56
ขนาดยาเด็กที่ใช้บ่อยในร้านยา
(Usual Dosage for Children)
เรียบเรียงโดย ภญ.กัญญาพร สุพิมพ์
โรงพยาบาลสมเด็กพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
	 ประสิทธิภาพในการใช้ยารักษาโรคหรือภาวะผิดปกติในเด็กขึ้นอยู่
กับการวินิจฉัย และการเลือกใช้ยาให้เหมาะสมกับโรคหรือภาวะของเด็ก
โดยทั่วไปการให้ยาในเด็กควรคำนึงถึงหลักการดังนี้
	 1.	ใช้ยาเมื่อมีข้อบ่งใช้ มีประสิทธิภาพในการรักษาและปลอดภัย
ในเด็ก และควรใช้ยาอย่างระมัดระวัง
	 2.	ต้องมีความรู้เกี่ยวกับเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร์ อาการ
ข้างเคียงของยาที่ใช้เป็นอย่างดี
	 3.	ต้องทราบขนาด วิธีการให้ยา และระยะเวลาการให้ยา รวมถึง
คำนึงถึงภาวะของเด็กเช่นในเด็กที่เป็น G6PD อาจเกิด Hemolysis ได้ถ้า
ได้รับยาในกลุ่ม sulfa เป็นต้น
	 4.	ควรแนะนำวิธีการใช้ยาให้พ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็กให้เข้าใจ และ
นำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
เภสัชจลนศาสตร์ในเด็กช่วงอายุต่างๆ
	 การใช้ยาในผู้ป่วยเด็กมีความแตกต่างจากการใช้ยาในผู้ใหญ่ทั้งด้าน
เภสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ อีกทั้งเด็กมีการเปลี่ยนแปลงทาง
กายวิภาคศาสตร์ และ สรีระวิทยาตามอายุที่เพิ่มขึ้นทำให้เด็กมีความแตกต่าง
ในการใช้ยาในแต่ละช่วงอายุด้วย โดยแบ่งกลุ่มอายุเด็กดังนี้
	 1.	ทารกคลอดก่อนกำหนด (Premature) หมายถึง ทารกที่เกิดก่อน
อายุครรภ์ครบ 38-42 สัปดาห์
	 2.	ทารกแรกเกิด (newborn, neonate) หมายถึง ทารกอายุตั้งแต่
แรกเกิด ถึง 1 เดือน
3.	ทารก (infant, baby) หมายถึง ทารกอายุตั้งแต่ 1 เดือน ถึง
1 ปี
	 4.	เด็กเล็ก (small child) หมายถึง เด็กที่มีอายุ 1-5 ปี
	 5.	เด็กโต (Old child) หมายถึง เด็กที่มีอายุ 6-12 ปี
	 6.	วันรุ่น (adolescent) หมายถึง วัยรุ่นอายุตั้งแต่ 13 ปี ถึง 18 ปี
	 เภสัชจลนศาสตร์ประกอบด้วยกระบวนการหลัก 4 กระบวนการ
ได้แก่ การดูดซึมยา (Absorption) การกระจายยา (distribution) การเปลี่ยน
สภาพยา (metabolism) และการกำจัดยา (Excretion) ซึ่งล้วนเป็น
ปัจจัยหลักที่ส่งผลให้การใช้ยาในเด็กและผู้ใหญ่แตกต่างกัน อีกทั้งในเด็ก
จะมีความไวต่อยามากกว่าในผู้ใหญ่ เนื่องจากเด็กมีความสามารถในการ
ผ่านเข้า (permeability) ของยาทาง blood brain barrier มากกว่าปกติ
ส่งผลให้มีความไวต่อฤทธิ์ของยามากขึ้น เช่น ยาที่มีฤทธิ์ในการกดประสาท
ส่วนกลาง (depressant effect) ได้แก่ phenobarbitone, morphine sulfate
เป็นต้น
	 ขนาดยาที่ใช้ในการรักษาโดยทั่วไปจะคำนวณจากน้ำหนักตัวของเด็ก
เพราะเป็นวิธีการที่สะดวกและแม่นยำที่สุดสำหรับเภสัชกรที่ประจำที่ร้านยา
ยกเว้นยาบางกลุ่ม เช่น ยากลุ่มยาเคมีบำบัด ต้องใช้ความละเอียดแม่นยำมาก
จึงต้องคำนวณจาก Body surface area, ยาที่มีTherapeutic index
แคบ เช่น Phenytione, valproic acid ซึ่งต้องใช้วิธีการคำนวณที่ละเอียด
โดยเฉพาะ เป็นต้น ดังนั้นเภสัชกรควรมีความรู้เกี่ยวกับขนาดยาเด็ก เพื่อให้
เกิดประสิทธิภาพในการรักษา
ขนาดยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial agent)
กลุ่มยาต้านจุลชีพที่ใช้บ่อยในร้านยาได้แก่
1. ยาต้านจุลชีพในกลุ่ม Penicillin
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Penicillin V (125mg/5ml) เด็กอายุ < 12 ปี : 25-50mg/kg/day
แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง  Max : 3g/day
Amoxycillin
Syr. 125mg/5ml, 250mg/5ml
เด็กอายุ <3 เดือน : 20-30mg(Amoxy)/kg/day
แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง
เด็กอายุ ≥3 เดือน : 20-50mg(Amoxy)/kg/day
แบ่งให้ทุก 8-12 ชั่วโมง    
Max:80-90mg(Amoxy)/kg/dayแบ่งให้ทุก12ชั่วโมง
(acute otitis media or severe infection)   
Amoxycillin+Clavulonic acid Syr.
(AugmentinR
228mg, 457mg/5ml)
Cloxacillin (125mg/5ml) เด็กอายุ >1 เดือน : 50-100mg/kg/day
แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง  Max : 4g/day
Dicloxacillin
Cap. 250mg, 500mg
เด็กน้ำหนัก <40 กก. : 25-50mg/kg/day
แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง ใน Osteomyelitis
ใช้ขนาด 50-100mg/kg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง
Cephalexin
(IbilexR
125mg/5ml)
เด็กอายุ >1 ปี : 25-50mg/kg/day แบ่งให้ทุก
6-8 ชั่วโมง  Severe infection : 50-100mg/kg/day
แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง  Max : 4g/day
Cefuroxime
(ZinacefR
250mg/5ml)
เด็กอายุ 3 เดือน-12 ปี : 20-30mg/kg/day
แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง
Cefaclor (DistaclorR
Syr. 125mg/5ml,250mg/5ml)
เด็กอายุ >1 เดือน : 20-40mg/kg/day
แบ่งให้ทุก 8-12 ชั่วโมง  Max: 1g/day
Cefdinir
(OmnicefR
Syr. 125mg/5ml)
เด็กอายุ 6 เดือน-12 ปี : 14mg/kg ให้วันละครั้งหรือ
7mg/kg/dose ให้วันละ 2 ครั้ง  Max : 600mg/day
Cefixime
(CefspanR
Syr. 100mg/5ml)
เด็กอายุ ≥6 เดือน : 8-20mg/kg/day
แบ่งให้ทุก 12-24 ชั่วโมง  Max : 400mg/day
Cefditoren pivoxil
(MeiactR
100mg/ Tab.)
เด็กอายุ ≥12 ปี : 10-20mg/kg/day
แบ่งให้ทุก 8-12 ชั่วโมง
2. ยาต้านจุลชีพในกลุ่ม Macrolide
3. ยาต้านจุลชีพในกลุ่ม Sulfonamides
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Erythromycin (125mg/5ml) Infant and Chlidren:
Base : 30-50mg/kg/day แบ่งให้ 6-8 ชั่วโมง
Max : 2g/day
Estolate : 30-50mg/kg/day แบ่งให้ 6-8 ชั่วโมง
Max : 2g/day
Ethylsuccinate : 30-50mg/kg/day
แบ่งให้ 6-8 ชั่วโมง  Max : 3.2g/day
Stearate : 30-50mg/kg/day แบ่งให้ 6-8 ชั่วโมง
Max : 2g/day
Azithromycin
(ZithromaxR
200mg/5ml)
เด็กอายุ ≥6 เดือน : 5-12mg/kg/day วันละครั้ง
เป็นเวลา 3 วัน Max : 500mg/day หรือ
30mg/kg/ day single dose.  Max:1500 mg/day
Roxithromycin
(RulidR
Tab. 100mg, 150mg)
Children:5-8mg/kg/dayวันละ2ครั้งควรรับประทาน
ก่อนอาหารประมาณ 1 ชั่วโมง เพื่อเพิ่มการดูดซึมยา
Max : 300mg/day
Midicamycin (MiotinR
syr.
200mg/5ml, 200mg/Tab)
20-50mg/kg/day วันละ 3 ครั้ง
Spiramycin (RovamycinR
syr.
125mg/5ml, 500mg/tab.)
50-100mg/kg/day วันละ 2-3 ครั้ง
Clarithromycin (Klacid syr. 125mg
250mg/5ml, 250mg, 500mg/Tab.)
เด็กอายุ ≥6 เดือน : 15mg/kg/day วันละ 1-2 ครั้ง,
Max : 1g/day
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Co-trimoxazole, BactrimR
(TMP 40mg.+Sulfamethoxazole
200mg/5ml)
เด็กอายุ≥2เดือน:6-12mg/kg/dayคำนวณจากTMP
แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง  Max : 320mg TMP/day
Severe infection : 15-20mg/kg/day โดยคำนวณจาก
TMP แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง (Pneumocytis)
4. ยาต้านจุลชีพในกลุ่ม Fluoroquinolones
	 ยาในกลุ่มนี้โดยปกติไม่นิยมใช้ยาในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี
เพราะมีผลทำให้เกิด Arthropathy ในเด็ก เภสัชกรควรระมัดระวังในการใช้
ยากลุ่มนี้กับเด็กเล็ก หากจำเป็นต้องมีการใช้ยา ควรใช้ยาในระยะเวลาสั้นๆ
5. ยาต้านจุลชีพในกลุ่มอื่นๆ (Miscellaneous drugs)
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Norfloxacin
(LexinorR
Tab. 100, 400mg)
15-20mg/kg/day แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง
Ofloxacin
(TarividR
Tab. 100, 200mg)
10-20mg/kg/day แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง
Ciprofloxacin
(Ciprobay 250mg, 500 mg)
20-30mg/kg/day แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Metronidazole
(FlagylR
200mg/5ml)
Infant and Chlidren:
Amebiasis : 35-50mg/kg/day แบ่งให้ทุก 8 ชั่วโมง
เป็นเวลา 10 วัน
Anaerobic infection : 15-35mg/kg/day
แบ่งให้ทุก 8 ชั่วโมง
Trichomaniasis :15-35mg/kg/day
แบ่งให้ทุก 8 ชั่วโมง เป็นเวลา 7 วัน
Albendazole (ZentelR 200mg/5ml) ขนาดยาในเด็กโดยทั่วไป :10-15mg/kg/dayหรืออาจ
ให้ตามชนิด พยาธิตัวตืด (tapeworm), พยาธิตัวกลม
(roundworm),พยาธิปากขอ(hookworm),พยาธิแส้ม้า
(whipworm), พยาธิเส้นด้าย (threadworm)
เด็กอายุ >2 ปี : 400mg single dose
เด็กอายุ 1-2 ปี : 200mg single dose
Strongyloides : เด็กอายุ >2 ปี : 400mg วันละครั้ง
เป็นเวลา 3 วัน
Liver fluke : เด็กอายุ >2 ปี : 400mg วันละ 2 ครั้ง
เป็นเวลา 3 วัน
5. ยาต้านจุลชีพในกลุ่มอื่นๆ (Miscellaneous drugs) (ต่อ)
ขนาดกลุ่มยาแก้ปวด ลดไข้
(Analgesic and Anti pirectic drugs)
กลุ่มยาแก้ปวด ลดไข้ ที่น่าสนใจในร้านยาได้แก่
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Mebendazole
(FugacarR
100mg/5ml, 100mg/tab.)
2-5mg/kg/day แบ่งให้วันละ 2 ครั้ง
Max : 100mg/dose หรืออาจให้เป็น
พยาธิตัวกลม (roundworm), พยาธิปากขอ (hook-
worm), พยาธิแส้ม้า (whipworm), พยาธิเส้นด้าย
(threadworm) : เด็กอายุ 1-2 ปี : 100mg วันละ 2
ครั้ง เป็นเวลา 3 วัน
พยาธิเข็มมุด (Pinworm) : 100mg single dose
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Ibuprofen (100mg./5ml) เด็กอายุ 6 เดือน-12 ปี :
Antipyretic, Analgesic : 5-10mg/kg/dose
ทุก 6-8 ชั่วโมง  Max : 40mg/kg/day
Rheumatoid arthritis : 30-50mg/kg/day
ทุก 6-8 ชั่วโมง  Max : 24g/day
Paracetamol
(60mg/0.6ml, 120 mg/5ml,
250mg/5ml)
10-15mg/kg/dose ทุก 4-6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Chlorpheniramine (2mg/5ml.) เด็กอายุ <12 ปี : 0.35mg/kg/day
แบ่งให้วันละ 3-4 ครั้ง  Max : 12mg/day
เด็กอายุ >12ปี : 4mg ทุก 4-6 ชั่วโมง
Max : 24mg/day
Brompheniramine
(DimetappR
4mg/5ml)
0.5mg/kg/day แบ่งให้วันละ 3-4 ครั้ง มักคำนวณ
โดยใช้ขนาดยาในกลุ่ม Decongestants เป็นหลัก
Diphenhydramine
(BenadrylR
12.5mg/5ml)
เด็กอายุ 2-12 ปี : 5mg/kg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง
Max : 300mg/day หรืออาจให้ตามอายุดังนี้
เด็กอายุ 2-<6 ปี : 6.25-12.5mg ทุก 6-8 ชั่วโมง
Max : 75mg/day
เด็กอายุ 6-<12 ปี : 12.5-2 mg ทุก 6-8 ชั่วโมง
Max : 150mg/day
เด็กอายุ ≥12 ปี : 25-50mg ทุก 6-8 ชั่วโมง
Max : 300mg/day
Cetirizine (ZyrtecR
5mg/5ml) 0.25mg/kg/day แบ่งให้วันละ 1-2 ครั้ง
เด็กอายุ 6-12 เดือน : 2.5mg วันละครั้ง
เด็กอายุ 12 เดือน-2 ปี : 2.5mg วันละครั้ง หรือ
2.5mg วันละ 2 ครั้ง
เด็กอายุ 2-5 ปี : 2.5mg วันละ 2 ครั้ง หรือ
5mg วันละครั้ง
เด็กอายุ ≥5 ปี ให้ 5-10mg วันละครั้ง
Ketotifen (ZaditenR
1mg/5ml) เด็กอายุ ≥6 ปี : 0.25mg/kg/dose วันละ 2 ครั้ง
(อาจเพิ่มขนาดได้แต่ไม่เกิน 1mg/dose)
ขนาดยาในระบบทางเดินหายใจ (Respiratory drugs)
กลุ่มยาในระบบทางเดินหายใจใช้บ่อยในร้านยาได้แก่
1. ยาในกลุ่ม Antihistamine
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Hydroxyzine
(AtaraxR
10mg/5ml)
2mg/kg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง หรืออาจให้
ตามอายุดังนี้
เด็กอายุ 6 เดือน-1 ปี : 10-15mg/day
แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง
เด็กอายุ 1-5 ปี : 20-30mg/day
แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง
เด็กอายุ 6-10 ปี : 30-60mg/day
แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง
Loratadine
(ClarityneR
5mg/5ml)
เด็กอายุ 2-5 ปี : 5mg วันละครั้ง
เด็กอายุ ≥6 ปี : 10mg วันละครั้ง
Fexofenadine
(TelfastR
60mg/tablet)
เด็กอายุ 6 เดือน- <2 ปี :
เด็กอายุ 2-11 ปี : 30mg วันละครั้ง
เด็กอายุ >12 ปี : 60mg วันละครั้ง
Desloratadine
(AeriusR
5mg/tablets, 2.5mg/5ml)
เด็กอายุ 6-11 เดือน : 1mg วันละครั้ง
เด็กอายุ 12 เดือน-5 ปี : 1.25mg วันละครั้ง
เด็กอายุ 6-11 ปี : 2.5mg วันละครั้ง
เด็กอายุ >12 ปี : 5mg วันละครั้ง
Levocetirizine
(ZyxalR
5mg/tablets)
0.125mg/kg/day วันละครั้ง
Leukotriene receptor antagonists
Montelukast (SingulairR
5, 10mg/
tablets, 4mg/ซอง
เด็กอายุ 6 เดือน-5 ปี : 4mg วันละครั้ง
เด็กอายุ 6-14 ปี : 5mg วันละครั้ง
เด็กอายุ 15 ปีขึ้นไป : 10mg วันละครั้ง
1. ยาในกลุ่ม Antihistamine (ต่อ)
2. ยาในกลุ่ม Decongestants
3. ยาในกลุ่ม Expectorants
4. ยาในกลุ่ม Mucolytics
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ActifedR
(Triprolidine 1.25mg
+Pseudoephedrine 30mg/5ml)
4mg/kg/day (3-5 mg/kg/day) คิดจาก
Pseudoephedine แบ่งให้วันละ 3-4 ครั้ง
หรือ 1mg/Kg/ครั้ง คิดจากน้ำหนักได้เลย
Pseudoephedrine
(MaxiphedR
30mg/5ml)
Phenylephrine (dimetappR
elixir
5mg/5ml+Brompheniramine
2mg/5ml)
1mg/kg/day แบ่งให้วันละ 3-4 ครั้ง   
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Guaifenesin (TussaR
, RobitussinR
100mg/5ml.)
เด็กอายุ 6 เดือน-<2 ปี : 12/kg/day
ให้วันละ 3-4 ครั้ง หรือ 25mg-50mg
ให้วันละ 3-4 ครั้ง  Max : 300mg/day
เด็กอายุ 2-5 ปี : 50mg-100mg ให้วันละ 3-4 ครั้ง
Max : 600mg/day
เด็กอายุ 6-11 ปี : 100-200mg ให้วันละ 3-4 ครั้ง
Max : 1.2gm/day
เด็กอายุ >12 ปี : 200-400mg ให้วันละ 3-4 ครั้ง
Max : 2.4gm/day
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Carbocisteine (Rhinathiol 100mg/
5ml, Flemex 250mg/5ml)
เด็กอายุ 2-5 ปี : 62.5-125mgรับประทานวันละ
3-4 ครั้ง
เด็กอายุ 6-12 ปี : 250mg รับประทานวันละ 3 ครั้ง
เด็กอายุ >12 ปี : 500mg รับประทานวันละ 3 ครั้ง
4. ยาในกลุ่ม Mucolytics (ต่อ)
5. ยาในกลุ่ม Brochodilators
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Bromhexine
(BisolvonR
4mg/5ml)
เด็กอายุ <2 ปี ให้ 1mg (1.2-1.5ml) วันละ 3 ครั้ง
เด็กอายุ 2-6 ปี ให้ 2mg (2.5ml) วันละ 3 ครั้ง
เด็กอายุ 6-12 ปี ให้ 4mg (5ml) วันละ 3 ครั้ง
เด็กอายุ >12 ปี ให้ 8mg (1 เม็ด) วันละ 3 ครั้ง
Acetylcysteine
(FluimucilR
100mg, 200mg/ซอง)
20-30mg/kg/day แบ่งให้วันละ 3  ครั้ง หรืออาจให้
ตามอายุดังนี้
เด็กอายุ <2 ปี ให้ 50mg วันละ 3 ครั้ง
เด็กอายุ 2-6 ปี ให้ 100mg วันละ 3 ครั้ง
Ambroxol
(MucosolvanR
30mg/5ml)
เด็กอายุ <2 ปี ให้ 7.5mg วันละ 2 ครั้ง
เด็กอายุ 2-5 ปี ให้ 7.5mg  วันละ 2-3 ครั้ง
เด็กอายุ 6-12 ปี ให้ 15mg วันละ 2-3 ครั้ง
เด็กอายุ >12 ปี ให้ 15-30mg วันละ 3 ครั้ง
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Salbutamol (VentrolinR
2mg/5ml) 0.1-0.2mg/kg/dose ให้ยาทุก 6-8 ชั่วโมง หรืออาจให้
ตามอายุดังนี้
เด็กอายุ 2-5 ปี : 0.1-0.2mg/kg/dose ให้ 3 มื้อ/วัน ;
ไม่เกิน 12mg/วัน
เด็กอายุ 6-12 ปี : 2mg/dose ให้ 3-4 มื้อ/วัน ;
ไม่เกิน 24mg/วัน
เด็กอายุ >12 ปี : 2-4mg/dose ให้ 3-4 มื้อ/วัน ;
ไม่เกิน 32mg/วัน
Terbutaline
(BricanylR
1.5mg/5ml)
เด็กอายุ <12 ปี : 0.05mg/kg/dose
ให้ยาทุก 6-8 ชั่วโมง  Max : 0.15mg/kg/dose หรือ
โดยรวมไม่เกิน 5mg/day
เด็กอายุ >12 ปี : 2.5mg/dose วันละ 3 ครั้ง
โดยรวมไม่เกิน 7.5mg/day
Procaterol (MeptinR
25mcg/5ml) 1.25mcg/kg/dose ให้ยาทุก 12 ชั่วโมง
6. ยาในกลุ่ม Dry Cough
ขนาดยาในระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinol drugs)
กลุ่มยาในระบบทางเดินอาหาร ที่ใช้บ่อยในร้านยาได้แก่
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Dextromethorphan
(RomilarR
15mg/5ml
1-2mg/kg/day แบ่งให้วันละ 3 ครั้ง ขนาดยาสูงสุด
ในเด็ก
เด็กอายุ 2-6 ปี : ไม่เกิน 30mg/วัน
เด็กอายุ 6-12 ปี : ไม่เกิน 60mg/วัน
เด็กอายุ ≥12 ปี : <120mg/วัน
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Domperidone
(MotiliumR
5mg/5ml)
0.2-0.4mg/kg/dose ให้ทุก 6-8 ชั่วโมง หรืออาจให้
ตามอายุดังนี้
เด็กอายุ <1 ปี : ¼-1/2 ช้อนชา 3-4 มื้อ/วัน   
เด็กอายุ 1-5 ปี : ½-1 ช้อนชา 3-4 มื้อ/วัน
เด็กอายุ 6-12 ปี : 1-2 ช้อนชา 3-4 มื้อ/วัน
Simethicone
(Air-XR
40mg/0.6ml)
เด็กอายุ < 2 ปี : 20mg (0.3ml) 3-4 times/day
เด็กอายุ 2-12 ปี : 40mg (0.6ml) 3-4 times/day
อายุ >12 ปี : 40-125mg 3-4 time/day
Max : 500mg/day
Dicyclomine
(BerclomineR
5mg/5ml)
เด็กอายุ 6 เดือน-1 ปี : 5mg/dose รับประทานวันละ
3-4 ครั้ง
เด็กอายุ >1 ปี : 10mg/dose รับประทานวันละ 3-4
ครั้ง
Hyoscine
(BuscopanR
5mg/5ml)
0.3-0.6mg/kg/dose ให้ทุก 6-8 ชั่วโมง หรืออาจให้
ตามอายุดังนี้
เด็กอายุ<1ปี:2.5mg/doseรับประทานทุก6-8ชั่วโมง
เด็กอายุ1-6ปี:5-10mg/doseรับประทานทุก6-8ชั่วโมง
เด็กอายุ >6 ปี : 10-20mg/dose รับประทานทุก 6-8
ชั่วโมง
กลุ่มยาในระบบทางเดินอาหาร ที่ใช้บ่อยในร้านยาได้แก่ (ต่อ)
ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Aluminum hydroxide 220mg with
Magnesium hydroxide 120mg/5ml
(Alum milkR
)
Peptic ulcer
Neonate (แรกเกิด-1 เดือน) : 1ml/kg/dose
ทารก (1 เดือน-1 ปี) : 2-5ml/ครั้ง
เด็กเล็ก (1-5 ปี) : 5-15ml/ครั้ง
เด็กโต (6-12 ปี) : 15-45ml/ครั้ง
	 รับประทานขณะท้องว่าง โดยปกติคือ 1 ชั่วโมง
ก่อนอาหาร หรือ 2 ชั่วโมงหลังอาหาร
Cimetidine (tagamentR
200, 400,
800mg/tablets)
20-40mg/kg/day แบ่งให้วันละ 2-4 ครั้ง
Ranitidine
(ZantacR
150mg, 300mg/tablets)
เด็กอายุ 1 เดือน-16 ปี : 2-4mg/kg/day แบ่งให้วันละ
2 ครั้ง  Max : 300mg/day
GERDs : 5-10mg/kg/day แบ่งให้วันละ 2 ครั้ง
Famotidine
(AgufamR
20mg/tablets)
เด็กอายุ <3 เดือน : 0.5mg/kg/dose วันละครั้ง
เด็กอายุ 1 เดือน-16 ปี : 1-2mg/kg/day แบ่งให้วันละ
2-3 ครั้ง  Max : 80mg/day
Omeprazole
(MiracidR
, LosecR
20mg/Capsule)
เด็กอายุ ≥2 ปี : 0.6-3.3mg/kg/day แบ่งให้วันละ
1-2 ครั้ง หรืออาจให้ตามน้ำหนักตัว ดังนี้
เด็กหนัก <20kg : 10mg/kg วันละครั้ง
เด็กหนัก ≥20kg : 20mg/kg วันละครั้ง
Lactulose (DuphalacR
10g/15ml) เด็กทารก : 2.5-10ml/day
เด็กเล็ก : 40-90ml/day
เด็กโต : 30-45ml/day
Magnesium hydroxide อายุ <2 ปี : 0.5ml/kg/day
เด็กอายุ 2-5 ปี : 5-15ml/day
เด็กอายุ6-12 ปี : 15-30ml/day
เด็กอายุ >12 ปี : 30-60ml/day ให้ก่อนนอนหรือ
แบ่งให้วันละ 1-2 ครั้ง
Reference :
1.	Lacy CF, Armstrong LL, Golden MP, Lance LL, editors. Drug
	 information handbook.14 th ed. Hudson(OH): Lexi; 2004.  
2.	Lacy CF, Armstrong LL, Golden MP, Lance LL, editors. Drug
	 information handbook.17 th ed. Hudson(OH): Lexi; 2008-2009.
3.	Evangelista LF,Au LE, Arrojo MA, Francisco JC, editor. MIMS
	 Thailand. Bangkok: Medimedia (Thailand) Ltd; 2008
4.	Taketomo CK, Hodding JH and Kraus DM editor. Pediatric
	 Dosage Handbook. 12 th ed.Hudson(OH):Lexi;2005.
5.	คู่มือการใช้ยาในเด็ก:ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์
	 มหาวิทยาลัย พิมพ์ที่ บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ 2549.
6.	ภัทรินทร์ พิทักษ์โชติวรรณ และวีรยา กุลละวณิชย์, “ความถูกต้องของ
	 การคำนวณขนาดยาในเด็ก จากขนาดยาในผู้ใหญ่” ปริญญาตรี (เภสัชศาสตร
	 บัณฑิต), คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2549.
7.	ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์และคณะ. คู่มือหมอใหม่. กรุงเทพมหานคร:
	 สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.
การปรับขนาดยาในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
(Drug Dosing Adjustments in Patients
with Chronic Kidney Disease)
เรียบเรียงโดย ภก.ธีรศักดิ์ วงษ์วาน
โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
บทนำ
	 โรคไตวายเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease; CKD) มีผลต่อยา
ที่มีการขจัดยาออกทางไตและต่อขบวนการทางเภสัชจลนศาสตร์อื่นๆ เช่น
Drugabsorption,bioavailability,proteinbinding,drugdistribution,nonrenal
clearance (metabolism) หากผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังได้รับยาในขนาดที่
ไม่เหมาะสม อาจมีผลทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์/เกิดพิษจากยา หรือ
ไม่ได้ประสิทธิภาพเพียงพอในการรักษา (ineffective therapy) ดังนั้นยา
ที่ขจัดออกทางไตควรได้รับการปรับขนาดยาตามอัตราการกรองของ
หน่วยไต (glomerular filtration rate; GFR) หรือ creatinine clearance
(CrCl) ซึ่งวิธีการปรับขนาดยา คือ การลดขนาดยา (dosage reduction
method) การขยายระยะห่างของการให้ยา (interval extension method)
หรือใช้ทั้งสองวิธีร่วมกัน5
ในฐานะเภสัชกรเป็นผู้ที่มีความรู้ในเรื่องยาและ
ขนาดยา จึงควรมีความรู้เกี่ยวกับยาที่ใช้กันบ่อยๆ ที่จำเป็นจะต้องมีการปรับ
ขนาดยาตามการทำงานของไต และมีบทบาทเป็นผู้ที่สื่อสารหรือให้ข้อมูล
การปรับขนาดยาแก่บุคลากรทางการแพทย์ เพื่อจะได้ช่วยบริบาลทาง
เภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังให้ได้รับยาในขนาดที่เหมาะสม
โรคไตวายเรื้อรัง (Chronic kidney disease; CKD) คือ ภาวะที่
ผู้ป่วยมีการทำงานของไตลดลงอย่างช้าๆ ค่อยเป็นค่อยไปอย่างต่อเนื่อง
โดย The National Kidney Foundation Kidney Disease Outcomes Qual-
ity Initiative (K/DOQI) ได้กำหนดนิยามของ Chronic kidney disease คือ
การที่ไตถูกทำลาย (kidney damage) หรือมีการลดลงของอัตราการกรอง
ผ่านหน่วยไต (glomerular filtration rate ; GFR) น้อยกว่า 60mL/min/
1.73m2
ติดต่อกันเป็นเวลานานกว่า 3 เดือน.1,5
ซึ่งส่งผลทำให้เกิดการสะสม
ของเสียในร่างกาย มีความผิดปกติของสมดุลน้ำ กรดด่างและอิเล็กโตรไลท์
โดยผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังมักมีภาวะแทรกซ้อนทางระบบต่างๆ เช่น
ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบประสาท ระบบหัวใจและหลอดเลือด และระบบ
ทางเดินอาหาร ตลอดจนปัญหาทางโภชนาการและโลหิตจาง เป็นต้น
	 สำหรับการแบ่งระยะโรคไตวายเรื้อรังตามระบบของ K/DOQI
แสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 	แสดงการแบ่งระยะโรคไตวายเรื้อรัง อุบัติการณ์และจำนวน
	 	 ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังในผู้ใหญ่1





 











 









 



การปรับขนาดยา (Dosing Adjustments)
	 โดยทั่วไปแล้วขนาดยา Loading dose ไม่จำเป็นต้องปรับในผู้ป่วย
โรคไตวายเรื้อรัง และแนวทางการปรับขนาดยาที่ตีพิมพ์ในหนังสืออ้างอิง
ต่างๆ แนะนำให้ปรับขนาดยาต่อเนื่อง (maintenance dose) ซึ่งการปรับ
ขนาดยาคือให้ลดขนาดยาลง(Dosereductionmethod;D)การขยายระยะห่าง
ของการให้ยา(Intervalextensionmethodorlengtheningthedosinginterval
; I) หรือใช้ทั้งสองวิธี (D,I)5
	 แนวทางการปรับขนาดยาแต่ละตัวสามารถดูได้จากหนังสือ
Drug Prescribing in Renal Failure: Dosing Guidelines for Adults ซึ่งตาม
แนวทางนี้ได้แสดงการปรับขนาดยาตามช่วงของอัตราการกรองของหน่วยไต
(GFR) โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ GFR น้อยกว่า 10 mL/minute/1.73 m2
  ค่า
GFRอยู่ระหว่าง10-50mL/minute/1.73m2
และค่าGFRมากกว่า50mL/
minute/1.73 m2
ซึ่งการจัดแบ่งตามแนวทางนี้ไม่ได้สัมพันธ์กับการแบ่ง
ระยะของโรคไตวายเรื้อรังตามระบบของK/DOQIstagingsystemแต่สามารถ
ใช้เป็นขนาดยาเริ่มต้น (initial dosages) ได้ รูปแบบการให้ยา (regimens)
อาจต้องปรับในผู้ป่วยแต่ละคนขึ้นอยู่กับการตอบสนองของผู้ป่วยและความ
เข้มข้นของระดับยาในเลือด ส่วนการคำนวณค่าอัตราการกรองของหน่วยไต
หรือ GFR ในทางปฏิบัตินั้นคำนวณยาก เราสามารถใช้ค่า creatinine clear-
ance (CrCl) แทนได้โดยคำนวณตาม Cockcroft-Gault equation.
	 โดยสูตรของ Cockcroft-Gault ที่ใช้สำหรับคำนวณค่า CrCl มีดังนี้
CrCl (male) = ([140-age] X weight in kg)/(serum creatinine X 72)
CrCl (female) = CrCl (male) X 0.85
ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs)
	 ยาต้านจุลชีพหลายตัวที่มีการขจัดยาออกทางไต ดังนั้นผู้ป่วยที่
มีภาวะไตวายเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการปรับขนาดยา อย่างไรก็ตาม ยาที่
ใช้กันทั่วไปบางตัวไม่จำเป็นต้องปรับขนาดยา เช่น Cloxacillin Dicloxacillin
Ceftriaxone Doxycycline Clindamycin และสำหรับยา Metronidazole
คำแนะนำของการปรับขนาดยานั้นหลากหลาย กล่าวคือ โดยหาก CrCl
น้อยกว่า 10 ml/min และไม่ได้ฟอกเลือด (on dialysis) เพื่อลดความเสี่ยง
ของการสะสมยาในร่างกายผู้ป่วยที่อาจเกิดได้จากการได้รับยาแบบหลายครั้ง
(multiple doses) ให้พิจารณาลดขนาดยาเหลือ 50% ของขนาดปกติหรือ
ให้บริหารยาห่างกัน ทุก 12 ชั่วโมง แต่อาจไม่จำเป็นต้องปรับลดขนาดยา
หากให้ยารักษาในระยะสั้น (short course) แต่คำแนะนำในหนังสืออ้างอิง
บางเล่ม แนะนำว่า ไม่จำเป็นต้องปรับลดขนาดยา Metronidazole4,6
ยาแก้ปวด (Analgesics)
	 ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังโดยเฉพาะโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
(stage 5 kidney disease; ESRD) มีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดอาการไม่พึงประสงค์
จากการใช้ยาระงับปวดกลุ่มอนุพันธ์ของฝิ่นได้โดยสารที่เกิดจากการเปลี่ยน
สภาพยา (metabolites) ของยา ได้แก่ meperidine (pethidine), morphine,
dextropropoxyphene, tramadol  และยา codeine สามารถเกิดการสะสมใน
ร่างกาย ส่งผลทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
(CNS) และกดการหายใจได้ เช่น หากมีการสะสมของสาร normeperidine
ซึ่งเป็นสารmetabolitesของยาmeperidineที่มีค่าครึ่งชีวิตยาว15-30ชั่วโมง
โดย normeperidine มีฤทธิ์ระงับปวดน้อยหรือแทบจะไม่มีฤทธิ์ระงับปวดเลย
แต่กลับมีฤทธิ์เป็น Neuroexcitatory effect หรือ CNS stimulant ทำให้เกิด
อาการไม่พึงประสงค์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง เช่น เกิดภาวะวิตกกังวล
(anxiety),สั่น(tremors),สับสน(confusion),ประสาทหลอน(hallucinations),  
hyperreflexia, กล้ามเนื้อเกร็งกระตุก (myoclonus) และอาจเกิดอาการชักได้
เป็นต้น
	 โดยยาเหล่านี้ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ4 และ
5 สำหรับยา morphine และ codeine แนะนำให้ลดขนาดยาลงเป็น 50-75%
ในผู้ป่วยที่มีค่าcreatinineclearanceน้อยกว่า50mL/minute.ส่วนยาtrama-
dol (regular release) ในผู้ป่วยที่มีค่า creatinine clearance น้อยกว่า 30 mL/
minute. ควรปรับขนาดยาโดยการขยายระยะห่างการให้ยา (interval exten-
sion) เป็นทุก 12 ชั่วโมง และขนาดยาสูงสุดเป็น 200 mg/day หากเป็นยา
tramadol รูปแบบ extended-release ควรหลีกเลี่ยงการใช้ในผู้ป่วยโรคไตวาย
เรื้อรัง (CKD) ส่วนยา Acetaminophen (Paracetamol) เป็นยาที่สามารถใช้ได้
อย่างปลอดภัยในผู้ป่วยไตบกพร่อง (renal impairment)5
Class/Drug
Dose
for
Normal
Renal
Function
Adjustment
for
Renal
Failure
Method
Estimated
CrCl
(ml/min)
>
50
10-50
<
10
Narcotic
Analgesics
Codeine
30-60
mg
q4-6h
D
100%
75%
50%
Meperidine
(Pethidine)
50-100
mg
q3-4h
D
100%
75%
50%
Morphine
20-25
mg
q4h
D
100%
75%
50%
Naloxone
2
mg
IV
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Methadone
2.5-10
mg
q6-8h
D
100%
100%
50-75%
Non-narcotic
Analgesics
Acetaminophen
500-1,000
mg
PO  q4-6h
I
q4h
q6h
q8h
Aspirin
325-650
mg
PO
q4h
I
q4h
q4-6h
Avoid
Tramadol
50-100
mg
PO
q8-12h
I
100%
CrCl
>
30
ml/min
:
No
Change
CrCl
<
30
ml/min
:
	
50-100
mg
PO
q12h
	
(max.
200
mg/day)
ตารางที
่
2	
แสดงแนวทางการปรั
บ
ขนาดยาแก้
ป
วด
2,
4
ตารางที
่
3
	
แสดงแนวทางการปรั
บ
ขนาดยาที
่
ใ
ช้
ร
ั
ก
ษาโรคความดั
น
โลหิ
ต
สู
ง
2,
5
Class/Drug
Dose
for
Normal
Renal
Function
Adjustment
for
Renal
Failure
Method
Estimated
CrCl
(ml/min)
>
50
10-50
<
10
Diuretics
Amiloride
5
mg  q24h
D
100%
50%  
If
CrCl  <
30
ml/min
:
Avoid
Avoid
Furosemide
20-300  mg  q12-24h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Hydrochlorothi-azide
(HCTZ)
6.25-100
mg  q24h
D
100%
100%
Ineffective
if
CrCl  <
30
Spironolactone
50-100
mg/day
I
q12h
q12-24h
If
CrCl  <
30
ml/min
:
Avoid
Avoid
Angiotensin-Converting
Enzyme
(ACE)
Inhibitors
Captopril
6.25-100
mg
/day  q8-12h
(max.
450
mg/day)
D
100%
75%
50%
Enalapril
2.5-40
mg/day  q12-24h
(max.
40
mg/day)
D
100%
75-100%
50%
Class/Drug
Dose
for
Normal
Renal
Function
Adjustment
for
Renal
Failure
Method
Estimated
CrCl
(ml/min)
>
50
10-50
<
10
Perindopril
4
-
8
mg/day  q24h
(max.
16
mg/day)
D,I
100%
2
mg  q24-48h
2
mg
q48h
Ramipril
2.5-10
mg/day   q24h
D
100%
25-50%
25%
Angiotensin
II
Receptor
Antagonists
(ARBs)
Candesartan
8-32
mg  q24h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Irbesartan
150-300
mg  q24h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Losartan
25-100
mg  q24h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Valsartan
80-320  mg  q24h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Beta-Blockers
Atenolol
50
-100
mg
PO
q24h
D
50
-100
mg
q24h
25-50
mg
q24h
25
mg  q24h
Bisoprolol
2.5-
20
mg  PO
q24h
D
100%
75%
50%
ตารางที
่
3
	
แสดงแนวทางการปรั
บ
ขนาดยาที
่
ใ
ช้
ร
ั
ก
ษาโรคความดั
น
โลหิ
ต
สู
ง
2,
5
(ต่
อ
)
Class/Drug
Dose
for
Normal
Renal
Function
Adjustment
for
Renal
Failure
Method
Estimated
CrCl
(ml/min)
>
50-90
10-50
<
10
Penicillins
Penicillin
G
0.5-4
million
unite
q4-6h
D
100%
75%
20-50%
Penicillin
VK
125-500
mg
PO
q6h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
ตารางที
่
4
	
แสดงแนวทางการปรั
บ
ขนาดยาต้
า
นจุ
ล
ชี
พ
(Antimicrobial
agents)
ในผู
้
ป
่
ว
ยไตวายเรื
้
อ
รั
ง
3,
4,
6.7
Class/Drug
Dose
for
Normal
Renal
Function
Adjustment
for
Renal
Failure
Method
Estimated
CrCl
(ml/min)
>
50
10-50
<
10
Carvedilol
3.125-25
mg
PO
q12-24h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Metoprolol
50-200
mg
PO
q24h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Propranolol
80-160
mg
PO
q12h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Calcium-Channel
Blockers
(CCBs)
:
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
α
1
-adrenergic
receptors
blockers
:
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
ตารางที
่
3
	
แสดงแนวทางการปรั
บ
ขนาดยาที
่
ใ
ช้
ร
ั
ก
ษาโรคความดั
น
โลหิ
ต
สู
ง
2,
5
(ต่
อ
)
Class/Drug
Dose
for
Normal
Renal
Function
Adjustment
for
Renal
Failure
Method
Estimated
CrCl
(ml/min)
>
50-90
10-50
<
10
Amoxicillin
250-500
mg
PO
q8h
I
q8h
q8-12h
q24h
Ampicillin
250
mg
–
2  g
IV
q6h
I
q6h
q6-12h
q12-24h
Amoxicillin
(AM)
+
Clavulanate
(CL)
500/125
mg  q8h
(if
CrCl
≤
30
ml/min
do
not
use
875/125
AM/CL)
D,
I
500/125
mg
q8h
250-500
mg
AM.
compo-
nent  q12h
250-500
mg
AM.
component  
q24h
Ampicillin+sulbactam
2
g
Ampi
+
1
g
SB  q6h
I
q6h
q8
-12h
q24h
Cloxacillin
  500
mg
–
2
g
IV
q6h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Dicloxacillin
250-500
mg
PO
q6h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Piperacillin
+
tazobactam
3.375
-
4.5
g   q6-8h
D,
I
100%
2.25  g  q6h
(q8h  if  CrCl
<
20
ml/min)
2.25  g  q8h
Cephalosporins
Cefazolin
sodium
1-2
g
IV
q6-8h
I
q8h
q12h
q24-48h
ตารางที
่
4
	
แสดงแนวทางการปรั
บ
ขนาดยาต้
า
นจุ
ล
ชี
พ
(Antimicrobial
agents)
ในผู
้
ป
่
ว
ยไตวายเรื
้
อ
รั
ง
3,
4,
6.7
(ต่
อ
)
Class/Drug
Dose
for
Normal
Renal
Function
Adjustment
for
Renal
Failure
Method
Estimated
CrCl
(ml/min)
>
50-90
10-50
<
10
Cephalexin
250
-
500
mg
PO
q6-8h
I
q6-8h
  q8-12h
q12-24h
Cefoxitin
sodium
2
g  IV
q8h
I
q8h
q8-12h
q24-48h
Cefuroxime
sodium
0.75
-1.5
g
IV
q8h
I
q8h
q8-12h
q24h
Cefdinir
200-300
mg
PO
q12h
(max.
600
mg/day)
D,
I
100
%
CrCl
>
30
ml/min
:
No
change
    CrCl
<
30
ml/min
:
300
mg  
q24h
Cefditoren
200
mg  PO
q12h
(may
up
to
400
mg  q12h)
D,
I
200
mg  PO
q12h
CrCl
30
-
50
:
200
mg   q12h
CrCl
<
30
:  200
mg
q24h
Cefixime
200
mg
q12h  (6-12
MKD)
D
100%
75%
50%
Cefotaxime
1-2
g  IV  q6-8h
I
q8-12h
q12
-24h
q24h
Ceftazidime
1-2
g  q8h  (max.6
g/d)
I
q8-12h
q12-24h
q24-48h
Ceftriaxone
1-2
g  q12-24h
(max.4
g/d)
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Cefoperazone
1-3
g
IV  q8h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
ตารางที
่
4
	
แสดงแนวทางการปรั
บ
ขนาดยาต้
า
นจุ
ล
ชี
พ
(Antimicrobial
agents)
ในผู
้
ป
่
ว
ยไตวายเรื
้
อ
รั
ง
3,
4,
6.7
(ต่
อ
)
Class/Drug
Dose
for
Normal
Renal
Function
Adjustment
for
Renal
Failure
Method
Estimated
CrCl
(ml/min)
>
50-90
10-50
<
10
Sulperazone  1.5
g
(
Cefoperazone
1g
+
Sul-
bactam
0.5
g
)
Cefoperazone
1-2
g
IV,IM  q12h
Max:
4
g/day
Sulbactam
D
Cefoperazone
1-2
g
IV,IM
q12h
CrCl
:15-30
ml/min
1
gm
q12h
Max
:
2
g/day
CrCl
<
15
ml/
min
500
mg
q
12h
Max
:
1
g/day
Cefepime
2
g  IV
q8h  (max.
dose)
D,
I
2
g  q8h
2
g  q12-24h
1
g
q24h
Once-daily
Aminoglycoside
therapy
CrCl
(ml/min)
>
80
60-80
40-60
30-40
20-30
10-20
<
10
Drugs
Dose
(mg/kg)  q24h
Dose
(mg/kg)  q48h
Dose
q72h
Gentamicin
/
Tobramycin
5.1
4
3.5
2.5
4
3
2
Amikacin
/
Streptomycin
15
12
7.5
4
7.5
4
3
Netilmicin
6.5
5
4
2
3
2.5
2
ตารางที
่
4
	
แสดงแนวทางการปรั
บ
ขนาดยาต้
า
นจุ
ล
ชี
พ
(Antimicrobial
agents)
ในผู
้
ป
่
ว
ยไตวายเรื
้
อ
รั
ง
3,
4,
6.7
(ต่
อ
)
Class/Drug
Dose
for
Normal
Renal
Function
Adjustment
for
Renal
Failure
Method
Estimated
CrCl
(ml/min)
>
50-90
10-50
<
10
Macrolides
Azithromycin
250-500
mg
PO
OD
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
ให้
ใ
ช้
ย
านี
้
อ
ย่
า
งระมั
ด
ระวั
ง
ในผู
้
ป
่
ว
ยที
่
ม
ี
CrCl
<
10
ml/min
Clarithromycin
0.5-1.0
g
q12h
D
100%
75%
50-75%
Erythromycin
250-500
mg
PO
q6h
D
100%
100%
50-75%
(250
mg  q6h)
Roxithromycin
150
mg
PO
bid
ac
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Ketolides
Telithromycin
800
mg
PO
q24h
D
100%
600
mg
q24h
(If
CrCl
<
30
ml/min)
Fluoroquinolones
Norfloxacin
400
mg
PO
q12
h
400
mg  q12
h
CrCl
10-30
ml/min:
400
mg  q24h
Avoid
ตารางที
่
4
	
แสดงแนวทางการปรั
บ
ขนาดยาต้
า
นจุ
ล
ชี
พ
(Antimicrobial
agents)
ในผู
้
ป
่
ว
ยไตวายเรื
้
อ
รั
ง
3,
4,
6.7
(ต่
อ
)
Class/Drug
Dose
for
Normal
Renal
Function
Adjustment
for
Renal
Failure
Method
Estimated
CrCl
(ml/min)
>
50-90
10-50
<
10
Ofloxacin
200-400
mg
PO
q12h
D,
I
200-400
mg
q12h
CrCl
20-50
:
200-400
mg
q24h
CrCl
<
20
:
50%
q24h
Ciprofloxacin
500-750
mg
PO
q12h  
or  400
mg  IV
q12h
D
100%
50-75%
50%
Levofloxacin
750
mg
q24h  IV,
PO
D,
I
750
mg
q24h
CrCl
20-49
ml/min
:
750
mg
q48h
CrCl
<20
ml/min
:
750
mg
once  
then
500
mg
q48h
Moxifloxacin
400
mg  q24h  IV,
PO
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Other
antibiotics
Aztreonam
2
g  IV
q8h
D
100%
50-75%
25%
Imipenem
/
cilastatin
500
mg  IV
q6h
(
max.
4
g/day
)
D,
I
250-500
mg
q6-8h
250
mg
q6-12h
125-250
mg
q12h
ตารางที
่
4
	
แสดงแนวทางการปรั
บ
ขนาดยาต้
า
นจุ
ล
ชี
พ
(Antimicrobial
agents)
ในผู
้
ป
่
ว
ยไตวายเรื
้
อ
รั
ง
3,
4,
6.7
(ต่
อ
)
Class/Drug
Dose
for
Normal
Renal
Function
Adjustment
for
Renal
Failure
Method
Estimated
CrCl
(ml/min)
>
50-90
10-50
<
10
Meropenem
1
–
2  gm  IV  q8h
(max.
6
g/day)
D,
I
100%
IV
q8h
If
>
25
ml/min:
100%
IV
q12h
If  ≤
25
ml/min
50%
IV
q12h
50%
IV
q24h
Vancomycin
1
g
IV
q12h
D,
I
1
g  q12h
1
g  q24-96h
1
g  q
4-7
days
Clindamycin
PO
150-450
mg  q6-8h
IV  600-900
mg  q6-8h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Colistimethate
sodium
(colistin)
80
-
160
mg
IV
q8h
or  2.5
-
5
mg/kg/day
D
160
mg
q12h
160
mg
q24h
160
mg
q36h
Metronidazole
500
mg
IV  q6-8h
D
100%
100%
50%
Sulfamethoxazole
+
Trimethoprim
(Bactrim)
5
mg/kg
TMP
IV
q8
h
D
100%
50%
Not
recommended
Bactrim
®
(prophylaxis)
DS
1
tab.  PO
OD
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Doxycycline
100-200
mg/day  PO
bid
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
ตารางที
่
4
	
แสดงแนวทางการปรั
บ
ขนาดยาต้
า
นจุ
ล
ชี
พ
(Antimicrobial
agents)
ในผู
้
ป
่
ว
ยไตวายเรื
้
อ
รั
ง
3,
4,
6.7
(ต่
อ
)
Class/Drug
Dose
for
Normal
Renal
Function
Adjustment
for
Renal
Failure
Method
Estimated
CrCl
(ml/min)
>
50-90
10-50
<
10
Minocycline
100
mg
PO
q12h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Tigecycline
IV
100
mg
then
50
mg
q12h
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Antiparasitic
agents
Albendazole
200-400
mg
PO
OD-bid
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Mebendazole
500
mg  PO
OD
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Quinine
650
mg  q8h
I
650
mg  q8h
650
mg
q8-12h
650
mg
q24h
Antifungal
agents
Amphotericin
B
0.5-1.5  mg/kg/day
I
q24h
q24h
q24h
Fluconazole
200-400
mg  q24h
(max.
800
mg/day)
D
100
%
50%
50%
Itraconazole
,
PO
100-200
mg
PO
q12-24h
D
100
%
100%
50%
Ketoconazole
200
mg/day
PO
OD
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
Griseofulvin
500
mg/day
PO
OD
D
ไม่
จ
ำเป็
น
ต้
อ
งปรั
บ
ขนาดยา
ตารางที
่
4
	
แสดงแนวทางการปรั
บ
ขนาดยาต้
า
นจุ
ล
ชี
พ
(Antimicrobial
agents)
ในผู
้
ป
่
ว
ยไตวายเรื
้
อ
รั
ง
3,
4,
6.7
(ต่
อ
)
สำหรับยารายการอื่นๆ ที่ไม่ได้แสดงในตาราง สามารถหาข้อมูล
ได้จากแหล่งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปรับขนาดยาในผู้ป่วยโรคไตวาย
เรื้อรังนั้นแสดงในตารางที่ 5
ตารางที่ 5	 แสดงแหล่งค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปรับขนาดยาใน
	 	 ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
  


















References :
1.	Abboud H, Henrich WL. Clinical practice: Stage IV Chronic Kidney
	 Disease. N Engl J Med 2010;362:56-65. Available at: www.nejm.
	 org. Accessed date: January 10th
, 2010.
2. 	Aronoff GR, Bennett WM, Berns JS, et al. Drug Prescribing in Renal
	 Failure:DosingGuidelinesforAdultsandChildren.5thed.Philadelphia,
	 PA.: American College of Physicians.2007.
3. 	Gilbert DN, Moellering RC,Eliopoulos GM, Sande MA. The Sanford
	 Guide To Antimicrobial Therapy.38th
ed. United State of America,
	 2008 : 178-185.
4. 	Lacy CF, Armstrongs LL, Goldman MP, Lance LL. Drug Information
 Handbook with International Trade Names Index. 17th ed. Ohio,
	 Lexi-Comp Inc., 2008-2009.
5. 	Munar MY, Singh H. Drug Dosing Adjustments in Patients with
	 Chronic Kidney Disease : Am Fam Physician 2007;75:1487-96.  
6. 	Sabatine MS. Pocket Medicine. 3rd
ed. Lippincott Williams and
	 Wilkins, Philadelphia, 2008: page10-8 to 10-10.
7. 	David F. McAuley, Pharm.D., R.Ph. GlobalRPh Inc. Available at:
	 http://www.globalrph.com/index_renal.htm. Accessed date: March
	 15th
, 2010
โรคภูมิแพ้ Allergy
เรียบเรียงโดย ภญ.วลัยพรรณ พาณิชธนานนท์
		 สถานพยาบาลชลเวช
	 โรคทางเดินหายใจเป็นโรคที่พบมากของประเทศไทยโดยเฉพาะ
ประชาชนในเขตเมืองเนื่องจากมลภาวะและภูมิแพ้ บทความนี้จะนำเสนอ
เรื่องราวเกี่ยวกับภูมิแพ้ในหลายแง่มุมที่คุณควรจะรู้
โรคภูมิแพ้คืออะไร
	 ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมีหน้าที่ที่จะจดจำสิ่งแปลกปลอมที่จะ
ทำร้ายร่างกายเรา เช่น เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส โดยการสร้างภูมิคุ้มกันขึ้น
ต่อสู้กับเชื้อโรค โรคภูมิแพ้เป็นภาวะที่ภูมิของร่างกายมีปฏิกิริยากับโปรตีน
หรือสารก่อภูมิแพ้ Allergen จากสิ่งแวดล้อมซึ่งปกติจะไม่มีอันตรายสำหรับ
ผู้ที่ไม่แพ้ ปฏิกิริยานี้เริ่มเมื่อเราได้รับสารก่อภูมิแพ้ก็จะเกิดการสร้าง
ภูมิต้านทาน (antibody) ที่เรียกว่า IgE antibody ซึ่ง antibody นี้จะกระตุ้น
Mast cell ให้มีการหลั่งสาร Histamine ขึ้นที่เนื้อเยื่อต่างๆ เช่น ผิวหนัง ปอด
จมูก ลำไส้ ทำให้เกิดการอักเสบ อาการแสดง เช่น ลมพิษที่ผิวหนัง คัดจมูก
แน่นหน้าอก  หอบหืด บางรายอาจจะรุนแรง ถึงกับเสียชีวิตได้ Anaphylaxis
shock
คนเราเป็นภูมิแพ้ได้อย่างไร
	 เนื่องจากเกิดโรคภูมิแพ้เป็นจำนวนมากจึงได้มีการวิจัยหาสาเหตุ
ของโรคภูมิแพ้
	 •	 กรรมพันธ์ุ ผู้ที่มีประวัติภูมิแพ้ในครอบครัว เช่นพ่อแม่ พี่น้อง
ก็จะเป็นเครื่องบ่งชี้ว่าจะเป็นโรคภูมิแพ้ได้ง่าย เด็กชายเป็นมากกว่าเด็กหญิง
หากพ่อหรือแม่เป็นโรคภูมิแพ้ เด็กจะเป็นภูมิแพ้ได้ร้อยละ 30 แต่หากทั้งพ่อ
และแม่เป็นภูมิแพ้เด็กจะมีโอกาสเป็นโรคภูมิแพ้ร้อยละ 50-60
•	 สิ่งแวดล้อมของเด็กในขวบปีแรกสำคัญมาก การสัมผัส
ควันบุหรี่ ไรฝุ่น เกสรดอกไม้ สะเก็ดรังแคสัตว์ การใช้ยาปฏิชีวนะ
การรับประทานอาหารสำเร็จรูป เหล่านี้จะทำให้เกิดโรคภูมิแพ้
	 •	 การติดเชื้อไวรัสในวัยเด็ก การที่มีเชื้อ Lactobacillus ในลำไส้
หรือการอาศัยใกล้ฟาร์มสัตว์ จะเพิ่มอุบัติการณ์ของภูมิแพ้
	 การหลีกเลี่ยงหรือนำสิ่งที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ออกจากสิ่งแวดล้อม
ใกล้ตัว เป็นการรักษาที่สำคัญที่สุดในการรักษาโรคภูมิแพ้ ซึ่งจะทำให้
ลดอาการของโรคภูมิแพ้และลดปริมาณการใช้ยา
ทำไมคนในเมืองถึงเป็นโรคภูมิแพ้มากขึ้น
	 พบว่าปัจจัยที่สำคัญคือการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมจาก
สังคมชนบทเป็นสังคมเมือง
	 •	 คนในเมืองอยู่บ้านมาก ติดเครื่องปรับอากาศ ไม่ออกกำลังกาย
ทำให้ร่างกายอ่อนแอ เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
ตัวอย่างโรคที่เกิดจากภูมิแพ้ สารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ที่พบบ่อย
•	 โรคหอบหืด
•	 Anaphylaxis
•	 Eczema,
•	 contact dermatitis,
•	 ลมพิษ urticaria
•	 allergic conjuntivitis
•	 แพ้ยา แพ้แมลง แพ้ยาง
•	 แพ้อาหาร
•	 โรคภูมิแพ้หรืออาการคัดจมูก
•	 การรักษาโรคภูมิแพ้
•	 ยาแก้แพ้
•	 ไรฝุ่น
•	 เรณูหรือเกสรดอกไม้ และหญ้า
•	 สะเก็ดรังแคของสัตว์ (แมว สุนัข ม้า)
•	 แมลงสาบ
•	 เชื้อรา
•	 อาหาร(ไข่ขาวนมแป้งสาลีถั่วเหลือง
	 อาหารทะเล ถั่ว)
•	 เหล็กไนของผึ้งและตัวต่อ
•	 ยา
•	 ยางพารา
•	 เด็กกินนมแม่น้อยลง คนรับประธานอาหารจานด่วนมาก
ทำให้ได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน และได้รับสิ่งแปลกปลอมเข้ามามาก เช่น
สี สารกันบูด
	 •	 คนนิยมเลี้ยงสัตว์เลี้ยงในบ้านเพิ่ม
	 •	 การตกแต่งบ้าน ติดตั้งพรมและติดเครื่องปรับอากาศทำให้
อากาศถ่ายเทไม่ดี เชื้อไรฝุ่นเจริญได้ดี
	 •	 มลภาวะจากอุตสาหกรรม และการจราจร
	 •	 การสูบบุหรี่
สารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ในบ้าน
	 สารก่อโรคภูมิแพ้ในบ้านจะพบได้ตลอดปีและเป็นสาเหตุสำคัญ
ในการเกิดโรคภูมิแพ้คัดจมูก โรคหอบหืด ผื่นแพ้ ผิวหนังอักเสบ (eczema)
สารก่อภูมิแพ้ในบ้านที่สำคัญได้แก่
	 •	 ไรฝุ่นพบมากบนที่นอน โซฟา
	 •	 สะเก็ดรังแคสัตว์ น้ำลาย และเหงื่อของสัตว์เลี้ยง
	 •	 ขนนก ของเสียแมลงสาบ รา
วิธีป้องกันสารก่อภูมิแพ้ในบ้าน
	 •	 เปิดหน้าต่างให้เกิดการถ่ายเทของอากาศ โดยเฉพาะห้องครัว
ห้องน้ำ โดยเปิดหน้าต่างอย่างน้อยครั้งละ 1 ชั่วโมงเปิดวันละสองครั้ง
หากแพ้เกสรควรปิดหน้าต่าง โดยเฉพาะช่วงที่มีเกสรดอกไม้มาก
	 •	 ไม่ควรตากผ้าในห้องนอนและห้องนั่งเล่น
	 •	 ถ้าห้องมีความชื้นมากให้เปิดให้อาการถ่ายเทให้มาก
การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นโรคภูมิแพ้
	 •	 ไม่เลี้ยงสัตว์ที่มีขนไว้ในบ้านโดยเฉพาะในห้องนอน
	 •	 ไม่ควรตกแต่งห้องนอนด้วยพรม หรือมีตุ๊กตา
•	 ห้องนอนไม่ควรจะมีชั้น หรือหนังสือ
	 •	 เครื่องนอนควรจะซักและต้มสัปดาห์ละครั้ง
	 •	 งดบุหรี่ การทาสีในบ้าน
	 •	 หมั่นทำความสะอาด และดูดฝุ่นบ้านและม่านกันแดด
	 •	 กำจัดเศษอาหารให้มิดชิดเพื่อป้องกันแมลงสาบ
จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคภูมิแพ้
	 อาการของโรคภูมิแพ้ขึ้นอยู่กับว่า ภูมิแพ้นั้นเกิดขึ้นที่ระบบใด
สำหรับผู้ใหญ่สามารถที่จะให้ประวัติและบอกอาการได้ก็จะช่วยในการ
วินิจฉัย อาการของโรคภูมิแพ้ที่พบได้มีดังนี้
	 •	 ผื่นที่ผิวหนัง เช่นผื่นแพ้ ลมพิษ คันตามผิวหนัง
	 •	 คัดจมูก น้ำมูกไหล จาม
	 •	 ไอแน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด โรคหอบหืด
	 •	 เคืองตาและตาแดง เคืองจมูก
	 •	 บวมรอบปาก อาเจียนและถ่ายเหลว
	 •	 แสบคอ น้ำมูกไหลลงคอ หูอื้อ
จะรู้ได้อย่างไรว่าเด็กเป็นโรคภูมิแพ้
	 •	 สำหรับผู้ใหญ่สามารถบอกอาการได้ แต่เด็กบอกอาการไม่ได้  
ดังนั้นผู้ปกครองต้องสังเกตอาการ และอาการแสดงของเด็ก โดยดูจาก
โครงร่างกาย ผิวหนัง และลักษณะหน้า เด็กที่เป็นภูมิแพ้ มักจะมีขนาดตัว
เล็กกว่าเด็กทั่วไป ลักษณะใบหน้าเป็นแบบ Allergic Shiners ซึ่งลักษณะ
ที่เห็นชัด คือ เด็กจะมีขอบตาดำคล้ำเนื่องจากเส้นเลือดดำที่ขอบตาขยาย
	 •	 Dennie-Morgan Lines เด็กที่เป็นภูมิแพ้จะมีรอยย่นที่ใต้
หนังตาล่าง
•	 Long Face S yndrome เด็กที่เป็นภูมิแพ้ คัดจมูก และมี
โรคหอบหืด จะมีเพดานปากสูงขึ้น ฟันบนยื่นออกมา ต้องหายใจทางปาก
เนื่องจากคัดจมูกอยู่ตลอดเวลา เยื่อบุจมูกจะบวมและซีด เนื่องจากถูก
ภูมิแพ้กระตุ้นอยู่ตลอดเวลาทำให้หายใจไม่ออก
	 •	 Nasal Salute เด็กที่เป็นภูมิแพ้จะมีอาการคันจมูก มักจะเอา
ฝ่ามือเช็ดจมูกอยู่ตลอดเวลาทำให้เกิดรอยย่นที่ดั่งจมูก
	 •	 Facial Tics เด็กที่เป็นภูมิแพ้จะมีอาการคันจมูกทำให้ต้องย่น
หน้าและจมูกเหมือนตัวตลก
	 •	 Keratosis Pilaris ผิวหนังของเด็กที่เป็นภูมิแพ้จะแห้งและหยาบ
โดยเฉพาะผิวหนังบริเวณบริเวณแก้ม แขน หน้าอก
	 •	 Atopic Ezema ผิวหนังบริเวณข้อพับจะมีรอยเกาเป็นผื่น
บางรายมีน้ำเหลือง
	 •	 Conjunctivitis เด็กจะเคืองตาและขยี้ตาอยู่ตลอดเวลาเยื่อบุตา
จะบวม
	 •	 Glueearเด็กที่คัดจมูกอยู่ตลอดเวลาทำให้เกิดหูชั้นกลางอักเสบ
มีหนองไหลออกจากหู
	 •	 Posterior nasal drip น้ำมูกจะไหลลงคอตลอดเวลาทำให้เด็ก
ระคายคอ บางคนไอเรื้อรัง
การทดสอบภูมิแพ้
	 เมื่อเกิดโรคภูมิแพ้ขึ้นก็มีความจำเป็นจะต้องทราบว่าแพ้อะไร
เนื่องจากการรักษาที่ดีที่สุดคือ การหลีกเลี่ยงสิ่งที่แพ้ หากทดสอบแล้วรู้ว่า
แพ้อะไรก็ต้องหลีกเลี่ยง หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็ต้องใช้ยารักษา เป็นการยาก
ที่จะบอกว่าท่านแพ้อะไรโดยอาศัยเพียงประวัติและการตรวจร่างกาย หาก
ท่านสงสัยว่าเป็นภูมิแพ้ ท่านต้องปรึกษาแพทย์ เพื่อซักประวัติภูมิแพ้และ
ตรวจร่างกาย หากอาการภูมิแพ้ของท่านเป็นมากแพทย์ก็จะทดสอบภูมิแพ้
Skin Prick Test เป็นวิธีการทดสอบการแพ้ โดยฉีดสารที่สงสัยว่าจะทำให้
เกิดภูมิแพ้เข้าใต้ผิวหนัง จะทดสอบบริเวณแขน สำหรับเด็กจะทดสอบ
บริเวณหลัง การทดสอบนี้ไม่เจ็บและ
ทราบผลทันที การทดสอบให้ผลบวก
จะต้องมีตุ่มแดงนูนและคันบริเวณที่ฉีด
ตุ่มยิ่งมีขนาดใหญ่เท่าใดยิ่งแพ้มากขึ้น
เท่านั้น หากให้ผลลบแสดงว่าไม่ได้แพ้
สารนั้น
ขั้นตอนการตรวจ Skin Prick Test มีดังนี้
	 1.	แพทย์ ซักประวัติโรคภูมิแพ้ ความรุนแรงของโรค แล้วจึง
เลือกชนิดของสารก่อภูมิแพ้เพื่อทดสอบ หากท่านรับประทานยาเป็นประจำ
ต้องแจ้งให้แพทย์ทราบ โดยเฉพาะยาแก้แพ้ ยาแก้โรคซึมเศร้า และจะต้อง
หยุดยาตั้งแต่ 2 วัน - 6 สัปดาห์ก่อนทดสอบ
	 2.	ทำความสะอาดผิวด้วยแอลกอฮอล์
       	 3.	ใช้ไม้บรรทัดวัดตำแหน่งที่จะทดสอบ
       	 4. 	หยดสารก่อภูมิแพ้ตามตำแหน่ง
       	 5. 	ใช้เข็มเล็กสะกิดผิวหนังให้น้ำยาลงไป เปลี่ยนเข็มทุกครั้งที่
เปลี่ยนตำแหน่งรอดูผลการทดสอบ 15 นาที
       	 6. 	วัดดูขนาดของผื่นที่เกิดและจดว่าแพ้อะไรบ้าง
การทดสอบการแพ้ ยังมีวิธีอื่นด้วย เช่น
	 -	 การเจาะเลือดตรวจ Blood test เป็นการเจาะเลือดเพื่อหา
ภูมิต้านทาน (IgE) ต่อสารภูมิแพ้ เช่น ต่อไรฝุ่น ต่ออาหาร นม ไข่
ถั่วเหลือง
	 -	 Patch test เป็นการทดสอบภูมิแพ้ที่เกิดหลังสัมผัส เช่น
ผื่นแพ้จากการสัมผัส contact dermatitis วิธีการตรวจโดยใช้สารที่สงสัยว่า
จะแพ้ใส่แผ่นเทป และปิดที่ผิวหนังไว้ 48 ชั่วโมง ส่วนใหญ่ทดสอบการแพ้
ยาง nickle สี เครื่องสำอาง รวมทั้งยา
	 -	 Challenge test การทดสอบนี้ควรจะทำในโรงพยาบาลโดยให้
รับสิ่งที่สงสัยว่าจะแพ้แล้วดูปฏิกิริยา ก่อนการทดสอบควรเตรียมยาเพื่อ
ช่วยชีวิตไว้ให้พร้อม
การรักษาโรคภูมิแพ้
	 โรคภูมิแพ้ส่วนใหญ่เมื่อหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้ และรับประทานยา
แก้แพ้ก็จะสามารถควบคุมอาการได้ สำหรับผู้ที่มีอาการคัดจมูกมากอาจ
จะต้องให้ยาลดอาการคัดจมูก ( Decongestant) สำหรับผู้ที่มีอาการเรื้อรัง
อาจจะต้องใช้ยาหยอดจมูก steroid หลักการรักษาประกอบด้วย
	 1.	หลีกเลี่ยงหรือป้องกันสารที่เป็นภูมิแพ้
	 	 การหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ ได้กล่าวในหัวข้อของการแพ้
สารก่อภูมิแต่ละชนิด สำหรับเครื่องฟอกอากาศก็มีประโยชน์ บางชนิดใช้
ไฟฟ้า บางชนิดใช้ fiberglass ซึ่งก็สามารถลดสารก่อภูมิแพ้ในอากาศลง
แต่สิ่งที่ควรคำนึงคืออัตราการไหลของอากาศต้องมากพอที่จะฟอกอากาศ
ถ้าอัตราการไหลต่ำก็ไม่มีประโยชน์ ไม่ควรใช้โอโซนเพราะจะระคายเคือง
เยื่อจมูก
	 2.	Immunotherapy หรือภูมิคุ้มกันบำบัดเป็นการรักษาโรคภูมิแพ้
อีกแบบหนึ่ง นอกเหนือการใช้ยาลดอาการ หลักการรักษาเป็นการกระตุ้น
ให้ร่างกายสร้างระบบภูมิคุ้มกันชนิด IgG โดยการให้ allergenic extrac
ที่ได้ผลบวกจากการทดสอบทางผิวหนัง (skin prick test ในความเข้มข้น
ต่ำๆ ในระยะแรก และค่อยๆ เพิ่มความเข้มข้นขึ้น หลังจากฉีดแต่ละครั้ง
ผู้ป่วยควรอยู่ในสถานพยาบาลอย่างน้อยครึ่งชั่วโมง เพื่อเฝ้าระวังอาการ
ไม่พึงประสงค์ที่อาจพบหลังฉีดสาร เช่น ผื่นแดงคัน อาการคัดจมูก
แน่นหน้าอก คัดจมูกและน้ำมูกไหล อาการเหล่านี้มักจะเกิดภายใน 30 นาที
หลังฉีด และระหว่างการรักษาไม่ควรรับประทานยา beta-block และยา
monoamine oxidaseinhibitors (MAOIs)    
	 3.	การใช้ยารักษาและบรรเทาอาการของโรคภูมิแพ้ ได้แก่
ยาแก้แพ้กลุ่ม Antihistamin, ยาลดอาการคัดจมูกกลุ่ม Anticholinergic,  
ยาต้านการอักเสบสเตียรอยด์ (Steroid), Mast cell stabilizer
Antihistamine
	 ยาแก้แพ้เป็นยาหลักสำหรับการรักษาโรคภูมิแพ้ ยาแก้แพ้ใน
ระยะเริ่มแรกจะมีผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ เช่น อาการปากแห้ง ทำให้
เกิดการง่วงซึมซึ่งเป็นผลเสียต่อการทำงาน การทำงานของยาแก้แพ้จะ
ออกฤทธิ์ที่ H1-receptor คุณสมบัติของยาแก้แพ้มีดังนี้
	 •	 ลดอาการที่เกิดจากการหลั่งhistamineเช่นอาการจามคันจมูก
น้ำมูกไหล
	 •	 แต่ไม่ลดอาการของคัดจมูก
	 •	 สามารถลดอาการคันตา และคันหู
	 •	 ยาแก้แพ้ส่วนใหญ่ออกฤทธิ์เร็ว
	 เนื่องจากผลข้างเคียงของยาแก้แพ้มีมากจึงได้มีการพัฒนายา
แก้แพ้รุ่นใหม่ที่มีผลข้างเคียงต่ำ ขณะเดียวกันยังคงมีประสิทธิภาพ ซึ่งยา
รุ่นใหม่ควรต้องมีประสิทธิภาพในการรักษาดังนี้
	 1.	เยื่อบุจมูกอักเสบจากโรคภูมิแพ้ทั้งชนิดเป็นทั้งปี Perrenial
allergic rhinitis และเป็นเฉพาะฤดู seasonal allergic rhinitis
	 2.	เยื่อบุตาอักเสบจากโรคภูมิแพ้
	 3.	ลมพิษ ยาที่จัดว่าได้ผลดีสำหรับลมพิษคือ cetirizine, terfena-
dine ซึ่งออกฤทธิ์เร็วและลดอาการคันได้เป็นอย่างดี
	 4.	ผิวหนังอักเสบแบบ Atopic dermatitis ยาที่ใช้ได้ผลดีคือ ceti-
rizine, loratadine, ketotifen
5.	โรคหืด asthma โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคหอบหืดที่มีอาการภูมิแพ้
มีอาการคัดจมูก และน้ำมูกไหล
ผลข้างเคียงของยา
	 1.	อาจจะทำให้ง่วง ซึม และน้ำหนักตัวเพิ่ม แต่อาการน้อยกว่า
ยาแก้แพ้รุ่นแรกๆ
	 2.	พิษต่อหัวใจ astemazole, terfenadine จะมีผลต่อการเต้นของ
หัวใจ แต่ยาตัวอื่นไม่มีผลต่อการเต้นของหัวใจ
ข้อระวังในการใช้ยา
	 1.	ควรจะต้องระวังการใช้ยาอื่น เพราะอาจจะเกิดปฏิกิริยา
ยาที่ต้องระวังได้แก่ erythromycin, ketoconazole, itraconazole
	 2.	ไม่ควรใช้ยานี้ในคนตั้งครรภ์
	 3.	ไม่ควรใช้ยานี้ในคนที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่
	 4.	ควรจะระมัดระวังในคนที่เป็นโรคไต และโรคตับ
ยาลดอาการคัดจมูก กลุ่ม Anticholinergic
	 อาการคัดจมูกเป็นอาการที่สำคัญสำหรับผู้ป่วยที่เป็นหวัด หรือ
เป็นโรคภูมิแพ้ การรักษาอาการคัดจมูกจะให้ยาแก้แพ้ แต่บางครั้งอาจจะ
ไม่สามารถคุมอาการ จำเป็นต้องใช้ยาลดอาการคัดจมูก
	 จัดเป็นยาในกลุ่ม Sympathomimetic คือ ออกฤทธิ์ต่อระบบ
ประสาทอัตโนมัติ ทำให้เลือดไปที่เยื่อบุจมูกลดลง อาการคัดจมูกจึงดีขึ้น
เนื่องจากยานี้ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติจึงอาจจะเกิดผลเสียต่อ
ร่างกายดังนี้
	 •	 ทำให้ความดันโลหิตสูง ดังนั้นผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ก่อนจะใช้ยาควรจะปรึกษาแพทย์
	 •	 กระสับกระส่าย
	 •	 มือสั่น
•	 นอนไม่หลับ
	 •	 ปวดศีรษะ
	 •	 ปากแห้ง
	 •	 มีอาการคั่งของปัสสาวะ
	 •	 ใจสั่นมือสัน หัวใจเต้นผิดปกติ
	 ยาลดอาการคัดจมูกอาจจะเป็นยาเดี่ยว เช่น Pseudoephedine
หรืออาจจะเป็นยาที่ผสมกันร่วมกับยาแก้แพ้ เช่น Actifed®, Carinase®,
ยาบางชนิดมียาลดไข้ร่วมด้วย เช่น Tiffy®, Decolgen® ดังนั้นการเลือกยา
ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับอาการ เช่น หากเป็นหวัดมีไข้ร่วมกับอาการ
น้ำมูกไหลอาจจะใช้พวก Tiffy®, Decolgen® หากเป็นภูมิแพ้ก็เลือกใช้ยา
แก้แพ้อย่างเดียวหรือยาแก้แพ้ผสมยาลดน้ำมูก
	 ยาลดอาการคัดจมูกมีในรูปแบบยาหยอดจมูก ซึ่งจะให้ผลเร็ว
และมีผลข้างเคียงต่ำ แต่หากใช้บ่อยๆ อาจจะทำให้เกิดการการทนต่อยา
(tolerance) ทำให้ต้องเพิ่มขนาดการใช้ยา
ยาต้านการอักเสบสเตียรอยด์ (Steroid)
	 เป็นที่มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคภูมิแพ้โดยยาจะออกฤทธิ์
ดังนี้
	 •	 ลดการอักเสบของเยื่อบุจมูก ทำให้เยื่อบุจมูกไม่บวม
	 •	 ลดการหลั่งของน้ำมูก
	 •	 ลดความไวต่อการถูกกระตุ้น
	 •	 ลดการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
	 ยา steroid ที่ใช้รักษาภูมิแพ้มีสองรูปแบบ คือ ชนิดรับประทาน
และชนิดหยอดจมูก
	 เนื่องจากยานี้มีฤทธิ์ลดการอักเสบ และยังมีผลเสียของการกด
ภูมิคุ้มกันอย่างมาก หากใช้นานๆ อาจจะเกิดผลเสียต่อร่างกาย การใช้ยา
ในกลุ่มนี้มีข้อแนะนำดังนี้
	 •	 ให้รับประทานยาในช่วงสั้นไม่เกิน 3-7 วันเมื่อคุมอาการได้
จึงหยุดยา
	 •	 ควรจะใช้ยานี้ในรายที่มีอาการมาก ไม่สามารถควบคุมด้วย
ยาธรรมดา
	 •	 ไม่ควรจะใช้ยาฉีด
	 •	 การใช้ยานี้ในเด็กอาจจะทำให้เด็กโตช้า หากต้องใช้เป็นเวลา
นาน ต้องปรึกษาแพทย์
การใช้ยา steroid ชนิดพ่น
	 •	 ยานี้อาจจะใช้ร่วมกับยาแก้แพ้ชนิดกิน
	 •	 ใช้ยาอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันการเกิดอาการของโรคภูมิแพ้
กำเริบ
	 •	 หากใช้ต่อเนื่องอาจจะเกิดผลข้างเคียง เช่น อาการเคืองจมูก
รูจมูกแห้ง คัดจมูก เลือดกำเดาไหล
	 •	 ตัวยาที่สำคัญได้แก่ Triamcinolone, Beclomethasone. Budes-
onide, Fluticasone
ยากลุ่ม Mast cell Stabilizer
	 เป็นที่ทราบกันเป็นอย่างดีแล้วว่าการที่มีอาการคัดจมูกในโรค
ภูมิแพ้ เกิดจากการหลั่งของสารที่อยู่ในเซลล์ที่เรียกว่า Mast cell ยาที่ยับยั้ง
การหลั่งก็จะช่วยลดอาการคัดจมูกได้ ยาที่ยั้บยั้งการหลั่งเรียก cromolyn  
ซึ่งมีในรูปแบบยาพ่น
	 •	 ยานี้จะยับยั้งการหลั่งของสารเคมีที่เกิดจากภูมิแพ้
	 •	 ลดอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล จาม และอาการคันจมูก
	 •	 ยานี้ไม่ลดอาการทางตา
	 •	 ยานี้มีผลข้างเคียงต่ำ อาจจะทำให้เกิดจาม หรือแสบจมูก
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักAiman Sadeeyamu
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)saowaluk2556
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergencytaem
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 

Was ist angesagt? (20)

ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
Drugs used in lactation
Drugs used in lactationDrugs used in lactation
Drugs used in lactation
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Agent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemiaAgent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemia
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
Cpg for management of gout 2555
Cpg for management of gout 2555Cpg for management of gout 2555
Cpg for management of gout 2555
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergency
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 

Andere mochten auch

ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดtopsaby99
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Utai Sukviwatsirikul
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
Drug interaction facts 2005.. 2nd edition
Drug interaction facts 2005.. 2nd editionDrug interaction facts 2005.. 2nd edition
Drug interaction facts 2005.. 2nd editionGaby Rodriguez
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionCpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionUtai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุBallista Pg
 

Andere mochten auch (20)

ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
Aerius drug monograph
Aerius drug monograph Aerius drug monograph
Aerius drug monograph
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Cpg psoriasis 2011
Cpg psoriasis 2011Cpg psoriasis 2011
Cpg psoriasis 2011
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
Drug interaction facts 2005.. 2nd edition
Drug interaction facts 2005.. 2nd editionDrug interaction facts 2005.. 2nd edition
Drug interaction facts 2005.. 2nd edition
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
 
Cpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of dermCpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of derm
 
Psoriatic arthritis
Psoriatic arthritisPsoriatic arthritis
Psoriatic arthritis
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
Thai hypertension guideline 2015
Thai hypertension guideline 2015Thai hypertension guideline 2015
Thai hypertension guideline 2015
 
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
 
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
 
Cpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionCpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addiction
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
 

Ähnlich wie Handbook for-pharmacist-vol.22553

โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)firstnarak
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxNareenatBoonchoo
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
วิธีการสั่งการยาต่อเนื่องทางหลอดเลือดดำ
วิธีการสั่งการยาต่อเนื่องทางหลอดเลือดดำวิธีการสั่งการยาต่อเนื่องทางหลอดเลือดดำ
วิธีการสั่งการยาต่อเนื่องทางหลอดเลือดดำBorwon Wittaya
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกFrench Natthawut
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 

Ähnlich wie Handbook for-pharmacist-vol.22553 (17)

โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
Skin topic
Skin topicSkin topic
Skin topic
 
วิธีการสั่งการยาต่อเนื่องทางหลอดเลือดดำ
วิธีการสั่งการยาต่อเนื่องทางหลอดเลือดดำวิธีการสั่งการยาต่อเนื่องทางหลอดเลือดดำ
วิธีการสั่งการยาต่อเนื่องทางหลอดเลือดดำ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
Drospirenone
Drospirenone Drospirenone
Drospirenone
 
Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 
Smoking Cessation
Smoking CessationSmoking Cessation
Smoking Cessation
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Handbook for-pharmacist-vol.22553

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7. คำนำ หนังสือ HANBOOK FOR PHARMACIST Vol.II เล่มนี้ จัดทำขึ้น เพื่อเป็นการเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจให้กับเภสัชกร อันจะเป็นประโยชน์ ต่อการปฏิบัติงานทางด้านวิชาชีพเภสัชกรรมได้ดียิ่งขึ้นไป ขอขอบคุณคณะกรรมการชมรมจังหวัดชลบุรีทุกท่านที่มีส่วนช่วย ทำให้หนังสือเล่มนี้สำเร็จเป็นรูปเล่ ม และขอบคุณบริษัทยาและเวชภัณฑ์ ทุกแห่งที่ให้การสนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือ และให้ความช่วยเหลือ ในการจัดงานประชุมวิชาการและการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2553 ของชมรมเภสัชกรจังหวัดชลบุรี ให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี พบกันใหม่ใน HANBOOK FOR PHARMACIST Vol.III ปีต่อไป ค่ะ คณะผู้จัดทำ 30 พฤษภาคม 2553
  • 8. สารบัญ หน้า คำนำ ขนาดยาเด็กที่ใช้บ่อยในร้านยา 1 การปรับขนาดยาในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง 14 โรคภูมิแพ้ Allergy 32 ประโยชน์และข้อควรระวังจากการได้รับวิตามินและแร่ธาตุ 46 วิธีการใช้ยาที่มีเทคนิคการใช้พิเศษ 56
  • 9. ขนาดยาเด็กที่ใช้บ่อยในร้านยา (Usual Dosage for Children) เรียบเรียงโดย ภญ.กัญญาพร สุพิมพ์ โรงพยาบาลสมเด็กพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา ประสิทธิภาพในการใช้ยารักษาโรคหรือภาวะผิดปกติในเด็กขึ้นอยู่ กับการวินิจฉัย และการเลือกใช้ยาให้เหมาะสมกับโรคหรือภาวะของเด็ก โดยทั่วไปการให้ยาในเด็กควรคำนึงถึงหลักการดังนี้ 1. ใช้ยาเมื่อมีข้อบ่งใช้ มีประสิทธิภาพในการรักษาและปลอดภัย ในเด็ก และควรใช้ยาอย่างระมัดระวัง 2. ต้องมีความรู้เกี่ยวกับเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร์ อาการ ข้างเคียงของยาที่ใช้เป็นอย่างดี 3. ต้องทราบขนาด วิธีการให้ยา และระยะเวลาการให้ยา รวมถึง คำนึงถึงภาวะของเด็กเช่นในเด็กที่เป็น G6PD อาจเกิด Hemolysis ได้ถ้า ได้รับยาในกลุ่ม sulfa เป็นต้น 4. ควรแนะนำวิธีการใช้ยาให้พ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็กให้เข้าใจ และ นำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เภสัชจลนศาสตร์ในเด็กช่วงอายุต่างๆ การใช้ยาในผู้ป่วยเด็กมีความแตกต่างจากการใช้ยาในผู้ใหญ่ทั้งด้าน เภสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ อีกทั้งเด็กมีการเปลี่ยนแปลงทาง กายวิภาคศาสตร์ และ สรีระวิทยาตามอายุที่เพิ่มขึ้นทำให้เด็กมีความแตกต่าง ในการใช้ยาในแต่ละช่วงอายุด้วย โดยแบ่งกลุ่มอายุเด็กดังนี้ 1. ทารกคลอดก่อนกำหนด (Premature) หมายถึง ทารกที่เกิดก่อน อายุครรภ์ครบ 38-42 สัปดาห์ 2. ทารกแรกเกิด (newborn, neonate) หมายถึง ทารกอายุตั้งแต่ แรกเกิด ถึง 1 เดือน
  • 10. 3. ทารก (infant, baby) หมายถึง ทารกอายุตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 1 ปี 4. เด็กเล็ก (small child) หมายถึง เด็กที่มีอายุ 1-5 ปี 5. เด็กโต (Old child) หมายถึง เด็กที่มีอายุ 6-12 ปี 6. วันรุ่น (adolescent) หมายถึง วัยรุ่นอายุตั้งแต่ 13 ปี ถึง 18 ปี เภสัชจลนศาสตร์ประกอบด้วยกระบวนการหลัก 4 กระบวนการ ได้แก่ การดูดซึมยา (Absorption) การกระจายยา (distribution) การเปลี่ยน สภาพยา (metabolism) และการกำจัดยา (Excretion) ซึ่งล้วนเป็น ปัจจัยหลักที่ส่งผลให้การใช้ยาในเด็กและผู้ใหญ่แตกต่างกัน อีกทั้งในเด็ก จะมีความไวต่อยามากกว่าในผู้ใหญ่ เนื่องจากเด็กมีความสามารถในการ ผ่านเข้า (permeability) ของยาทาง blood brain barrier มากกว่าปกติ ส่งผลให้มีความไวต่อฤทธิ์ของยามากขึ้น เช่น ยาที่มีฤทธิ์ในการกดประสาท ส่วนกลาง (depressant effect) ได้แก่ phenobarbitone, morphine sulfate เป็นต้น ขนาดยาที่ใช้ในการรักษาโดยทั่วไปจะคำนวณจากน้ำหนักตัวของเด็ก เพราะเป็นวิธีการที่สะดวกและแม่นยำที่สุดสำหรับเภสัชกรที่ประจำที่ร้านยา ยกเว้นยาบางกลุ่ม เช่น ยากลุ่มยาเคมีบำบัด ต้องใช้ความละเอียดแม่นยำมาก จึงต้องคำนวณจาก Body surface area, ยาที่มีTherapeutic index แคบ เช่น Phenytione, valproic acid ซึ่งต้องใช้วิธีการคำนวณที่ละเอียด โดยเฉพาะ เป็นต้น ดังนั้นเภสัชกรควรมีความรู้เกี่ยวกับขนาดยาเด็ก เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพในการรักษา
  • 11. ขนาดยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial agent) กลุ่มยาต้านจุลชีพที่ใช้บ่อยในร้านยาได้แก่ 1. ยาต้านจุลชีพในกลุ่ม Penicillin ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Penicillin V (125mg/5ml) เด็กอายุ < 12 ปี : 25-50mg/kg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง Max : 3g/day Amoxycillin Syr. 125mg/5ml, 250mg/5ml เด็กอายุ <3 เดือน : 20-30mg(Amoxy)/kg/day แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง เด็กอายุ ≥3 เดือน : 20-50mg(Amoxy)/kg/day แบ่งให้ทุก 8-12 ชั่วโมง Max:80-90mg(Amoxy)/kg/dayแบ่งให้ทุก12ชั่วโมง (acute otitis media or severe infection) Amoxycillin+Clavulonic acid Syr. (AugmentinR 228mg, 457mg/5ml) Cloxacillin (125mg/5ml) เด็กอายุ >1 เดือน : 50-100mg/kg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง Max : 4g/day Dicloxacillin Cap. 250mg, 500mg เด็กน้ำหนัก <40 กก. : 25-50mg/kg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง ใน Osteomyelitis ใช้ขนาด 50-100mg/kg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง Cephalexin (IbilexR 125mg/5ml) เด็กอายุ >1 ปี : 25-50mg/kg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง Severe infection : 50-100mg/kg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง Max : 4g/day Cefuroxime (ZinacefR 250mg/5ml) เด็กอายุ 3 เดือน-12 ปี : 20-30mg/kg/day แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง Cefaclor (DistaclorR Syr. 125mg/5ml,250mg/5ml) เด็กอายุ >1 เดือน : 20-40mg/kg/day แบ่งให้ทุก 8-12 ชั่วโมง Max: 1g/day Cefdinir (OmnicefR Syr. 125mg/5ml) เด็กอายุ 6 เดือน-12 ปี : 14mg/kg ให้วันละครั้งหรือ 7mg/kg/dose ให้วันละ 2 ครั้ง Max : 600mg/day Cefixime (CefspanR Syr. 100mg/5ml) เด็กอายุ ≥6 เดือน : 8-20mg/kg/day แบ่งให้ทุก 12-24 ชั่วโมง Max : 400mg/day Cefditoren pivoxil (MeiactR 100mg/ Tab.) เด็กอายุ ≥12 ปี : 10-20mg/kg/day แบ่งให้ทุก 8-12 ชั่วโมง
  • 12. 2. ยาต้านจุลชีพในกลุ่ม Macrolide 3. ยาต้านจุลชีพในกลุ่ม Sulfonamides ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Erythromycin (125mg/5ml) Infant and Chlidren: Base : 30-50mg/kg/day แบ่งให้ 6-8 ชั่วโมง Max : 2g/day Estolate : 30-50mg/kg/day แบ่งให้ 6-8 ชั่วโมง Max : 2g/day Ethylsuccinate : 30-50mg/kg/day แบ่งให้ 6-8 ชั่วโมง Max : 3.2g/day Stearate : 30-50mg/kg/day แบ่งให้ 6-8 ชั่วโมง Max : 2g/day Azithromycin (ZithromaxR 200mg/5ml) เด็กอายุ ≥6 เดือน : 5-12mg/kg/day วันละครั้ง เป็นเวลา 3 วัน Max : 500mg/day หรือ 30mg/kg/ day single dose. Max:1500 mg/day Roxithromycin (RulidR Tab. 100mg, 150mg) Children:5-8mg/kg/dayวันละ2ครั้งควรรับประทาน ก่อนอาหารประมาณ 1 ชั่วโมง เพื่อเพิ่มการดูดซึมยา Max : 300mg/day Midicamycin (MiotinR syr. 200mg/5ml, 200mg/Tab) 20-50mg/kg/day วันละ 3 ครั้ง Spiramycin (RovamycinR syr. 125mg/5ml, 500mg/tab.) 50-100mg/kg/day วันละ 2-3 ครั้ง Clarithromycin (Klacid syr. 125mg 250mg/5ml, 250mg, 500mg/Tab.) เด็กอายุ ≥6 เดือน : 15mg/kg/day วันละ 1-2 ครั้ง, Max : 1g/day ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Co-trimoxazole, BactrimR (TMP 40mg.+Sulfamethoxazole 200mg/5ml) เด็กอายุ≥2เดือน:6-12mg/kg/dayคำนวณจากTMP แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง Max : 320mg TMP/day Severe infection : 15-20mg/kg/day โดยคำนวณจาก TMP แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง (Pneumocytis)
  • 13. 4. ยาต้านจุลชีพในกลุ่ม Fluoroquinolones ยาในกลุ่มนี้โดยปกติไม่นิยมใช้ยาในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี เพราะมีผลทำให้เกิด Arthropathy ในเด็ก เภสัชกรควรระมัดระวังในการใช้ ยากลุ่มนี้กับเด็กเล็ก หากจำเป็นต้องมีการใช้ยา ควรใช้ยาในระยะเวลาสั้นๆ 5. ยาต้านจุลชีพในกลุ่มอื่นๆ (Miscellaneous drugs) ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Norfloxacin (LexinorR Tab. 100, 400mg) 15-20mg/kg/day แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง Ofloxacin (TarividR Tab. 100, 200mg) 10-20mg/kg/day แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง Ciprofloxacin (Ciprobay 250mg, 500 mg) 20-30mg/kg/day แบ่งให้ทุก 12 ชั่วโมง ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Metronidazole (FlagylR 200mg/5ml) Infant and Chlidren: Amebiasis : 35-50mg/kg/day แบ่งให้ทุก 8 ชั่วโมง เป็นเวลา 10 วัน Anaerobic infection : 15-35mg/kg/day แบ่งให้ทุก 8 ชั่วโมง Trichomaniasis :15-35mg/kg/day แบ่งให้ทุก 8 ชั่วโมง เป็นเวลา 7 วัน Albendazole (ZentelR 200mg/5ml) ขนาดยาในเด็กโดยทั่วไป :10-15mg/kg/dayหรืออาจ ให้ตามชนิด พยาธิตัวตืด (tapeworm), พยาธิตัวกลม (roundworm),พยาธิปากขอ(hookworm),พยาธิแส้ม้า (whipworm), พยาธิเส้นด้าย (threadworm) เด็กอายุ >2 ปี : 400mg single dose เด็กอายุ 1-2 ปี : 200mg single dose Strongyloides : เด็กอายุ >2 ปี : 400mg วันละครั้ง เป็นเวลา 3 วัน Liver fluke : เด็กอายุ >2 ปี : 400mg วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 3 วัน
  • 14. 5. ยาต้านจุลชีพในกลุ่มอื่นๆ (Miscellaneous drugs) (ต่อ) ขนาดกลุ่มยาแก้ปวด ลดไข้ (Analgesic and Anti pirectic drugs) กลุ่มยาแก้ปวด ลดไข้ ที่น่าสนใจในร้านยาได้แก่ ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Mebendazole (FugacarR 100mg/5ml, 100mg/tab.) 2-5mg/kg/day แบ่งให้วันละ 2 ครั้ง Max : 100mg/dose หรืออาจให้เป็น พยาธิตัวกลม (roundworm), พยาธิปากขอ (hook- worm), พยาธิแส้ม้า (whipworm), พยาธิเส้นด้าย (threadworm) : เด็กอายุ 1-2 ปี : 100mg วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 3 วัน พยาธิเข็มมุด (Pinworm) : 100mg single dose ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Ibuprofen (100mg./5ml) เด็กอายุ 6 เดือน-12 ปี : Antipyretic, Analgesic : 5-10mg/kg/dose ทุก 6-8 ชั่วโมง Max : 40mg/kg/day Rheumatoid arthritis : 30-50mg/kg/day ทุก 6-8 ชั่วโมง Max : 24g/day Paracetamol (60mg/0.6ml, 120 mg/5ml, 250mg/5ml) 10-15mg/kg/dose ทุก 4-6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
  • 15. ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Chlorpheniramine (2mg/5ml.) เด็กอายุ <12 ปี : 0.35mg/kg/day แบ่งให้วันละ 3-4 ครั้ง Max : 12mg/day เด็กอายุ >12ปี : 4mg ทุก 4-6 ชั่วโมง Max : 24mg/day Brompheniramine (DimetappR 4mg/5ml) 0.5mg/kg/day แบ่งให้วันละ 3-4 ครั้ง มักคำนวณ โดยใช้ขนาดยาในกลุ่ม Decongestants เป็นหลัก Diphenhydramine (BenadrylR 12.5mg/5ml) เด็กอายุ 2-12 ปี : 5mg/kg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง Max : 300mg/day หรืออาจให้ตามอายุดังนี้ เด็กอายุ 2-<6 ปี : 6.25-12.5mg ทุก 6-8 ชั่วโมง Max : 75mg/day เด็กอายุ 6-<12 ปี : 12.5-2 mg ทุก 6-8 ชั่วโมง Max : 150mg/day เด็กอายุ ≥12 ปี : 25-50mg ทุก 6-8 ชั่วโมง Max : 300mg/day Cetirizine (ZyrtecR 5mg/5ml) 0.25mg/kg/day แบ่งให้วันละ 1-2 ครั้ง เด็กอายุ 6-12 เดือน : 2.5mg วันละครั้ง เด็กอายุ 12 เดือน-2 ปี : 2.5mg วันละครั้ง หรือ 2.5mg วันละ 2 ครั้ง เด็กอายุ 2-5 ปี : 2.5mg วันละ 2 ครั้ง หรือ 5mg วันละครั้ง เด็กอายุ ≥5 ปี ให้ 5-10mg วันละครั้ง Ketotifen (ZaditenR 1mg/5ml) เด็กอายุ ≥6 ปี : 0.25mg/kg/dose วันละ 2 ครั้ง (อาจเพิ่มขนาดได้แต่ไม่เกิน 1mg/dose) ขนาดยาในระบบทางเดินหายใจ (Respiratory drugs) กลุ่มยาในระบบทางเดินหายใจใช้บ่อยในร้านยาได้แก่ 1. ยาในกลุ่ม Antihistamine
  • 16. ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Hydroxyzine (AtaraxR 10mg/5ml) 2mg/kg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง หรืออาจให้ ตามอายุดังนี้ เด็กอายุ 6 เดือน-1 ปี : 10-15mg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง เด็กอายุ 1-5 ปี : 20-30mg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง เด็กอายุ 6-10 ปี : 30-60mg/day แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง Loratadine (ClarityneR 5mg/5ml) เด็กอายุ 2-5 ปี : 5mg วันละครั้ง เด็กอายุ ≥6 ปี : 10mg วันละครั้ง Fexofenadine (TelfastR 60mg/tablet) เด็กอายุ 6 เดือน- <2 ปี : เด็กอายุ 2-11 ปี : 30mg วันละครั้ง เด็กอายุ >12 ปี : 60mg วันละครั้ง Desloratadine (AeriusR 5mg/tablets, 2.5mg/5ml) เด็กอายุ 6-11 เดือน : 1mg วันละครั้ง เด็กอายุ 12 เดือน-5 ปี : 1.25mg วันละครั้ง เด็กอายุ 6-11 ปี : 2.5mg วันละครั้ง เด็กอายุ >12 ปี : 5mg วันละครั้ง Levocetirizine (ZyxalR 5mg/tablets) 0.125mg/kg/day วันละครั้ง Leukotriene receptor antagonists Montelukast (SingulairR 5, 10mg/ tablets, 4mg/ซอง เด็กอายุ 6 เดือน-5 ปี : 4mg วันละครั้ง เด็กอายุ 6-14 ปี : 5mg วันละครั้ง เด็กอายุ 15 ปีขึ้นไป : 10mg วันละครั้ง 1. ยาในกลุ่ม Antihistamine (ต่อ)
  • 17. 2. ยาในกลุ่ม Decongestants 3. ยาในกลุ่ม Expectorants 4. ยาในกลุ่ม Mucolytics ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก ActifedR (Triprolidine 1.25mg +Pseudoephedrine 30mg/5ml) 4mg/kg/day (3-5 mg/kg/day) คิดจาก Pseudoephedine แบ่งให้วันละ 3-4 ครั้ง หรือ 1mg/Kg/ครั้ง คิดจากน้ำหนักได้เลย Pseudoephedrine (MaxiphedR 30mg/5ml) Phenylephrine (dimetappR elixir 5mg/5ml+Brompheniramine 2mg/5ml) 1mg/kg/day แบ่งให้วันละ 3-4 ครั้ง ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Guaifenesin (TussaR , RobitussinR 100mg/5ml.) เด็กอายุ 6 เดือน-<2 ปี : 12/kg/day ให้วันละ 3-4 ครั้ง หรือ 25mg-50mg ให้วันละ 3-4 ครั้ง Max : 300mg/day เด็กอายุ 2-5 ปี : 50mg-100mg ให้วันละ 3-4 ครั้ง Max : 600mg/day เด็กอายุ 6-11 ปี : 100-200mg ให้วันละ 3-4 ครั้ง Max : 1.2gm/day เด็กอายุ >12 ปี : 200-400mg ให้วันละ 3-4 ครั้ง Max : 2.4gm/day ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Carbocisteine (Rhinathiol 100mg/ 5ml, Flemex 250mg/5ml) เด็กอายุ 2-5 ปี : 62.5-125mgรับประทานวันละ 3-4 ครั้ง เด็กอายุ 6-12 ปี : 250mg รับประทานวันละ 3 ครั้ง เด็กอายุ >12 ปี : 500mg รับประทานวันละ 3 ครั้ง
  • 18. 4. ยาในกลุ่ม Mucolytics (ต่อ) 5. ยาในกลุ่ม Brochodilators ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Bromhexine (BisolvonR 4mg/5ml) เด็กอายุ <2 ปี ให้ 1mg (1.2-1.5ml) วันละ 3 ครั้ง เด็กอายุ 2-6 ปี ให้ 2mg (2.5ml) วันละ 3 ครั้ง เด็กอายุ 6-12 ปี ให้ 4mg (5ml) วันละ 3 ครั้ง เด็กอายุ >12 ปี ให้ 8mg (1 เม็ด) วันละ 3 ครั้ง Acetylcysteine (FluimucilR 100mg, 200mg/ซอง) 20-30mg/kg/day แบ่งให้วันละ 3 ครั้ง หรืออาจให้ ตามอายุดังนี้ เด็กอายุ <2 ปี ให้ 50mg วันละ 3 ครั้ง เด็กอายุ 2-6 ปี ให้ 100mg วันละ 3 ครั้ง Ambroxol (MucosolvanR 30mg/5ml) เด็กอายุ <2 ปี ให้ 7.5mg วันละ 2 ครั้ง เด็กอายุ 2-5 ปี ให้ 7.5mg วันละ 2-3 ครั้ง เด็กอายุ 6-12 ปี ให้ 15mg วันละ 2-3 ครั้ง เด็กอายุ >12 ปี ให้ 15-30mg วันละ 3 ครั้ง ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Salbutamol (VentrolinR 2mg/5ml) 0.1-0.2mg/kg/dose ให้ยาทุก 6-8 ชั่วโมง หรืออาจให้ ตามอายุดังนี้ เด็กอายุ 2-5 ปี : 0.1-0.2mg/kg/dose ให้ 3 มื้อ/วัน ; ไม่เกิน 12mg/วัน เด็กอายุ 6-12 ปี : 2mg/dose ให้ 3-4 มื้อ/วัน ; ไม่เกิน 24mg/วัน เด็กอายุ >12 ปี : 2-4mg/dose ให้ 3-4 มื้อ/วัน ; ไม่เกิน 32mg/วัน Terbutaline (BricanylR 1.5mg/5ml) เด็กอายุ <12 ปี : 0.05mg/kg/dose ให้ยาทุก 6-8 ชั่วโมง Max : 0.15mg/kg/dose หรือ โดยรวมไม่เกิน 5mg/day เด็กอายุ >12 ปี : 2.5mg/dose วันละ 3 ครั้ง โดยรวมไม่เกิน 7.5mg/day Procaterol (MeptinR 25mcg/5ml) 1.25mcg/kg/dose ให้ยาทุก 12 ชั่วโมง
  • 19. 6. ยาในกลุ่ม Dry Cough ขนาดยาในระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinol drugs) กลุ่มยาในระบบทางเดินอาหาร ที่ใช้บ่อยในร้านยาได้แก่ ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Dextromethorphan (RomilarR 15mg/5ml 1-2mg/kg/day แบ่งให้วันละ 3 ครั้ง ขนาดยาสูงสุด ในเด็ก เด็กอายุ 2-6 ปี : ไม่เกิน 30mg/วัน เด็กอายุ 6-12 ปี : ไม่เกิน 60mg/วัน เด็กอายุ ≥12 ปี : <120mg/วัน ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Domperidone (MotiliumR 5mg/5ml) 0.2-0.4mg/kg/dose ให้ทุก 6-8 ชั่วโมง หรืออาจให้ ตามอายุดังนี้ เด็กอายุ <1 ปี : ¼-1/2 ช้อนชา 3-4 มื้อ/วัน เด็กอายุ 1-5 ปี : ½-1 ช้อนชา 3-4 มื้อ/วัน เด็กอายุ 6-12 ปี : 1-2 ช้อนชา 3-4 มื้อ/วัน Simethicone (Air-XR 40mg/0.6ml) เด็กอายุ < 2 ปี : 20mg (0.3ml) 3-4 times/day เด็กอายุ 2-12 ปี : 40mg (0.6ml) 3-4 times/day อายุ >12 ปี : 40-125mg 3-4 time/day Max : 500mg/day Dicyclomine (BerclomineR 5mg/5ml) เด็กอายุ 6 เดือน-1 ปี : 5mg/dose รับประทานวันละ 3-4 ครั้ง เด็กอายุ >1 ปี : 10mg/dose รับประทานวันละ 3-4 ครั้ง Hyoscine (BuscopanR 5mg/5ml) 0.3-0.6mg/kg/dose ให้ทุก 6-8 ชั่วโมง หรืออาจให้ ตามอายุดังนี้ เด็กอายุ<1ปี:2.5mg/doseรับประทานทุก6-8ชั่วโมง เด็กอายุ1-6ปี:5-10mg/doseรับประทานทุก6-8ชั่วโมง เด็กอายุ >6 ปี : 10-20mg/dose รับประทานทุก 6-8 ชั่วโมง
  • 20. กลุ่มยาในระบบทางเดินอาหาร ที่ใช้บ่อยในร้านยาได้แก่ (ต่อ) ชื่อยา ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก Aluminum hydroxide 220mg with Magnesium hydroxide 120mg/5ml (Alum milkR ) Peptic ulcer Neonate (แรกเกิด-1 เดือน) : 1ml/kg/dose ทารก (1 เดือน-1 ปี) : 2-5ml/ครั้ง เด็กเล็ก (1-5 ปี) : 5-15ml/ครั้ง เด็กโต (6-12 ปี) : 15-45ml/ครั้ง รับประทานขณะท้องว่าง โดยปกติคือ 1 ชั่วโมง ก่อนอาหาร หรือ 2 ชั่วโมงหลังอาหาร Cimetidine (tagamentR 200, 400, 800mg/tablets) 20-40mg/kg/day แบ่งให้วันละ 2-4 ครั้ง Ranitidine (ZantacR 150mg, 300mg/tablets) เด็กอายุ 1 เดือน-16 ปี : 2-4mg/kg/day แบ่งให้วันละ 2 ครั้ง Max : 300mg/day GERDs : 5-10mg/kg/day แบ่งให้วันละ 2 ครั้ง Famotidine (AgufamR 20mg/tablets) เด็กอายุ <3 เดือน : 0.5mg/kg/dose วันละครั้ง เด็กอายุ 1 เดือน-16 ปี : 1-2mg/kg/day แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง Max : 80mg/day Omeprazole (MiracidR , LosecR 20mg/Capsule) เด็กอายุ ≥2 ปี : 0.6-3.3mg/kg/day แบ่งให้วันละ 1-2 ครั้ง หรืออาจให้ตามน้ำหนักตัว ดังนี้ เด็กหนัก <20kg : 10mg/kg วันละครั้ง เด็กหนัก ≥20kg : 20mg/kg วันละครั้ง Lactulose (DuphalacR 10g/15ml) เด็กทารก : 2.5-10ml/day เด็กเล็ก : 40-90ml/day เด็กโต : 30-45ml/day Magnesium hydroxide อายุ <2 ปี : 0.5ml/kg/day เด็กอายุ 2-5 ปี : 5-15ml/day เด็กอายุ6-12 ปี : 15-30ml/day เด็กอายุ >12 ปี : 30-60ml/day ให้ก่อนนอนหรือ แบ่งให้วันละ 1-2 ครั้ง
  • 21. Reference : 1. Lacy CF, Armstrong LL, Golden MP, Lance LL, editors. Drug information handbook.14 th ed. Hudson(OH): Lexi; 2004. 2. Lacy CF, Armstrong LL, Golden MP, Lance LL, editors. Drug information handbook.17 th ed. Hudson(OH): Lexi; 2008-2009. 3. Evangelista LF,Au LE, Arrojo MA, Francisco JC, editor. MIMS Thailand. Bangkok: Medimedia (Thailand) Ltd; 2008 4. Taketomo CK, Hodding JH and Kraus DM editor. Pediatric Dosage Handbook. 12 th ed.Hudson(OH):Lexi;2005. 5. คู่มือการใช้ยาในเด็ก:ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย พิมพ์ที่ บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ 2549. 6. ภัทรินทร์ พิทักษ์โชติวรรณ และวีรยา กุลละวณิชย์, “ความถูกต้องของ การคำนวณขนาดยาในเด็ก จากขนาดยาในผู้ใหญ่” ปริญญาตรี (เภสัชศาสตร บัณฑิต), คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2549. 7. ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์และคณะ. คู่มือหมอใหม่. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.
  • 22. การปรับขนาดยาในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (Drug Dosing Adjustments in Patients with Chronic Kidney Disease) เรียบเรียงโดย ภก.ธีรศักดิ์ วงษ์วาน โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา บทนำ โรคไตวายเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease; CKD) มีผลต่อยา ที่มีการขจัดยาออกทางไตและต่อขบวนการทางเภสัชจลนศาสตร์อื่นๆ เช่น Drugabsorption,bioavailability,proteinbinding,drugdistribution,nonrenal clearance (metabolism) หากผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังได้รับยาในขนาดที่ ไม่เหมาะสม อาจมีผลทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์/เกิดพิษจากยา หรือ ไม่ได้ประสิทธิภาพเพียงพอในการรักษา (ineffective therapy) ดังนั้นยา ที่ขจัดออกทางไตควรได้รับการปรับขนาดยาตามอัตราการกรองของ หน่วยไต (glomerular filtration rate; GFR) หรือ creatinine clearance (CrCl) ซึ่งวิธีการปรับขนาดยา คือ การลดขนาดยา (dosage reduction method) การขยายระยะห่างของการให้ยา (interval extension method) หรือใช้ทั้งสองวิธีร่วมกัน5 ในฐานะเภสัชกรเป็นผู้ที่มีความรู้ในเรื่องยาและ ขนาดยา จึงควรมีความรู้เกี่ยวกับยาที่ใช้กันบ่อยๆ ที่จำเป็นจะต้องมีการปรับ ขนาดยาตามการทำงานของไต และมีบทบาทเป็นผู้ที่สื่อสารหรือให้ข้อมูล การปรับขนาดยาแก่บุคลากรทางการแพทย์ เพื่อจะได้ช่วยบริบาลทาง เภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังให้ได้รับยาในขนาดที่เหมาะสม
  • 23. โรคไตวายเรื้อรัง (Chronic kidney disease; CKD) คือ ภาวะที่ ผู้ป่วยมีการทำงานของไตลดลงอย่างช้าๆ ค่อยเป็นค่อยไปอย่างต่อเนื่อง โดย The National Kidney Foundation Kidney Disease Outcomes Qual- ity Initiative (K/DOQI) ได้กำหนดนิยามของ Chronic kidney disease คือ การที่ไตถูกทำลาย (kidney damage) หรือมีการลดลงของอัตราการกรอง ผ่านหน่วยไต (glomerular filtration rate ; GFR) น้อยกว่า 60mL/min/ 1.73m2 ติดต่อกันเป็นเวลานานกว่า 3 เดือน.1,5 ซึ่งส่งผลทำให้เกิดการสะสม ของเสียในร่างกาย มีความผิดปกติของสมดุลน้ำ กรดด่างและอิเล็กโตรไลท์ โดยผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังมักมีภาวะแทรกซ้อนทางระบบต่างๆ เช่น ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบประสาท ระบบหัวใจและหลอดเลือด และระบบ ทางเดินอาหาร ตลอดจนปัญหาทางโภชนาการและโลหิตจาง เป็นต้น สำหรับการแบ่งระยะโรคไตวายเรื้อรังตามระบบของ K/DOQI แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงการแบ่งระยะโรคไตวายเรื้อรัง อุบัติการณ์และจำนวน ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังในผู้ใหญ่1                                  
  • 24. การปรับขนาดยา (Dosing Adjustments) โดยทั่วไปแล้วขนาดยา Loading dose ไม่จำเป็นต้องปรับในผู้ป่วย โรคไตวายเรื้อรัง และแนวทางการปรับขนาดยาที่ตีพิมพ์ในหนังสืออ้างอิง ต่างๆ แนะนำให้ปรับขนาดยาต่อเนื่อง (maintenance dose) ซึ่งการปรับ ขนาดยาคือให้ลดขนาดยาลง(Dosereductionmethod;D)การขยายระยะห่าง ของการให้ยา(Intervalextensionmethodorlengtheningthedosinginterval ; I) หรือใช้ทั้งสองวิธี (D,I)5 แนวทางการปรับขนาดยาแต่ละตัวสามารถดูได้จากหนังสือ Drug Prescribing in Renal Failure: Dosing Guidelines for Adults ซึ่งตาม แนวทางนี้ได้แสดงการปรับขนาดยาตามช่วงของอัตราการกรองของหน่วยไต (GFR) โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ GFR น้อยกว่า 10 mL/minute/1.73 m2 ค่า GFRอยู่ระหว่าง10-50mL/minute/1.73m2 และค่าGFRมากกว่า50mL/ minute/1.73 m2 ซึ่งการจัดแบ่งตามแนวทางนี้ไม่ได้สัมพันธ์กับการแบ่ง ระยะของโรคไตวายเรื้อรังตามระบบของK/DOQIstagingsystemแต่สามารถ ใช้เป็นขนาดยาเริ่มต้น (initial dosages) ได้ รูปแบบการให้ยา (regimens) อาจต้องปรับในผู้ป่วยแต่ละคนขึ้นอยู่กับการตอบสนองของผู้ป่วยและความ เข้มข้นของระดับยาในเลือด ส่วนการคำนวณค่าอัตราการกรองของหน่วยไต หรือ GFR ในทางปฏิบัตินั้นคำนวณยาก เราสามารถใช้ค่า creatinine clear- ance (CrCl) แทนได้โดยคำนวณตาม Cockcroft-Gault equation. โดยสูตรของ Cockcroft-Gault ที่ใช้สำหรับคำนวณค่า CrCl มีดังนี้ CrCl (male) = ([140-age] X weight in kg)/(serum creatinine X 72) CrCl (female) = CrCl (male) X 0.85
  • 25. ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ยาต้านจุลชีพหลายตัวที่มีการขจัดยาออกทางไต ดังนั้นผู้ป่วยที่ มีภาวะไตวายเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการปรับขนาดยา อย่างไรก็ตาม ยาที่ ใช้กันทั่วไปบางตัวไม่จำเป็นต้องปรับขนาดยา เช่น Cloxacillin Dicloxacillin Ceftriaxone Doxycycline Clindamycin และสำหรับยา Metronidazole คำแนะนำของการปรับขนาดยานั้นหลากหลาย กล่าวคือ โดยหาก CrCl น้อยกว่า 10 ml/min และไม่ได้ฟอกเลือด (on dialysis) เพื่อลดความเสี่ยง ของการสะสมยาในร่างกายผู้ป่วยที่อาจเกิดได้จากการได้รับยาแบบหลายครั้ง (multiple doses) ให้พิจารณาลดขนาดยาเหลือ 50% ของขนาดปกติหรือ ให้บริหารยาห่างกัน ทุก 12 ชั่วโมง แต่อาจไม่จำเป็นต้องปรับลดขนาดยา หากให้ยารักษาในระยะสั้น (short course) แต่คำแนะนำในหนังสืออ้างอิง บางเล่ม แนะนำว่า ไม่จำเป็นต้องปรับลดขนาดยา Metronidazole4,6 ยาแก้ปวด (Analgesics) ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังโดยเฉพาะโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (stage 5 kidney disease; ESRD) มีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดอาการไม่พึงประสงค์ จากการใช้ยาระงับปวดกลุ่มอนุพันธ์ของฝิ่นได้โดยสารที่เกิดจากการเปลี่ยน สภาพยา (metabolites) ของยา ได้แก่ meperidine (pethidine), morphine, dextropropoxyphene, tramadol และยา codeine สามารถเกิดการสะสมใน ร่างกาย ส่งผลทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) และกดการหายใจได้ เช่น หากมีการสะสมของสาร normeperidine ซึ่งเป็นสารmetabolitesของยาmeperidineที่มีค่าครึ่งชีวิตยาว15-30ชั่วโมง โดย normeperidine มีฤทธิ์ระงับปวดน้อยหรือแทบจะไม่มีฤทธิ์ระงับปวดเลย แต่กลับมีฤทธิ์เป็น Neuroexcitatory effect หรือ CNS stimulant ทำให้เกิด อาการไม่พึงประสงค์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง เช่น เกิดภาวะวิตกกังวล
  • 26. (anxiety),สั่น(tremors),สับสน(confusion),ประสาทหลอน(hallucinations), hyperreflexia, กล้ามเนื้อเกร็งกระตุก (myoclonus) และอาจเกิดอาการชักได้ เป็นต้น โดยยาเหล่านี้ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะ4 และ 5 สำหรับยา morphine และ codeine แนะนำให้ลดขนาดยาลงเป็น 50-75% ในผู้ป่วยที่มีค่าcreatinineclearanceน้อยกว่า50mL/minute.ส่วนยาtrama- dol (regular release) ในผู้ป่วยที่มีค่า creatinine clearance น้อยกว่า 30 mL/ minute. ควรปรับขนาดยาโดยการขยายระยะห่างการให้ยา (interval exten- sion) เป็นทุก 12 ชั่วโมง และขนาดยาสูงสุดเป็น 200 mg/day หากเป็นยา tramadol รูปแบบ extended-release ควรหลีกเลี่ยงการใช้ในผู้ป่วยโรคไตวาย เรื้อรัง (CKD) ส่วนยา Acetaminophen (Paracetamol) เป็นยาที่สามารถใช้ได้ อย่างปลอดภัยในผู้ป่วยไตบกพร่อง (renal impairment)5
  • 28. ตารางที ่ 3 แสดงแนวทางการปรั บ ขนาดยาที ่ ใ ช้ ร ั ก ษาโรคความดั น โลหิ ต สู ง 2, 5 Class/Drug Dose for Normal Renal Function Adjustment for Renal Failure Method Estimated CrCl (ml/min) > 50 10-50 < 10 Diuretics Amiloride 5 mg q24h D 100% 50% If CrCl < 30 ml/min : Avoid Avoid Furosemide 20-300 mg q12-24h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Hydrochlorothi-azide (HCTZ) 6.25-100 mg q24h D 100% 100% Ineffective if CrCl < 30 Spironolactone 50-100 mg/day I q12h q12-24h If CrCl < 30 ml/min : Avoid Avoid Angiotensin-Converting Enzyme (ACE) Inhibitors Captopril 6.25-100 mg /day q8-12h (max. 450 mg/day) D 100% 75% 50% Enalapril 2.5-40 mg/day q12-24h (max. 40 mg/day) D 100% 75-100% 50%
  • 29. Class/Drug Dose for Normal Renal Function Adjustment for Renal Failure Method Estimated CrCl (ml/min) > 50 10-50 < 10 Perindopril 4 - 8 mg/day q24h (max. 16 mg/day) D,I 100% 2 mg q24-48h 2 mg q48h Ramipril 2.5-10 mg/day q24h D 100% 25-50% 25% Angiotensin II Receptor Antagonists (ARBs) Candesartan 8-32 mg q24h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Irbesartan 150-300 mg q24h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Losartan 25-100 mg q24h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Valsartan 80-320 mg q24h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Beta-Blockers Atenolol 50 -100 mg PO q24h D 50 -100 mg q24h 25-50 mg q24h 25 mg q24h Bisoprolol 2.5- 20 mg PO q24h D 100% 75% 50% ตารางที ่ 3 แสดงแนวทางการปรั บ ขนาดยาที ่ ใ ช้ ร ั ก ษาโรคความดั น โลหิ ต สู ง 2, 5 (ต่ อ )
  • 30. Class/Drug Dose for Normal Renal Function Adjustment for Renal Failure Method Estimated CrCl (ml/min) > 50-90 10-50 < 10 Penicillins Penicillin G 0.5-4 million unite q4-6h D 100% 75% 20-50% Penicillin VK 125-500 mg PO q6h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา ตารางที ่ 4 แสดงแนวทางการปรั บ ขนาดยาต้ า นจุ ล ชี พ (Antimicrobial agents) ในผู ้ ป ่ ว ยไตวายเรื ้ อ รั ง 3, 4, 6.7 Class/Drug Dose for Normal Renal Function Adjustment for Renal Failure Method Estimated CrCl (ml/min) > 50 10-50 < 10 Carvedilol 3.125-25 mg PO q12-24h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Metoprolol 50-200 mg PO q24h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Propranolol 80-160 mg PO q12h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Calcium-Channel Blockers (CCBs) : ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา α 1 -adrenergic receptors blockers : ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา ตารางที ่ 3 แสดงแนวทางการปรั บ ขนาดยาที ่ ใ ช้ ร ั ก ษาโรคความดั น โลหิ ต สู ง 2, 5 (ต่ อ )
  • 31. Class/Drug Dose for Normal Renal Function Adjustment for Renal Failure Method Estimated CrCl (ml/min) > 50-90 10-50 < 10 Amoxicillin 250-500 mg PO q8h I q8h q8-12h q24h Ampicillin 250 mg – 2 g IV q6h I q6h q6-12h q12-24h Amoxicillin (AM) + Clavulanate (CL) 500/125 mg q8h (if CrCl ≤ 30 ml/min do not use 875/125 AM/CL) D, I 500/125 mg q8h 250-500 mg AM. compo- nent q12h 250-500 mg AM. component q24h Ampicillin+sulbactam 2 g Ampi + 1 g SB q6h I q6h q8 -12h q24h Cloxacillin 500 mg – 2 g IV q6h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Dicloxacillin 250-500 mg PO q6h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Piperacillin + tazobactam 3.375 - 4.5 g q6-8h D, I 100% 2.25 g q6h (q8h if CrCl < 20 ml/min) 2.25 g q8h Cephalosporins Cefazolin sodium 1-2 g IV q6-8h I q8h q12h q24-48h ตารางที ่ 4 แสดงแนวทางการปรั บ ขนาดยาต้ า นจุ ล ชี พ (Antimicrobial agents) ในผู ้ ป ่ ว ยไตวายเรื ้ อ รั ง 3, 4, 6.7 (ต่ อ )
  • 32. Class/Drug Dose for Normal Renal Function Adjustment for Renal Failure Method Estimated CrCl (ml/min) > 50-90 10-50 < 10 Cephalexin 250 - 500 mg PO q6-8h I q6-8h q8-12h q12-24h Cefoxitin sodium 2 g IV q8h I q8h q8-12h q24-48h Cefuroxime sodium 0.75 -1.5 g IV q8h I q8h q8-12h q24h Cefdinir 200-300 mg PO q12h (max. 600 mg/day) D, I 100 % CrCl > 30 ml/min : No change CrCl < 30 ml/min : 300 mg q24h Cefditoren 200 mg PO q12h (may up to 400 mg q12h) D, I 200 mg PO q12h CrCl 30 - 50 : 200 mg q12h CrCl < 30 : 200 mg q24h Cefixime 200 mg q12h (6-12 MKD) D 100% 75% 50% Cefotaxime 1-2 g IV q6-8h I q8-12h q12 -24h q24h Ceftazidime 1-2 g q8h (max.6 g/d) I q8-12h q12-24h q24-48h Ceftriaxone 1-2 g q12-24h (max.4 g/d) D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Cefoperazone 1-3 g IV q8h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา ตารางที ่ 4 แสดงแนวทางการปรั บ ขนาดยาต้ า นจุ ล ชี พ (Antimicrobial agents) ในผู ้ ป ่ ว ยไตวายเรื ้ อ รั ง 3, 4, 6.7 (ต่ อ )
  • 33. Class/Drug Dose for Normal Renal Function Adjustment for Renal Failure Method Estimated CrCl (ml/min) > 50-90 10-50 < 10 Sulperazone 1.5 g ( Cefoperazone 1g + Sul- bactam 0.5 g ) Cefoperazone 1-2 g IV,IM q12h Max: 4 g/day Sulbactam D Cefoperazone 1-2 g IV,IM q12h CrCl :15-30 ml/min 1 gm q12h Max : 2 g/day CrCl < 15 ml/ min 500 mg q 12h Max : 1 g/day Cefepime 2 g IV q8h (max. dose) D, I 2 g q8h 2 g q12-24h 1 g q24h Once-daily Aminoglycoside therapy CrCl (ml/min) > 80 60-80 40-60 30-40 20-30 10-20 < 10 Drugs Dose (mg/kg) q24h Dose (mg/kg) q48h Dose q72h Gentamicin / Tobramycin 5.1 4 3.5 2.5 4 3 2 Amikacin / Streptomycin 15 12 7.5 4 7.5 4 3 Netilmicin 6.5 5 4 2 3 2.5 2 ตารางที ่ 4 แสดงแนวทางการปรั บ ขนาดยาต้ า นจุ ล ชี พ (Antimicrobial agents) ในผู ้ ป ่ ว ยไตวายเรื ้ อ รั ง 3, 4, 6.7 (ต่ อ )
  • 34. Class/Drug Dose for Normal Renal Function Adjustment for Renal Failure Method Estimated CrCl (ml/min) > 50-90 10-50 < 10 Macrolides Azithromycin 250-500 mg PO OD D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา ให้ ใ ช้ ย านี ้ อ ย่ า งระมั ด ระวั ง ในผู ้ ป ่ ว ยที ่ ม ี CrCl < 10 ml/min Clarithromycin 0.5-1.0 g q12h D 100% 75% 50-75% Erythromycin 250-500 mg PO q6h D 100% 100% 50-75% (250 mg q6h) Roxithromycin 150 mg PO bid ac D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Ketolides Telithromycin 800 mg PO q24h D 100% 600 mg q24h (If CrCl < 30 ml/min) Fluoroquinolones Norfloxacin 400 mg PO q12 h 400 mg q12 h CrCl 10-30 ml/min: 400 mg q24h Avoid ตารางที ่ 4 แสดงแนวทางการปรั บ ขนาดยาต้ า นจุ ล ชี พ (Antimicrobial agents) ในผู ้ ป ่ ว ยไตวายเรื ้ อ รั ง 3, 4, 6.7 (ต่ อ )
  • 35. Class/Drug Dose for Normal Renal Function Adjustment for Renal Failure Method Estimated CrCl (ml/min) > 50-90 10-50 < 10 Ofloxacin 200-400 mg PO q12h D, I 200-400 mg q12h CrCl 20-50 : 200-400 mg q24h CrCl < 20 : 50% q24h Ciprofloxacin 500-750 mg PO q12h or 400 mg IV q12h D 100% 50-75% 50% Levofloxacin 750 mg q24h IV, PO D, I 750 mg q24h CrCl 20-49 ml/min : 750 mg q48h CrCl <20 ml/min : 750 mg once then 500 mg q48h Moxifloxacin 400 mg q24h IV, PO D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Other antibiotics Aztreonam 2 g IV q8h D 100% 50-75% 25% Imipenem / cilastatin 500 mg IV q6h ( max. 4 g/day ) D, I 250-500 mg q6-8h 250 mg q6-12h 125-250 mg q12h ตารางที ่ 4 แสดงแนวทางการปรั บ ขนาดยาต้ า นจุ ล ชี พ (Antimicrobial agents) ในผู ้ ป ่ ว ยไตวายเรื ้ อ รั ง 3, 4, 6.7 (ต่ อ )
  • 36. Class/Drug Dose for Normal Renal Function Adjustment for Renal Failure Method Estimated CrCl (ml/min) > 50-90 10-50 < 10 Meropenem 1 – 2 gm IV q8h (max. 6 g/day) D, I 100% IV q8h If > 25 ml/min: 100% IV q12h If ≤ 25 ml/min 50% IV q12h 50% IV q24h Vancomycin 1 g IV q12h D, I 1 g q12h 1 g q24-96h 1 g q 4-7 days Clindamycin PO 150-450 mg q6-8h IV 600-900 mg q6-8h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Colistimethate sodium (colistin) 80 - 160 mg IV q8h or 2.5 - 5 mg/kg/day D 160 mg q12h 160 mg q24h 160 mg q36h Metronidazole 500 mg IV q6-8h D 100% 100% 50% Sulfamethoxazole + Trimethoprim (Bactrim) 5 mg/kg TMP IV q8 h D 100% 50% Not recommended Bactrim ® (prophylaxis) DS 1 tab. PO OD D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Doxycycline 100-200 mg/day PO bid D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา ตารางที ่ 4 แสดงแนวทางการปรั บ ขนาดยาต้ า นจุ ล ชี พ (Antimicrobial agents) ในผู ้ ป ่ ว ยไตวายเรื ้ อ รั ง 3, 4, 6.7 (ต่ อ )
  • 37. Class/Drug Dose for Normal Renal Function Adjustment for Renal Failure Method Estimated CrCl (ml/min) > 50-90 10-50 < 10 Minocycline 100 mg PO q12h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Tigecycline IV 100 mg then 50 mg q12h D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Antiparasitic agents Albendazole 200-400 mg PO OD-bid D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Mebendazole 500 mg PO OD D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Quinine 650 mg q8h I 650 mg q8h 650 mg q8-12h 650 mg q24h Antifungal agents Amphotericin B 0.5-1.5 mg/kg/day I q24h q24h q24h Fluconazole 200-400 mg q24h (max. 800 mg/day) D 100 % 50% 50% Itraconazole , PO 100-200 mg PO q12-24h D 100 % 100% 50% Ketoconazole 200 mg/day PO OD D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา Griseofulvin 500 mg/day PO OD D ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งปรั บ ขนาดยา ตารางที ่ 4 แสดงแนวทางการปรั บ ขนาดยาต้ า นจุ ล ชี พ (Antimicrobial agents) ในผู ้ ป ่ ว ยไตวายเรื ้ อ รั ง 3, 4, 6.7 (ต่ อ )
  • 38. สำหรับยารายการอื่นๆ ที่ไม่ได้แสดงในตาราง สามารถหาข้อมูล ได้จากแหล่งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปรับขนาดยาในผู้ป่วยโรคไตวาย เรื้อรังนั้นแสดงในตารางที่ 5 ตารางที่ 5 แสดงแหล่งค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปรับขนาดยาใน ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง                     
  • 39. References : 1. Abboud H, Henrich WL. Clinical practice: Stage IV Chronic Kidney Disease. N Engl J Med 2010;362:56-65. Available at: www.nejm. org. Accessed date: January 10th , 2010. 2. Aronoff GR, Bennett WM, Berns JS, et al. Drug Prescribing in Renal Failure:DosingGuidelinesforAdultsandChildren.5thed.Philadelphia, PA.: American College of Physicians.2007. 3. Gilbert DN, Moellering RC,Eliopoulos GM, Sande MA. The Sanford Guide To Antimicrobial Therapy.38th ed. United State of America, 2008 : 178-185. 4. Lacy CF, Armstrongs LL, Goldman MP, Lance LL. Drug Information Handbook with International Trade Names Index. 17th ed. Ohio, Lexi-Comp Inc., 2008-2009. 5. Munar MY, Singh H. Drug Dosing Adjustments in Patients with Chronic Kidney Disease : Am Fam Physician 2007;75:1487-96. 6. Sabatine MS. Pocket Medicine. 3rd ed. Lippincott Williams and Wilkins, Philadelphia, 2008: page10-8 to 10-10. 7. David F. McAuley, Pharm.D., R.Ph. GlobalRPh Inc. Available at: http://www.globalrph.com/index_renal.htm. Accessed date: March 15th , 2010
  • 40. โรคภูมิแพ้ Allergy เรียบเรียงโดย ภญ.วลัยพรรณ พาณิชธนานนท์ สถานพยาบาลชลเวช โรคทางเดินหายใจเป็นโรคที่พบมากของประเทศไทยโดยเฉพาะ ประชาชนในเขตเมืองเนื่องจากมลภาวะและภูมิแพ้ บทความนี้จะนำเสนอ เรื่องราวเกี่ยวกับภูมิแพ้ในหลายแง่มุมที่คุณควรจะรู้ โรคภูมิแพ้คืออะไร ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมีหน้าที่ที่จะจดจำสิ่งแปลกปลอมที่จะ ทำร้ายร่างกายเรา เช่น เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส โดยการสร้างภูมิคุ้มกันขึ้น ต่อสู้กับเชื้อโรค โรคภูมิแพ้เป็นภาวะที่ภูมิของร่างกายมีปฏิกิริยากับโปรตีน หรือสารก่อภูมิแพ้ Allergen จากสิ่งแวดล้อมซึ่งปกติจะไม่มีอันตรายสำหรับ ผู้ที่ไม่แพ้ ปฏิกิริยานี้เริ่มเมื่อเราได้รับสารก่อภูมิแพ้ก็จะเกิดการสร้าง ภูมิต้านทาน (antibody) ที่เรียกว่า IgE antibody ซึ่ง antibody นี้จะกระตุ้น Mast cell ให้มีการหลั่งสาร Histamine ขึ้นที่เนื้อเยื่อต่างๆ เช่น ผิวหนัง ปอด จมูก ลำไส้ ทำให้เกิดการอักเสบ อาการแสดง เช่น ลมพิษที่ผิวหนัง คัดจมูก แน่นหน้าอก หอบหืด บางรายอาจจะรุนแรง ถึงกับเสียชีวิตได้ Anaphylaxis shock คนเราเป็นภูมิแพ้ได้อย่างไร เนื่องจากเกิดโรคภูมิแพ้เป็นจำนวนมากจึงได้มีการวิจัยหาสาเหตุ ของโรคภูมิแพ้ • กรรมพันธ์ุ ผู้ที่มีประวัติภูมิแพ้ในครอบครัว เช่นพ่อแม่ พี่น้อง ก็จะเป็นเครื่องบ่งชี้ว่าจะเป็นโรคภูมิแพ้ได้ง่าย เด็กชายเป็นมากกว่าเด็กหญิง หากพ่อหรือแม่เป็นโรคภูมิแพ้ เด็กจะเป็นภูมิแพ้ได้ร้อยละ 30 แต่หากทั้งพ่อ และแม่เป็นภูมิแพ้เด็กจะมีโอกาสเป็นโรคภูมิแพ้ร้อยละ 50-60
  • 41. • สิ่งแวดล้อมของเด็กในขวบปีแรกสำคัญมาก การสัมผัส ควันบุหรี่ ไรฝุ่น เกสรดอกไม้ สะเก็ดรังแคสัตว์ การใช้ยาปฏิชีวนะ การรับประทานอาหารสำเร็จรูป เหล่านี้จะทำให้เกิดโรคภูมิแพ้ • การติดเชื้อไวรัสในวัยเด็ก การที่มีเชื้อ Lactobacillus ในลำไส้ หรือการอาศัยใกล้ฟาร์มสัตว์ จะเพิ่มอุบัติการณ์ของภูมิแพ้ การหลีกเลี่ยงหรือนำสิ่งที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ออกจากสิ่งแวดล้อม ใกล้ตัว เป็นการรักษาที่สำคัญที่สุดในการรักษาโรคภูมิแพ้ ซึ่งจะทำให้ ลดอาการของโรคภูมิแพ้และลดปริมาณการใช้ยา ทำไมคนในเมืองถึงเป็นโรคภูมิแพ้มากขึ้น พบว่าปัจจัยที่สำคัญคือการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมจาก สังคมชนบทเป็นสังคมเมือง • คนในเมืองอยู่บ้านมาก ติดเครื่องปรับอากาศ ไม่ออกกำลังกาย ทำให้ร่างกายอ่อนแอ เกิดการติดเชื้อได้ง่าย ตัวอย่างโรคที่เกิดจากภูมิแพ้ สารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ที่พบบ่อย • โรคหอบหืด • Anaphylaxis • Eczema, • contact dermatitis, • ลมพิษ urticaria • allergic conjuntivitis • แพ้ยา แพ้แมลง แพ้ยาง • แพ้อาหาร • โรคภูมิแพ้หรืออาการคัดจมูก • การรักษาโรคภูมิแพ้ • ยาแก้แพ้ • ไรฝุ่น • เรณูหรือเกสรดอกไม้ และหญ้า • สะเก็ดรังแคของสัตว์ (แมว สุนัข ม้า) • แมลงสาบ • เชื้อรา • อาหาร(ไข่ขาวนมแป้งสาลีถั่วเหลือง อาหารทะเล ถั่ว) • เหล็กไนของผึ้งและตัวต่อ • ยา • ยางพารา
  • 42. • เด็กกินนมแม่น้อยลง คนรับประธานอาหารจานด่วนมาก ทำให้ได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน และได้รับสิ่งแปลกปลอมเข้ามามาก เช่น สี สารกันบูด • คนนิยมเลี้ยงสัตว์เลี้ยงในบ้านเพิ่ม • การตกแต่งบ้าน ติดตั้งพรมและติดเครื่องปรับอากาศทำให้ อากาศถ่ายเทไม่ดี เชื้อไรฝุ่นเจริญได้ดี • มลภาวะจากอุตสาหกรรม และการจราจร • การสูบบุหรี่ สารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ในบ้าน สารก่อโรคภูมิแพ้ในบ้านจะพบได้ตลอดปีและเป็นสาเหตุสำคัญ ในการเกิดโรคภูมิแพ้คัดจมูก โรคหอบหืด ผื่นแพ้ ผิวหนังอักเสบ (eczema) สารก่อภูมิแพ้ในบ้านที่สำคัญได้แก่ • ไรฝุ่นพบมากบนที่นอน โซฟา • สะเก็ดรังแคสัตว์ น้ำลาย และเหงื่อของสัตว์เลี้ยง • ขนนก ของเสียแมลงสาบ รา วิธีป้องกันสารก่อภูมิแพ้ในบ้าน • เปิดหน้าต่างให้เกิดการถ่ายเทของอากาศ โดยเฉพาะห้องครัว ห้องน้ำ โดยเปิดหน้าต่างอย่างน้อยครั้งละ 1 ชั่วโมงเปิดวันละสองครั้ง หากแพ้เกสรควรปิดหน้าต่าง โดยเฉพาะช่วงที่มีเกสรดอกไม้มาก • ไม่ควรตากผ้าในห้องนอนและห้องนั่งเล่น • ถ้าห้องมีความชื้นมากให้เปิดให้อาการถ่ายเทให้มาก การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นโรคภูมิแพ้ • ไม่เลี้ยงสัตว์ที่มีขนไว้ในบ้านโดยเฉพาะในห้องนอน • ไม่ควรตกแต่งห้องนอนด้วยพรม หรือมีตุ๊กตา
  • 43. • ห้องนอนไม่ควรจะมีชั้น หรือหนังสือ • เครื่องนอนควรจะซักและต้มสัปดาห์ละครั้ง • งดบุหรี่ การทาสีในบ้าน • หมั่นทำความสะอาด และดูดฝุ่นบ้านและม่านกันแดด • กำจัดเศษอาหารให้มิดชิดเพื่อป้องกันแมลงสาบ จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคภูมิแพ้ อาการของโรคภูมิแพ้ขึ้นอยู่กับว่า ภูมิแพ้นั้นเกิดขึ้นที่ระบบใด สำหรับผู้ใหญ่สามารถที่จะให้ประวัติและบอกอาการได้ก็จะช่วยในการ วินิจฉัย อาการของโรคภูมิแพ้ที่พบได้มีดังนี้ • ผื่นที่ผิวหนัง เช่นผื่นแพ้ ลมพิษ คันตามผิวหนัง • คัดจมูก น้ำมูกไหล จาม • ไอแน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด โรคหอบหืด • เคืองตาและตาแดง เคืองจมูก • บวมรอบปาก อาเจียนและถ่ายเหลว • แสบคอ น้ำมูกไหลลงคอ หูอื้อ จะรู้ได้อย่างไรว่าเด็กเป็นโรคภูมิแพ้ • สำหรับผู้ใหญ่สามารถบอกอาการได้ แต่เด็กบอกอาการไม่ได้ ดังนั้นผู้ปกครองต้องสังเกตอาการ และอาการแสดงของเด็ก โดยดูจาก โครงร่างกาย ผิวหนัง และลักษณะหน้า เด็กที่เป็นภูมิแพ้ มักจะมีขนาดตัว เล็กกว่าเด็กทั่วไป ลักษณะใบหน้าเป็นแบบ Allergic Shiners ซึ่งลักษณะ ที่เห็นชัด คือ เด็กจะมีขอบตาดำคล้ำเนื่องจากเส้นเลือดดำที่ขอบตาขยาย • Dennie-Morgan Lines เด็กที่เป็นภูมิแพ้จะมีรอยย่นที่ใต้ หนังตาล่าง
  • 44. • Long Face S yndrome เด็กที่เป็นภูมิแพ้ คัดจมูก และมี โรคหอบหืด จะมีเพดานปากสูงขึ้น ฟันบนยื่นออกมา ต้องหายใจทางปาก เนื่องจากคัดจมูกอยู่ตลอดเวลา เยื่อบุจมูกจะบวมและซีด เนื่องจากถูก ภูมิแพ้กระตุ้นอยู่ตลอดเวลาทำให้หายใจไม่ออก • Nasal Salute เด็กที่เป็นภูมิแพ้จะมีอาการคันจมูก มักจะเอา ฝ่ามือเช็ดจมูกอยู่ตลอดเวลาทำให้เกิดรอยย่นที่ดั่งจมูก • Facial Tics เด็กที่เป็นภูมิแพ้จะมีอาการคันจมูกทำให้ต้องย่น หน้าและจมูกเหมือนตัวตลก • Keratosis Pilaris ผิวหนังของเด็กที่เป็นภูมิแพ้จะแห้งและหยาบ โดยเฉพาะผิวหนังบริเวณบริเวณแก้ม แขน หน้าอก • Atopic Ezema ผิวหนังบริเวณข้อพับจะมีรอยเกาเป็นผื่น บางรายมีน้ำเหลือง • Conjunctivitis เด็กจะเคืองตาและขยี้ตาอยู่ตลอดเวลาเยื่อบุตา จะบวม • Glueearเด็กที่คัดจมูกอยู่ตลอดเวลาทำให้เกิดหูชั้นกลางอักเสบ มีหนองไหลออกจากหู • Posterior nasal drip น้ำมูกจะไหลลงคอตลอดเวลาทำให้เด็ก ระคายคอ บางคนไอเรื้อรัง การทดสอบภูมิแพ้ เมื่อเกิดโรคภูมิแพ้ขึ้นก็มีความจำเป็นจะต้องทราบว่าแพ้อะไร เนื่องจากการรักษาที่ดีที่สุดคือ การหลีกเลี่ยงสิ่งที่แพ้ หากทดสอบแล้วรู้ว่า แพ้อะไรก็ต้องหลีกเลี่ยง หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็ต้องใช้ยารักษา เป็นการยาก ที่จะบอกว่าท่านแพ้อะไรโดยอาศัยเพียงประวัติและการตรวจร่างกาย หาก ท่านสงสัยว่าเป็นภูมิแพ้ ท่านต้องปรึกษาแพทย์ เพื่อซักประวัติภูมิแพ้และ ตรวจร่างกาย หากอาการภูมิแพ้ของท่านเป็นมากแพทย์ก็จะทดสอบภูมิแพ้
  • 45. Skin Prick Test เป็นวิธีการทดสอบการแพ้ โดยฉีดสารที่สงสัยว่าจะทำให้ เกิดภูมิแพ้เข้าใต้ผิวหนัง จะทดสอบบริเวณแขน สำหรับเด็กจะทดสอบ บริเวณหลัง การทดสอบนี้ไม่เจ็บและ ทราบผลทันที การทดสอบให้ผลบวก จะต้องมีตุ่มแดงนูนและคันบริเวณที่ฉีด ตุ่มยิ่งมีขนาดใหญ่เท่าใดยิ่งแพ้มากขึ้น เท่านั้น หากให้ผลลบแสดงว่าไม่ได้แพ้ สารนั้น ขั้นตอนการตรวจ Skin Prick Test มีดังนี้ 1. แพทย์ ซักประวัติโรคภูมิแพ้ ความรุนแรงของโรค แล้วจึง เลือกชนิดของสารก่อภูมิแพ้เพื่อทดสอบ หากท่านรับประทานยาเป็นประจำ ต้องแจ้งให้แพทย์ทราบ โดยเฉพาะยาแก้แพ้ ยาแก้โรคซึมเศร้า และจะต้อง หยุดยาตั้งแต่ 2 วัน - 6 สัปดาห์ก่อนทดสอบ 2. ทำความสะอาดผิวด้วยแอลกอฮอล์ 3. ใช้ไม้บรรทัดวัดตำแหน่งที่จะทดสอบ 4. หยดสารก่อภูมิแพ้ตามตำแหน่ง 5. ใช้เข็มเล็กสะกิดผิวหนังให้น้ำยาลงไป เปลี่ยนเข็มทุกครั้งที่ เปลี่ยนตำแหน่งรอดูผลการทดสอบ 15 นาที 6. วัดดูขนาดของผื่นที่เกิดและจดว่าแพ้อะไรบ้าง การทดสอบการแพ้ ยังมีวิธีอื่นด้วย เช่น - การเจาะเลือดตรวจ Blood test เป็นการเจาะเลือดเพื่อหา ภูมิต้านทาน (IgE) ต่อสารภูมิแพ้ เช่น ต่อไรฝุ่น ต่ออาหาร นม ไข่ ถั่วเหลือง - Patch test เป็นการทดสอบภูมิแพ้ที่เกิดหลังสัมผัส เช่น ผื่นแพ้จากการสัมผัส contact dermatitis วิธีการตรวจโดยใช้สารที่สงสัยว่า
  • 46. จะแพ้ใส่แผ่นเทป และปิดที่ผิวหนังไว้ 48 ชั่วโมง ส่วนใหญ่ทดสอบการแพ้ ยาง nickle สี เครื่องสำอาง รวมทั้งยา - Challenge test การทดสอบนี้ควรจะทำในโรงพยาบาลโดยให้ รับสิ่งที่สงสัยว่าจะแพ้แล้วดูปฏิกิริยา ก่อนการทดสอบควรเตรียมยาเพื่อ ช่วยชีวิตไว้ให้พร้อม การรักษาโรคภูมิแพ้ โรคภูมิแพ้ส่วนใหญ่เมื่อหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้ และรับประทานยา แก้แพ้ก็จะสามารถควบคุมอาการได้ สำหรับผู้ที่มีอาการคัดจมูกมากอาจ จะต้องให้ยาลดอาการคัดจมูก ( Decongestant) สำหรับผู้ที่มีอาการเรื้อรัง อาจจะต้องใช้ยาหยอดจมูก steroid หลักการรักษาประกอบด้วย 1. หลีกเลี่ยงหรือป้องกันสารที่เป็นภูมิแพ้ การหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ ได้กล่าวในหัวข้อของการแพ้ สารก่อภูมิแต่ละชนิด สำหรับเครื่องฟอกอากาศก็มีประโยชน์ บางชนิดใช้ ไฟฟ้า บางชนิดใช้ fiberglass ซึ่งก็สามารถลดสารก่อภูมิแพ้ในอากาศลง แต่สิ่งที่ควรคำนึงคืออัตราการไหลของอากาศต้องมากพอที่จะฟอกอากาศ ถ้าอัตราการไหลต่ำก็ไม่มีประโยชน์ ไม่ควรใช้โอโซนเพราะจะระคายเคือง เยื่อจมูก 2. Immunotherapy หรือภูมิคุ้มกันบำบัดเป็นการรักษาโรคภูมิแพ้ อีกแบบหนึ่ง นอกเหนือการใช้ยาลดอาการ หลักการรักษาเป็นการกระตุ้น ให้ร่างกายสร้างระบบภูมิคุ้มกันชนิด IgG โดยการให้ allergenic extrac ที่ได้ผลบวกจากการทดสอบทางผิวหนัง (skin prick test ในความเข้มข้น ต่ำๆ ในระยะแรก และค่อยๆ เพิ่มความเข้มข้นขึ้น หลังจากฉีดแต่ละครั้ง ผู้ป่วยควรอยู่ในสถานพยาบาลอย่างน้อยครึ่งชั่วโมง เพื่อเฝ้าระวังอาการ ไม่พึงประสงค์ที่อาจพบหลังฉีดสาร เช่น ผื่นแดงคัน อาการคัดจมูก แน่นหน้าอก คัดจมูกและน้ำมูกไหล อาการเหล่านี้มักจะเกิดภายใน 30 นาที
  • 47. หลังฉีด และระหว่างการรักษาไม่ควรรับประทานยา beta-block และยา monoamine oxidaseinhibitors (MAOIs) 3. การใช้ยารักษาและบรรเทาอาการของโรคภูมิแพ้ ได้แก่ ยาแก้แพ้กลุ่ม Antihistamin, ยาลดอาการคัดจมูกกลุ่ม Anticholinergic, ยาต้านการอักเสบสเตียรอยด์ (Steroid), Mast cell stabilizer Antihistamine ยาแก้แพ้เป็นยาหลักสำหรับการรักษาโรคภูมิแพ้ ยาแก้แพ้ใน ระยะเริ่มแรกจะมีผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ เช่น อาการปากแห้ง ทำให้ เกิดการง่วงซึมซึ่งเป็นผลเสียต่อการทำงาน การทำงานของยาแก้แพ้จะ ออกฤทธิ์ที่ H1-receptor คุณสมบัติของยาแก้แพ้มีดังนี้ • ลดอาการที่เกิดจากการหลั่งhistamineเช่นอาการจามคันจมูก น้ำมูกไหล • แต่ไม่ลดอาการของคัดจมูก • สามารถลดอาการคันตา และคันหู • ยาแก้แพ้ส่วนใหญ่ออกฤทธิ์เร็ว เนื่องจากผลข้างเคียงของยาแก้แพ้มีมากจึงได้มีการพัฒนายา แก้แพ้รุ่นใหม่ที่มีผลข้างเคียงต่ำ ขณะเดียวกันยังคงมีประสิทธิภาพ ซึ่งยา รุ่นใหม่ควรต้องมีประสิทธิภาพในการรักษาดังนี้ 1. เยื่อบุจมูกอักเสบจากโรคภูมิแพ้ทั้งชนิดเป็นทั้งปี Perrenial allergic rhinitis และเป็นเฉพาะฤดู seasonal allergic rhinitis 2. เยื่อบุตาอักเสบจากโรคภูมิแพ้ 3. ลมพิษ ยาที่จัดว่าได้ผลดีสำหรับลมพิษคือ cetirizine, terfena- dine ซึ่งออกฤทธิ์เร็วและลดอาการคันได้เป็นอย่างดี 4. ผิวหนังอักเสบแบบ Atopic dermatitis ยาที่ใช้ได้ผลดีคือ ceti- rizine, loratadine, ketotifen
  • 48. 5. โรคหืด asthma โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคหอบหืดที่มีอาการภูมิแพ้ มีอาการคัดจมูก และน้ำมูกไหล ผลข้างเคียงของยา 1. อาจจะทำให้ง่วง ซึม และน้ำหนักตัวเพิ่ม แต่อาการน้อยกว่า ยาแก้แพ้รุ่นแรกๆ 2. พิษต่อหัวใจ astemazole, terfenadine จะมีผลต่อการเต้นของ หัวใจ แต่ยาตัวอื่นไม่มีผลต่อการเต้นของหัวใจ ข้อระวังในการใช้ยา 1. ควรจะต้องระวังการใช้ยาอื่น เพราะอาจจะเกิดปฏิกิริยา ยาที่ต้องระวังได้แก่ erythromycin, ketoconazole, itraconazole 2. ไม่ควรใช้ยานี้ในคนตั้งครรภ์ 3. ไม่ควรใช้ยานี้ในคนที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 4. ควรจะระมัดระวังในคนที่เป็นโรคไต และโรคตับ ยาลดอาการคัดจมูก กลุ่ม Anticholinergic อาการคัดจมูกเป็นอาการที่สำคัญสำหรับผู้ป่วยที่เป็นหวัด หรือ เป็นโรคภูมิแพ้ การรักษาอาการคัดจมูกจะให้ยาแก้แพ้ แต่บางครั้งอาจจะ ไม่สามารถคุมอาการ จำเป็นต้องใช้ยาลดอาการคัดจมูก จัดเป็นยาในกลุ่ม Sympathomimetic คือ ออกฤทธิ์ต่อระบบ ประสาทอัตโนมัติ ทำให้เลือดไปที่เยื่อบุจมูกลดลง อาการคัดจมูกจึงดีขึ้น เนื่องจากยานี้ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติจึงอาจจะเกิดผลเสียต่อ ร่างกายดังนี้ • ทำให้ความดันโลหิตสูง ดังนั้นผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ก่อนจะใช้ยาควรจะปรึกษาแพทย์ • กระสับกระส่าย • มือสั่น
  • 49. • นอนไม่หลับ • ปวดศีรษะ • ปากแห้ง • มีอาการคั่งของปัสสาวะ • ใจสั่นมือสัน หัวใจเต้นผิดปกติ ยาลดอาการคัดจมูกอาจจะเป็นยาเดี่ยว เช่น Pseudoephedine หรืออาจจะเป็นยาที่ผสมกันร่วมกับยาแก้แพ้ เช่น Actifed®, Carinase®, ยาบางชนิดมียาลดไข้ร่วมด้วย เช่น Tiffy®, Decolgen® ดังนั้นการเลือกยา ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับอาการ เช่น หากเป็นหวัดมีไข้ร่วมกับอาการ น้ำมูกไหลอาจจะใช้พวก Tiffy®, Decolgen® หากเป็นภูมิแพ้ก็เลือกใช้ยา แก้แพ้อย่างเดียวหรือยาแก้แพ้ผสมยาลดน้ำมูก ยาลดอาการคัดจมูกมีในรูปแบบยาหยอดจมูก ซึ่งจะให้ผลเร็ว และมีผลข้างเคียงต่ำ แต่หากใช้บ่อยๆ อาจจะทำให้เกิดการการทนต่อยา (tolerance) ทำให้ต้องเพิ่มขนาดการใช้ยา ยาต้านการอักเสบสเตียรอยด์ (Steroid) เป็นที่มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคภูมิแพ้โดยยาจะออกฤทธิ์ ดังนี้ • ลดการอักเสบของเยื่อบุจมูก ทำให้เยื่อบุจมูกไม่บวม • ลดการหลั่งของน้ำมูก • ลดความไวต่อการถูกกระตุ้น • ลดการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น ยา steroid ที่ใช้รักษาภูมิแพ้มีสองรูปแบบ คือ ชนิดรับประทาน และชนิดหยอดจมูก เนื่องจากยานี้มีฤทธิ์ลดการอักเสบ และยังมีผลเสียของการกด ภูมิคุ้มกันอย่างมาก หากใช้นานๆ อาจจะเกิดผลเสียต่อร่างกาย การใช้ยา
  • 50. ในกลุ่มนี้มีข้อแนะนำดังนี้ • ให้รับประทานยาในช่วงสั้นไม่เกิน 3-7 วันเมื่อคุมอาการได้ จึงหยุดยา • ควรจะใช้ยานี้ในรายที่มีอาการมาก ไม่สามารถควบคุมด้วย ยาธรรมดา • ไม่ควรจะใช้ยาฉีด • การใช้ยานี้ในเด็กอาจจะทำให้เด็กโตช้า หากต้องใช้เป็นเวลา นาน ต้องปรึกษาแพทย์ การใช้ยา steroid ชนิดพ่น • ยานี้อาจจะใช้ร่วมกับยาแก้แพ้ชนิดกิน • ใช้ยาอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันการเกิดอาการของโรคภูมิแพ้ กำเริบ • หากใช้ต่อเนื่องอาจจะเกิดผลข้างเคียง เช่น อาการเคืองจมูก รูจมูกแห้ง คัดจมูก เลือดกำเดาไหล • ตัวยาที่สำคัญได้แก่ Triamcinolone, Beclomethasone. Budes- onide, Fluticasone ยากลุ่ม Mast cell Stabilizer เป็นที่ทราบกันเป็นอย่างดีแล้วว่าการที่มีอาการคัดจมูกในโรค ภูมิแพ้ เกิดจากการหลั่งของสารที่อยู่ในเซลล์ที่เรียกว่า Mast cell ยาที่ยับยั้ง การหลั่งก็จะช่วยลดอาการคัดจมูกได้ ยาที่ยั้บยั้งการหลั่งเรียก cromolyn ซึ่งมีในรูปแบบยาพ่น • ยานี้จะยับยั้งการหลั่งของสารเคมีที่เกิดจากภูมิแพ้ • ลดอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล จาม และอาการคันจมูก • ยานี้ไม่ลดอาการทางตา • ยานี้มีผลข้างเคียงต่ำ อาจจะทำให้เกิดจาม หรือแสบจมูก