SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ผลิตภัณฑ์ อาหารสุขภาพ (Functional Foods)
ดร.ไพโรจน์ หลวงพิทกษ์
ั
ภาควิ ชาเทคโนโลยีชีวภาพ
คณะวิ ทยาศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยมหิ ดล

การมีสุขภาพดีเป็ นสุดยอดปรารถนาของมนุษย์ ทุกคนตามคํากล่ าวที่ว่า ‘’ความไม่
มีโรคเป็ นลาภอันประเสริฐ” แต่ อย่ างไรก็ตาม ก็ไม่ มีใครหลุดรอดหรือหนีพ้นจากความจริง
ในเรื่ องของการเจ็บไข้ ได้ ป่วย เพราะการที่เรามีชีวิตและดําเนินกิจกรรมอย่ ูในสังคมเมือง
ยุ ค ใหม่ ท่ า มกลางสิ่ ง แวดล้ อมที่ ไ ม่ อ าจพดได้ เ ต็ ม ปากว่ า ดี พ ร้ อมและเหมาะสมที่ จ ะ
ู
ดํารงชีวิตอย่ ูได้ อย่ างปลอดภัย เพราะเมื่อลองพิจารณาไปรอบๆตัวก็จะพบว่ าว่ าเราต้ อง
ผจญอย่ ูท่ามกลางอากาศที่ปนเปื อนไปด้ วยสารพิษ ควันไอเสียจากรถยนต์ โรงงาน แหล่ ง
นําที่ปนเปื อนด้ วยขยะมลฝอย สารเคมี และของเสียจาก
ู
อุตสาหกรรมหรื อแม้ กระทั่งอาหารที่เราบริ โภคอยู่ทุกวันก็อาจจะไม่สะอาดปลอดภัยมี
เชื อจุลินทรี ย์ เชื อโรค สารพิษ หรื อสารก่อมะเร็ งปนเปื อนอยู่ซึ่งอาจทํ าให้ เกิ ดอันตรายหรื อโรค
ร้ ายแรงแก่ร่างกายได้ ดังนัน ผลกระทบที่เกิดขึนกับสุขภาพร่ างกายจากสภาวะแวดล้ อมที่เต็มไป
ด้ วยมลภาวะก็อาจก่อให้ เกิดความไม่สมดุลขึนในภาวะของร่างกายไปจนถึงการเจ็บป่ วย ซึงจะมาก
่
น้ อยแค่ไหนขึนอยู่กบความสมบูรณ์ของสุขภาพร่ างกาย วิถีการดําเนินชีวิต แนวทางปฏิบติในการ
ั
ั
บริโภคว่ามีความเสี่ยงต่อการได้ รับสารพิษและเชือจุลินทรี ย์ที่อาจก่อให้ เกิดโรคได้ มากน้ อยเพียงใด
ข้ อมูลที่ได้ จากการสํารวจพบว่าอัตราการเสียชีวิตของคนไทยจากโรคภัยที่สําคัญได้ แก่ โรคหัวใจ
และโรคมะเร็ ง ซึ่งล้ วนเป็ นปั ญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้ องโดยตรงต่อการบริ โภคที่ไม่สมดุล โดยเฉพาะ
คนที่อาศัยอยูในเมืองใหญ่
่
ปั จจุบนนี คนไทยยังประสบปั ญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการอยู่มาก โดยเฉพาะเด็กเล็ก
ั
และเด็กที่กําลังอยู่ในวัยเจริ ญเติบโตที่อาศัยอยู่ในชนบทที่ห่างไกลหรื อในชุมชนแออัด ที่ขาด
การศึก ษาหรื อ ไม่ ค่อ ยได้ รั บ การให้ คํ า แนะนํ า หรื อ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ในเรื่ อ งของความรู้ ทาง
โภชนาการ มักจะมีปัญหาเรื่ องภาวะทุพโภชนาการหรื อขาดสารอาหาร เช่น โปรตีน เกลือแร่ตางๆที่
่
จํ าเป็ น ได้ แก่ แคลเซี ย ม เหล็ก ไอโอดีน ซึ่ง เป็ นสาเหตุสํ า คัญของโรคต่า งๆที่ ทํ าให้ พัฒ นาการ
ทางด้ านร่ างกายและสมองช้ ากว่าปกติ ในขณะที่คนหนุ่มสาว และคนวัยทํ างานในสังคมเมือง
มักจะมีภาวะโภชนาการที่เกินดุลโดยได้ รับสารอาหาร พวกแปง โปรตีน และไขมัน ในปริ มาณที่
้
มากเกินความต้ องการของร่ างกาย อันเป็ นสาเหตุสําคัญที่ทําให้ เกิดโรคอ้ วน โรคเบาหวาน โรค
ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจขาดเลือด ซึงล้ วนเป็ นสาเหตุการเสียชีวิตติดอันดับต้ นๆของคนไทย
่
โดยโรคจากภาวะโภชนาการเกินดุลและความเครี ยดของสังคมคนเมืองประกอบกับมลภาวะต่างๆ
ในเมืองใหญ่นีมีความสําคัญทําให้ เกิดอาการแพ้ และความเจ็บป่ วยเรื อรัง ปั ญหาการนอนไม่หลับ
สุขภาพทรุ ดโทรม สมรรถภาพการทํางานตํ่าลง หรื อที่เลวร้ ายไปกว่านันอาจถึงขันเสียชีวิตอย่า
กระทันหันโดยไม่ทราบสาเหตุ จากผลกระทบทังหมดที่กล่าวมานีถ้ าเรามองในภาพรวมที่เกี่ยวโยง
ถึงเศรษฐกิจของประเทศชาติแล้ ว เราต้ องใช้ เงินจากรายได้ ทงส่วนบุคคล องค์กร และงบประมาณ
ั
ของประเทศในการรักษาพยาบาลและสังซือยาจากต่างประเทศปี ละหลายร้ อยหลายพันล้ านบาท
่
ทีเดียว
สิ่งที่จะช่วยให้ สขภาพร่ างกายของคนเราอยู่ในสภาวะสมดุลและปราศจากโรคภัยไข้ เจ็บ
ุ
นัน มาจากปั จจัยหลายอย่างได้ แก่ อาหารดีมีโภชนาการ อากาศดีไม่มีมลภาวะ อารมณ์ ดีไม่มี
ความเครี ยด และอนามัยดีไม่มีโรค ซึงถ้ าพิจารณาดูให้ ดีก็ไม่น่าจะยากต่อการปฏิบติเพื่อให้ ครบทัง
่
ั
4 ข้ อที่ได้ กล่าวมานี
ทุก วัน นี การพัฒ นาทางวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ข้ อมูลข่าวสารต่า งๆ นัน
รวดเร็ ว ฉับไว ทําให้ มีสื่อต่างๆมากมายให้ ความรู้ ทางด้ านการดูแลรักษาสุขภาพ และการบริ โภค
อย่ า งถูก สุข อนามัย ตามหลัก โภชนาการที่ ดี ซึ่ง สื่ อ เหล่า นี ก็ มี ทัง วิ ท ยุ โทรทัศ น์ หนัง สื อ พิ ม พ์
นิตยสาร อินเตอร์ เนต ยิ่งไปกว่านัน ในยุคต้ อนรับสหัสวรรษใหม่ที่มาถึงในปี ค.ศ. 2010 นี
เทคโนโลยีใหม่ๆด้ านการสื่อสารบนมือถือซึงเป็ นเทคโนโลยีแบบไร้ สายที่ไร้ ขีดจํากัดใหม่นี ก็เป็ นอีก
่
ทางเลือกหนึงที่จะสามารถติดตามข้ อมูลเกี่ยวกับเรื่ องสุขภาพและโภชนาการผ่านเครื อข่ายของเว็บ
่
ไซด์ต่างๆบนมือถือโดยทันที ณ จุดจําหน่ายสินค้ า แต่อย่างไรก็ตาม พวกเราก็มกจะพบว่า ทฤษฎี
ั
กับการปฏิบตินนไม่ค่อยจะตรงกันสักเท่าไหร่ เพราะแม้ จะรู้ ว่าการบริ โภคอาหารให้ ครบทังในแง่
ั ั
ปริ มาณและคุณภาพ ได้ แก่ โปรตีน คาร์ โบไฮเดรต ไขมัน แร่ ธาตุ วิตามิน และนํา ในอัตราส่วนที
พอเหมาะกัน เช่น การรับประทานผักผลไม้ ที่หลากหลายเพื่อให้ ได้ เส้ นใยอาหารที่มีประโยชน์ต่อ
ร่ างกาย สามารถส่งเสริ มให้ ระบบต่างๆของร่ างกายทังระบบย่อยและดูดซึมอาหารทํางานได้ ดีขึน
การดื่มนําสะอาดวันละ 6 ถึง 8 แก้ ว และพักผ่อนให้ พอเพียงจะช่วยให้ ร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรงมี
สุขภาพและความต้ านทานโรคดี แต่ในวิถี ชีวิ ตจริ ง เราในฐานะกลไกอันหนึ่ง ของสังคมกลับมี
ชีวิตประจําวันที่เร่งรี บ ยุงเหยิง น้ อยคนนักที่จะมีวิถีทางการบริ โภคที่ถกต้ องตามหลักโภชนบัญญัติ
่
ู
ซึงส่วนใหญ่แล้ วมักจะฝากท้ องไว้ กบอาหารจานด่วน หรื ออาหารสําเร็ จรูปพร้ อมรับประทานต่างๆที่
่
ั
เต็มไปด้ วยสารปรุงแต่งอาหาร (Food Additives) มีชีวิตอยู่ท่ามกลางมลภาวะ ความเครี ยด ความ
กดดันจากครอบครัวหน้ าที่การงาน รวมทังการพักผ่อนที่ไม่พอเพียง ซึงล้ วนแล้ วแต่เป็ นปั จจัยที่ไม่
่
สนับ สนุน ให้ เ รามี สุข ภาพที่ ดีไ ด้ ถึ ง แม้ ค วามจริ ง นี จะเป็ นที่ ร้ ู อยู่แก่ ใ จเราท่ า นทังหลายเราก็ ไ ม่
สามารถเปลี่ยนแปลงวิถีการดําเนินชีวิตดังกล่าวได้ ในเมื่อเราในฐานะมนุษย์ในสังคมเมืองยุคใหม่
ที่จําเป็ นต้ องดํารงชีพอยู่ภายใต้ วิถีชีวิตและสิ่งแวดล้ อมเช่นนี โดยไม่มีทางหลีกเลี่ยง หนทางที่ดี
ที่สดก็คือ การมีทางเลือกอื่นในการบริโภคเพื่อให้ มีสขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า
ุ
ุ
จากข้ อมูลของศูนย์วิจยธนาคารไทยพาณิชย์ระบุว่า ร้ อยละ 31 ของผู้บริ โภคในวัยทํางาน
ั
ในกรุ งเทพมหานครใช้ สินค้ าบํารุงสุขภาพ โดยในจํานวนนีนับเป็ นชายร้ อยละ 44 และหญิงร้ อยละ
55 ซึงสินค้ าบํารุงสุขภาพส่วนใหญ่ที่มีการใช้ กนมาก คือ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริ มเพื่อสุขภาพ หรื อ
่
ั
ผลิตภัณฑ์อาหารที่ใช้ ชื่อเรี ยกต่างๆกัน เช่น Functional Foods, Neutraceuticals, Pharma
Foods, Designer Foods เป็ นต้ น หรื อผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร ( Dietary Supplement Products)
เช่น วิตามิน ซุปไก่สกัดสําเร็ จรูป เกลือแร่ และผลิตภัณฑ์นม ซึงผู้บริโภคส่วนใหญ่ในกลุมนีจัดเป็ นผู้
่
่
ที่ค่อนข้ างห่วงใยในสุขภาพของตนเองและมีความพร้ อมทางเศรษฐกิจ จากข้ อมูลที่กล่าวมานี
ชีให้ เห็นว่าปั จจุบนผลิตภัณฑ์ อาหารเพื่อสุขภาพต่างๆเข้ ามามีบทบาทในวิถีชีวิตของคนไทยกลุ่ม
ั
หนึ่ง เป็ นอย่า งมาก ดัง นัน เราควรที่ จ ะได้ ทํ า ความรู้ จักและศึก ษาข้ อมูล ผลดี และผลเสียของ
ผลิตภัณฑ์ดงกล่าวนีก่อนที่จะนํามาบริโภค
ั
ผลิตภัณฑ์ อ าหารเสริ ม เพื่ อ สุขภาพ หรื อ ฟั ง ก์ ชัน นาลฟูดส์ ซึ่ง เป็ นคํา เรี ย กที่ ไ ด้ รับ การ
้
ยอมรับโดยทัวไปในหมู่นกวิชาการนานาชาติ มีความหมายว่า เป็ นผลิตภัณฑ์อาหารที่เมื่อบริ โภค
่
ั
เข้ า สู่ร่ า งกายแล้ ว จะสามารถทํ า หน้ า ที่ อื่ น ให้ กับร่ า งกาย นอกเหนื อ จากในเรื่ อ งของรสสัม ผัส
(Sensory Function) การให้ คณค่าทางอาหารที่จําเป็ นแก่ร่างกาย (Nutritive Function) และหน้ าที่
ุ
อื่นๆ ( Non-nutritive Physiological Functions ) ที่ได้ กล่าวมานีอาจสรุปได้ ดงนี
ั
1) ปรับปรุงระบบภูมิค้ มกันของร่างกาย
ุ
2) ปรับปรุงระบบและสภาพการทํางานของร่างกาย
3) ชลอการเสื่อมโทรมของอวัยวะต่างๆจากการสูงอายุ
4) ปองกันโรคต่างๆที่อาจเกิดขึนจากภาวะโภชนาการผิดปกติ
้
5) บําบัดหรื อลดอาการของโรคที่เกิดจากความผิดปกติของร่างกาย
สารประกอบที่ทําให้ เกิดหน้ าที่ดงกล่าวนี เรี ยกว่า Physiologically Active Components
ั
หรื อ Functional Ingredients ในประเทศญี่ปนซึงเป็ นประเทศที่มีการพัฒนาการทางผลิตภัณฑ์
ุ่ ่
เหล่า นี มาก่ อนประเทศอื่ น ได้ มีการกํ าหนดลักษณะจํ าเพาะของผลิตภัณฑ์ อาหาร Functional
Foods ไว้ ดงนี
ั
1) ต้ องมีสภาพทางกายภาพเป็ นผลิตภัณฑ์อาหารที่แท้ จริ งคือ ไม่อยู่ในรู ปแคปซูล หรื อ
เป็ นผงเหมือนยา และเป็ นอาหารที่ได้ หรื อดัดแปลงจากวัตถุดบตามธรรมชาติ
ิ
2) สามารถบริ โภคเป็ นอาหารได้ เป็ นประจํ าไม่มีข้อจํ ากัดเหมื อนยา คือ บริ โภคได้ ไม่
จํากัดปริมาณ เวลา และสถานที่
3) มีสวนประกอบที่ให้ ผลโดยตรงในการเสริ มการทํางานของระบบต่างๆ ในร่ างกายและ
่
ปองกันโรคต่างๆได้
้
จากลักษณะพิเศษทังสามที่ ได้ กล่าวมาแล้ วนี ทํ า ให้ ผลิตภัณฑ์ แต่ละชนิ ดที่ ให้ ผลดีต่อ
สุขภาพ จําเป็ นต้ องมีกรรมวิธีการผลิตที่ดีถกสุขอนามัย เป็ นที่ยอมรับและมีประสิทธิภาพในแง่ของ
ู
คุณภาพและความปลอดภัยโดยอยู่บนพืนฐานของข้ อมูลการวิจย เพราะต้ องมีการระบุชนิดและ
ั
ปริ มาณของสารประกอบที่ให้ ผลดีต่อสุขภาพร่ างกายของผู้บริ โภค Functional Ingredients ที่
สําคัญและนิยมใช้ กนอยูในปั จจุบนพอจะสรุปได้ ดงนี
ั ่
ั
ั
1) เส้ นใยอาหาร (Dietary Fiber) ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ได้ แก่ เครื่ องดื่มเสริ มเส้ นใยอาหาร
ผลิตภัณฑ์ขนมอบเสริ มเส้ นใยอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหารเช้ าธัญพืชเสริ มเส้ นใยอาหาร
เป็ นต้ น
2) นําตาลโอลิโกแซคคาไรด์ (Oligosaccharides) เช่น โอลิโกฟรุ กโตส โอลิโกแลคโตส
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ได้ แก่ เครื่ องดื่มเสริ มนําตาลโอลิโกแซคคาไรด์ ผลิตภัณฑ์ขนมอบ
ขนมขบเคียวเสริ มโอลิโกแซคคาไรด์ ผลิตภัณฑ์ลกกวาด และหมากฝรั่งเสริ มโอลิโก
ู
แซคคาไรด์ เป็ นต้ น
3) แบคทีเรี ยในกลุมแลคติค (Lactic acid bacteria) เช่น แบคทีเรี ยในกลุ่มแลคโตแบ
่
ซิลส (Lactobacillus sp.) บิฟิโดแบคทีเรี ยม (Bifidobacterium sp.) ตัวอย่าง
ั
ผลิ ต ภัณ ฑ์ ได้ แ ก่ ผลิ ต ภัณ ฑ์ น มเปรี ยว โยเกิ ร์ ต เสริ ม แบคที เ รี ย ในกลุ่ ม แลคติ ค
ผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตอัดเม็ดเสริมแบคทีเรี ยในกลุมแลคติค
่
4) กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้ อนในกลุ่มโอเมก้ า 3 (Omega 3 Polyunsaturated Fatty
Acid) เช่น นํามันปลา EPA (Eicosapentaenoic acid) DHA (Docosahexaenoic
acid) ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ได้ แก่ เครื่ องดื่ม ผลิตภัณฑ์ลกกวาดขนมหวาน ผลิตภัณฑ์
ู
ขนมอบ นมผงเสริมนํามันปลา
5) เกลือแร่ตาง ๆ เช่น แคลเซียม เหล็ก ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ได้ แก่ นมผง อาหารสําเร็ จรูป
่
เสริ มแคลเซียม
ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารหรื อ Dietary Supplemented Products ผลิตภัณฑ์ดงนีหมายถึง
ั
ผลิตภัณฑ์ ที่ใช้ รับประทานโดยตรง นอกเหนือจากการรับประทานอาหารหลักตามปกติ บางครัง
อาจเรี ยกว่าอาหารสุขภาพ (Health Foods) ตามคําจํากัดความและข้ อกําหนดของผลิตภัณฑ์
อาหารสุขภาพ โดยกระทรวงสาธารณสุขแห่งประเทศญี่ปน หรื อที่ชาวบ้ านมักเรี ยกกันติดปากว่า
ุ่
อาหารเสริ ม สามารถอยู่ใ นลัก ษณะเป็ นเกล็ด เม็ ด ผง นํ า แคปซูล ปลอกแข็ง แคปซูลนิ ่ม หรื
ลักษณะอื่นๆ โดยเป็ นสิ่งที่รับประทานเสริ มขึนที่มาทดแทนเท่านัน จะไม่นบเป็ นอาหารหลัก โดย
ั
ผลิตภัณฑ์เหล่านีจะเน้ นการปองกันโรคมากกว่าการรักษา และมุ่งสําหรับบุคคลทัวไปที่มีสขภาพ
้
่
ุ
ปกติไม่ใช่สําหรับผู้ป่วย ผลิตภัณฑ์ เสริ มอาหารมีทงชนิดที่เป็ นสารสังเคราะห์และชนิดที่เป็ นสาร
ั
สกัดธรรมชาติ ในระยะหลังแนวคิดเรื่ องการกลับสู่ธรรมชาติกําลังได้ นบความนิยมอย่างสูง ไม่ว่า
ั
จะเป็ นแนวทางของชีวจิตหรื อแนวคิดแมคโครไบโอติกส์ ทําให้ สารสกัดจากธรรมชาติได้ รับการตอบ
รับมากกว่าสารสังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ เสริ มอาหารได้ แก่ นํามันปลาแคปซูล เส้ นใยอาหารอัดเม็ด
หรื อผงสําหรับชง นํามันอีฟนิงพริ มโรส ใบแปะก๊ วยสกัด โสมสกัด เป็ นต้ น
เราจําเป็ นต้ องรั บประทานผลิตภัณฑ์ อาหารสุขภาพหรื อไม่ ?
คําถามดังกล่าวนีเป็ นคําถามในใจของหลายคน เนื่องด้ วยผลิตภัณฑ์ อาหารฟั งก์ ชันนาล
ฟูดส์ หรื อผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารจําพวก Health Foods นันมีมากมายหลายชนิดและโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารที่จําหน่ายและบริ โภคในลักษณะคล้ ายยา ส่วนใหญ่มีราคาอยู่ใน
เกณฑ์ ค่ อ นข้ า งแพงจนถึ ง แพงมาก คํ า ตอบข้ อ นี เป็ นที่ ถ กเถี ย งกัน อย่ า งมากในระหว่ า งกลุ่ม
ั
ั
นักวิชาการและแพทย์ ซึงต่างก็อ้างเหตุผลที่ น่าเชื่อถือพอๆกัน ก็ยงไม่สามารถหาข้ อสรุปที่แน่ชด
่
ได้ ส่วนผลิตภัณฑ์อาหารฟั งก์ ชนนาลฟูดส์ ถึงแม้ จะมีราคาถูกกว่าผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารจําพวก
ั
Health Foods อยู่มาก และมีข้อได้ เปรี ยบที่ว่า มีรูปแบบเหมือนผลิตภัณฑ์อาหารสําเร็ จรูปทัวๆไป
่
บริ โ ภคได้ โดยไม่จํากัดเวลาและสถานที่ นอกจากนี ยังมี องค์ ประกอบสํา คัญที่ เป็ น Functional
Ingredients ที่มีข้อมูลการวิจยยืนยันในเรื่ องประโยชน์ที่มีตอสุขภาพ ความสามารถในการป้ องกัน
ั
่
โรค และยังเป็ นการสร้ างทางเลือกใหม่ในตลาดอาหารสําเร็ จรู ปให้ ผ้ ูบริ โภคในการเลือกซือและ
บริ โภคผลิตภัณฑ์อาหาร
ปั จจุบน ได้ มีการเปิ ดตัวผลิตภัณฑ์อาหารในกลุมฟั งก์ชนนาลฟูดส์ลงสูตลาดในบ้ านเรากัน
ั
่
ั
่
มากขึน โดยเฉพาะในกลุ่มของผลิตภัณฑ์นม เช่น โยเกิร์ตเสริ มแบคทีเรี ยในกลุ่มแลคติก นมผง
เสริ มด้ วยนําตาลโอลิโกแซคคาไรด์ ผลิตภัณฑ์ซุปไก่สกัดเสริ มสมุนไพรและสารสกัดจากธรรมชาติ
ต่างๆ เครื่ องดื่มสมุนไพร และนําผลไม้ ที่มีเส้ นใยอาหารสูง เป็ นต้ น สําหรับตัวผู้เขียนเองมีแนวคิ
และทัศนคติที่ค่อนข้ างสนับสนุนในเรื่ องการบริ โภคผลิตภัณฑ์อาหารเสริ มสุขภาพ หรื อผลิตภัณฑ์
อาหารเสริ มเพื่อสุขภาพเหล่านี ภายใต้ เงื่อนไขที่ว่า ต้ องมีการให้ ความรู้ มีข้อมูลรายละเอียด และ
ผลพิสจน์ทางวิทยาศาสตร์ สนับสนุนในเรื่ องผลดีที่มีต่อสุขภาพร่ างกาย แต่อย่างไรก็ตาม การใช้
ู
หรื อการบริ โภคผลิตภัณฑ์ในกลุมนีควรจะอยู่ภายใต้ การแนะนําของผู้มีความรู้ เช่น แพทย์ เภสัชกร
่
นักวิทยาศาสตร์ การอาหาร หรื อนักโภชนาการ โดยมีองค์กรกลางหรื อหน่วยงานของรัฐเข้ ามาทํา
การควบคุมและคุ้มครองเพื่อประโยชน์และความปลอดภัยของผู้บริ โภค นอกจากนีแล้ วยังควรที่จะ
มีการส่งเสริ มให้ เกิดการวิจยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริ มเพื่อสุขภาพอย่างกว้ างขวาง เพื่อ
ั
สร้ างศักยภาพและความสามารถในการใช้ วตถุดิบภายในประเทศมาทําการผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร
ั
เสริ ม ต่ า งๆขึ นในประเทศ อัน จะเป็ นการลดการนํ า เข้ า และป องกั น เงิ น ตราไม่ ใ ห้ ไ หลออกสู่
้
ต่างประเทศ ซึ่งปี ๆหนึ่งเราต้ องสูญเสียเงินตราจํานวนไม่น้อยในการนําเข้ าผลิตภัณฑ์อาหารเสริ ม
เพื่อสุขภาพดังกล่าวนี

More Related Content

What's hot

ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรมแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)Khon Kaen University
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารtumetr
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดTANIKAN KUNTAWONG
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02oranuch_u
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)tumetr1
 

What's hot (20)

ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรมแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561
 
T guide 7
T    guide 7T    guide 7
T guide 7
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
บุคลิกภาพของผู้นำเสนอ
บุคลิกภาพของผู้นำเสนอบุคลิกภาพของผู้นำเสนอ
บุคลิกภาพของผู้นำเสนอ
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Marketing plan
Marketing planMarketing plan
Marketing plan
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
 
Genetic
GeneticGenetic
Genetic
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิด
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 

Viewers also liked

รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยาปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยาUtai Sukviwatsirikul
 
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (8)

รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยาปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
 
2556 q2 retail space movement
2556 q2 retail space movement2556 q2 retail space movement
2556 q2 retail space movement
 
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
 
Asthma guideline for children
Asthma guideline for childrenAsthma guideline for children
Asthma guideline for children
 
Secrets of success
Secrets of successSecrets of success
Secrets of success
 
CPG Hypertension 2551
CPG Hypertension 2551CPG Hypertension 2551
CPG Hypertension 2551
 
Aids medical-and-preventive-treatment-powerpoint-templates-standard
Aids medical-and-preventive-treatment-powerpoint-templates-standardAids medical-and-preventive-treatment-powerpoint-templates-standard
Aids medical-and-preventive-treatment-powerpoint-templates-standard
 

Similar to อาหารสุขภาพ 5

อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขVorawut Wongumpornpinit
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 14LIFEYES
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevtonginzone
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Vida Yosita
 
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่Batt Nives
 
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติกUtai Sukviwatsirikul
 
Presentation final project
Presentation final projectPresentation final project
Presentation final projectssusera76f74
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3Utai Sukviwatsirikul
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2iooido
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1iooido
 
Opp nan
Opp nanOpp nan
Opp nanpyopyo
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189Raveewin Bannsuan
 

Similar to อาหารสุขภาพ 5 (20)

Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
 
Fast food
Fast foodFast food
Fast food
 
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 
Presentation final project
Presentation final projectPresentation final project
Presentation final project
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 2
 
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
โครงงานครั้งที่ 2.pptx(แก้ 2) 1
 
Opp nan
Opp nanOpp nan
Opp nan
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

อาหารสุขภาพ 5

  • 1. ผลิตภัณฑ์ อาหารสุขภาพ (Functional Foods) ดร.ไพโรจน์ หลวงพิทกษ์ ั ภาควิ ชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิ ทยาศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยมหิ ดล การมีสุขภาพดีเป็ นสุดยอดปรารถนาของมนุษย์ ทุกคนตามคํากล่ าวที่ว่า ‘’ความไม่ มีโรคเป็ นลาภอันประเสริฐ” แต่ อย่ างไรก็ตาม ก็ไม่ มีใครหลุดรอดหรือหนีพ้นจากความจริง ในเรื่ องของการเจ็บไข้ ได้ ป่วย เพราะการที่เรามีชีวิตและดําเนินกิจกรรมอย่ ูในสังคมเมือง ยุ ค ใหม่ ท่ า มกลางสิ่ ง แวดล้ อมที่ ไ ม่ อ าจพดได้ เ ต็ ม ปากว่ า ดี พ ร้ อมและเหมาะสมที่ จ ะ ู ดํารงชีวิตอย่ ูได้ อย่ างปลอดภัย เพราะเมื่อลองพิจารณาไปรอบๆตัวก็จะพบว่ าว่ าเราต้ อง ผจญอย่ ูท่ามกลางอากาศที่ปนเปื อนไปด้ วยสารพิษ ควันไอเสียจากรถยนต์ โรงงาน แหล่ ง นําที่ปนเปื อนด้ วยขยะมลฝอย สารเคมี และของเสียจาก ู อุตสาหกรรมหรื อแม้ กระทั่งอาหารที่เราบริ โภคอยู่ทุกวันก็อาจจะไม่สะอาดปลอดภัยมี เชื อจุลินทรี ย์ เชื อโรค สารพิษ หรื อสารก่อมะเร็ งปนเปื อนอยู่ซึ่งอาจทํ าให้ เกิ ดอันตรายหรื อโรค ร้ ายแรงแก่ร่างกายได้ ดังนัน ผลกระทบที่เกิดขึนกับสุขภาพร่ างกายจากสภาวะแวดล้ อมที่เต็มไป ด้ วยมลภาวะก็อาจก่อให้ เกิดความไม่สมดุลขึนในภาวะของร่างกายไปจนถึงการเจ็บป่ วย ซึงจะมาก ่ น้ อยแค่ไหนขึนอยู่กบความสมบูรณ์ของสุขภาพร่ างกาย วิถีการดําเนินชีวิต แนวทางปฏิบติในการ ั ั บริโภคว่ามีความเสี่ยงต่อการได้ รับสารพิษและเชือจุลินทรี ย์ที่อาจก่อให้ เกิดโรคได้ มากน้ อยเพียงใด ข้ อมูลที่ได้ จากการสํารวจพบว่าอัตราการเสียชีวิตของคนไทยจากโรคภัยที่สําคัญได้ แก่ โรคหัวใจ และโรคมะเร็ ง ซึ่งล้ วนเป็ นปั ญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้ องโดยตรงต่อการบริ โภคที่ไม่สมดุล โดยเฉพาะ คนที่อาศัยอยูในเมืองใหญ่ ่
  • 2. ปั จจุบนนี คนไทยยังประสบปั ญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการอยู่มาก โดยเฉพาะเด็กเล็ก ั และเด็กที่กําลังอยู่ในวัยเจริ ญเติบโตที่อาศัยอยู่ในชนบทที่ห่างไกลหรื อในชุมชนแออัด ที่ขาด การศึก ษาหรื อ ไม่ ค่อ ยได้ รั บ การให้ คํ า แนะนํ า หรื อ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ในเรื่ อ งของความรู้ ทาง โภชนาการ มักจะมีปัญหาเรื่ องภาวะทุพโภชนาการหรื อขาดสารอาหาร เช่น โปรตีน เกลือแร่ตางๆที่ ่ จํ าเป็ น ได้ แก่ แคลเซี ย ม เหล็ก ไอโอดีน ซึ่ง เป็ นสาเหตุสํ า คัญของโรคต่า งๆที่ ทํ าให้ พัฒ นาการ ทางด้ านร่ างกายและสมองช้ ากว่าปกติ ในขณะที่คนหนุ่มสาว และคนวัยทํ างานในสังคมเมือง มักจะมีภาวะโภชนาการที่เกินดุลโดยได้ รับสารอาหาร พวกแปง โปรตีน และไขมัน ในปริ มาณที่ ้ มากเกินความต้ องการของร่ างกาย อันเป็ นสาเหตุสําคัญที่ทําให้ เกิดโรคอ้ วน โรคเบาหวาน โรค ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจขาดเลือด ซึงล้ วนเป็ นสาเหตุการเสียชีวิตติดอันดับต้ นๆของคนไทย ่ โดยโรคจากภาวะโภชนาการเกินดุลและความเครี ยดของสังคมคนเมืองประกอบกับมลภาวะต่างๆ ในเมืองใหญ่นีมีความสําคัญทําให้ เกิดอาการแพ้ และความเจ็บป่ วยเรื อรัง ปั ญหาการนอนไม่หลับ สุขภาพทรุ ดโทรม สมรรถภาพการทํางานตํ่าลง หรื อที่เลวร้ ายไปกว่านันอาจถึงขันเสียชีวิตอย่า กระทันหันโดยไม่ทราบสาเหตุ จากผลกระทบทังหมดที่กล่าวมานีถ้ าเรามองในภาพรวมที่เกี่ยวโยง ถึงเศรษฐกิจของประเทศชาติแล้ ว เราต้ องใช้ เงินจากรายได้ ทงส่วนบุคคล องค์กร และงบประมาณ ั ของประเทศในการรักษาพยาบาลและสังซือยาจากต่างประเทศปี ละหลายร้ อยหลายพันล้ านบาท ่ ทีเดียว สิ่งที่จะช่วยให้ สขภาพร่ างกายของคนเราอยู่ในสภาวะสมดุลและปราศจากโรคภัยไข้ เจ็บ ุ นัน มาจากปั จจัยหลายอย่างได้ แก่ อาหารดีมีโภชนาการ อากาศดีไม่มีมลภาวะ อารมณ์ ดีไม่มี ความเครี ยด และอนามัยดีไม่มีโรค ซึงถ้ าพิจารณาดูให้ ดีก็ไม่น่าจะยากต่อการปฏิบติเพื่อให้ ครบทัง ่ ั 4 ข้ อที่ได้ กล่าวมานี ทุก วัน นี การพัฒ นาทางวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ข้ อมูลข่าวสารต่า งๆ นัน รวดเร็ ว ฉับไว ทําให้ มีสื่อต่างๆมากมายให้ ความรู้ ทางด้ านการดูแลรักษาสุขภาพ และการบริ โภค อย่ า งถูก สุข อนามัย ตามหลัก โภชนาการที่ ดี ซึ่ง สื่ อ เหล่า นี ก็ มี ทัง วิ ท ยุ โทรทัศ น์ หนัง สื อ พิ ม พ์ นิตยสาร อินเตอร์ เนต ยิ่งไปกว่านัน ในยุคต้ อนรับสหัสวรรษใหม่ที่มาถึงในปี ค.ศ. 2010 นี เทคโนโลยีใหม่ๆด้ านการสื่อสารบนมือถือซึงเป็ นเทคโนโลยีแบบไร้ สายที่ไร้ ขีดจํากัดใหม่นี ก็เป็ นอีก ่ ทางเลือกหนึงที่จะสามารถติดตามข้ อมูลเกี่ยวกับเรื่ องสุขภาพและโภชนาการผ่านเครื อข่ายของเว็บ ่ ไซด์ต่างๆบนมือถือโดยทันที ณ จุดจําหน่ายสินค้ า แต่อย่างไรก็ตาม พวกเราก็มกจะพบว่า ทฤษฎี ั กับการปฏิบตินนไม่ค่อยจะตรงกันสักเท่าไหร่ เพราะแม้ จะรู้ ว่าการบริ โภคอาหารให้ ครบทังในแง่ ั ั ปริ มาณและคุณภาพ ได้ แก่ โปรตีน คาร์ โบไฮเดรต ไขมัน แร่ ธาตุ วิตามิน และนํา ในอัตราส่วนที
  • 3. พอเหมาะกัน เช่น การรับประทานผักผลไม้ ที่หลากหลายเพื่อให้ ได้ เส้ นใยอาหารที่มีประโยชน์ต่อ ร่ างกาย สามารถส่งเสริ มให้ ระบบต่างๆของร่ างกายทังระบบย่อยและดูดซึมอาหารทํางานได้ ดีขึน การดื่มนําสะอาดวันละ 6 ถึง 8 แก้ ว และพักผ่อนให้ พอเพียงจะช่วยให้ ร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรงมี สุขภาพและความต้ านทานโรคดี แต่ในวิถี ชีวิ ตจริ ง เราในฐานะกลไกอันหนึ่ง ของสังคมกลับมี ชีวิตประจําวันที่เร่งรี บ ยุงเหยิง น้ อยคนนักที่จะมีวิถีทางการบริ โภคที่ถกต้ องตามหลักโภชนบัญญัติ ่ ู ซึงส่วนใหญ่แล้ วมักจะฝากท้ องไว้ กบอาหารจานด่วน หรื ออาหารสําเร็ จรูปพร้ อมรับประทานต่างๆที่ ่ ั เต็มไปด้ วยสารปรุงแต่งอาหาร (Food Additives) มีชีวิตอยู่ท่ามกลางมลภาวะ ความเครี ยด ความ กดดันจากครอบครัวหน้ าที่การงาน รวมทังการพักผ่อนที่ไม่พอเพียง ซึงล้ วนแล้ วแต่เป็ นปั จจัยที่ไม่ ่ สนับ สนุน ให้ เ รามี สุข ภาพที่ ดีไ ด้ ถึ ง แม้ ค วามจริ ง นี จะเป็ นที่ ร้ ู อยู่แก่ ใ จเราท่ า นทังหลายเราก็ ไ ม่ สามารถเปลี่ยนแปลงวิถีการดําเนินชีวิตดังกล่าวได้ ในเมื่อเราในฐานะมนุษย์ในสังคมเมืองยุคใหม่ ที่จําเป็ นต้ องดํารงชีพอยู่ภายใต้ วิถีชีวิตและสิ่งแวดล้ อมเช่นนี โดยไม่มีทางหลีกเลี่ยง หนทางที่ดี ที่สดก็คือ การมีทางเลือกอื่นในการบริโภคเพื่อให้ มีสขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า ุ ุ จากข้ อมูลของศูนย์วิจยธนาคารไทยพาณิชย์ระบุว่า ร้ อยละ 31 ของผู้บริ โภคในวัยทํางาน ั ในกรุ งเทพมหานครใช้ สินค้ าบํารุงสุขภาพ โดยในจํานวนนีนับเป็ นชายร้ อยละ 44 และหญิงร้ อยละ 55 ซึงสินค้ าบํารุงสุขภาพส่วนใหญ่ที่มีการใช้ กนมาก คือ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริ มเพื่อสุขภาพ หรื อ ่ ั ผลิตภัณฑ์อาหารที่ใช้ ชื่อเรี ยกต่างๆกัน เช่น Functional Foods, Neutraceuticals, Pharma Foods, Designer Foods เป็ นต้ น หรื อผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร ( Dietary Supplement Products) เช่น วิตามิน ซุปไก่สกัดสําเร็ จรูป เกลือแร่ และผลิตภัณฑ์นม ซึงผู้บริโภคส่วนใหญ่ในกลุมนีจัดเป็ นผู้ ่ ่ ที่ค่อนข้ างห่วงใยในสุขภาพของตนเองและมีความพร้ อมทางเศรษฐกิจ จากข้ อมูลที่กล่าวมานี ชีให้ เห็นว่าปั จจุบนผลิตภัณฑ์ อาหารเพื่อสุขภาพต่างๆเข้ ามามีบทบาทในวิถีชีวิตของคนไทยกลุ่ม ั หนึ่ง เป็ นอย่า งมาก ดัง นัน เราควรที่ จ ะได้ ทํ า ความรู้ จักและศึก ษาข้ อมูล ผลดี และผลเสียของ ผลิตภัณฑ์ดงกล่าวนีก่อนที่จะนํามาบริโภค ั
  • 4. ผลิตภัณฑ์ อ าหารเสริ ม เพื่ อ สุขภาพ หรื อ ฟั ง ก์ ชัน นาลฟูดส์ ซึ่ง เป็ นคํา เรี ย กที่ ไ ด้ รับ การ ้ ยอมรับโดยทัวไปในหมู่นกวิชาการนานาชาติ มีความหมายว่า เป็ นผลิตภัณฑ์อาหารที่เมื่อบริ โภค ่ ั เข้ า สู่ร่ า งกายแล้ ว จะสามารถทํ า หน้ า ที่ อื่ น ให้ กับร่ า งกาย นอกเหนื อ จากในเรื่ อ งของรสสัม ผัส (Sensory Function) การให้ คณค่าทางอาหารที่จําเป็ นแก่ร่างกาย (Nutritive Function) และหน้ าที่ ุ อื่นๆ ( Non-nutritive Physiological Functions ) ที่ได้ กล่าวมานีอาจสรุปได้ ดงนี ั 1) ปรับปรุงระบบภูมิค้ มกันของร่างกาย ุ 2) ปรับปรุงระบบและสภาพการทํางานของร่างกาย 3) ชลอการเสื่อมโทรมของอวัยวะต่างๆจากการสูงอายุ 4) ปองกันโรคต่างๆที่อาจเกิดขึนจากภาวะโภชนาการผิดปกติ ้ 5) บําบัดหรื อลดอาการของโรคที่เกิดจากความผิดปกติของร่างกาย สารประกอบที่ทําให้ เกิดหน้ าที่ดงกล่าวนี เรี ยกว่า Physiologically Active Components ั หรื อ Functional Ingredients ในประเทศญี่ปนซึงเป็ นประเทศที่มีการพัฒนาการทางผลิตภัณฑ์ ุ่ ่ เหล่า นี มาก่ อนประเทศอื่ น ได้ มีการกํ าหนดลักษณะจํ าเพาะของผลิตภัณฑ์ อาหาร Functional Foods ไว้ ดงนี ั 1) ต้ องมีสภาพทางกายภาพเป็ นผลิตภัณฑ์อาหารที่แท้ จริ งคือ ไม่อยู่ในรู ปแคปซูล หรื อ เป็ นผงเหมือนยา และเป็ นอาหารที่ได้ หรื อดัดแปลงจากวัตถุดบตามธรรมชาติ ิ 2) สามารถบริ โภคเป็ นอาหารได้ เป็ นประจํ าไม่มีข้อจํ ากัดเหมื อนยา คือ บริ โภคได้ ไม่ จํากัดปริมาณ เวลา และสถานที่ 3) มีสวนประกอบที่ให้ ผลโดยตรงในการเสริ มการทํางานของระบบต่างๆ ในร่ างกายและ ่ ปองกันโรคต่างๆได้ ้ จากลักษณะพิเศษทังสามที่ ได้ กล่าวมาแล้ วนี ทํ า ให้ ผลิตภัณฑ์ แต่ละชนิ ดที่ ให้ ผลดีต่อ สุขภาพ จําเป็ นต้ องมีกรรมวิธีการผลิตที่ดีถกสุขอนามัย เป็ นที่ยอมรับและมีประสิทธิภาพในแง่ของ ู คุณภาพและความปลอดภัยโดยอยู่บนพืนฐานของข้ อมูลการวิจย เพราะต้ องมีการระบุชนิดและ ั ปริ มาณของสารประกอบที่ให้ ผลดีต่อสุขภาพร่ างกายของผู้บริ โภค Functional Ingredients ที่ สําคัญและนิยมใช้ กนอยูในปั จจุบนพอจะสรุปได้ ดงนี ั ่ ั ั
  • 5. 1) เส้ นใยอาหาร (Dietary Fiber) ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ได้ แก่ เครื่ องดื่มเสริ มเส้ นใยอาหาร ผลิตภัณฑ์ขนมอบเสริ มเส้ นใยอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหารเช้ าธัญพืชเสริ มเส้ นใยอาหาร เป็ นต้ น 2) นําตาลโอลิโกแซคคาไรด์ (Oligosaccharides) เช่น โอลิโกฟรุ กโตส โอลิโกแลคโตส ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ได้ แก่ เครื่ องดื่มเสริ มนําตาลโอลิโกแซคคาไรด์ ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ขนมขบเคียวเสริ มโอลิโกแซคคาไรด์ ผลิตภัณฑ์ลกกวาด และหมากฝรั่งเสริ มโอลิโก ู แซคคาไรด์ เป็ นต้ น 3) แบคทีเรี ยในกลุมแลคติค (Lactic acid bacteria) เช่น แบคทีเรี ยในกลุ่มแลคโตแบ ่ ซิลส (Lactobacillus sp.) บิฟิโดแบคทีเรี ยม (Bifidobacterium sp.) ตัวอย่าง ั ผลิ ต ภัณ ฑ์ ได้ แ ก่ ผลิ ต ภัณ ฑ์ น มเปรี ยว โยเกิ ร์ ต เสริ ม แบคที เ รี ย ในกลุ่ ม แลคติ ค ผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตอัดเม็ดเสริมแบคทีเรี ยในกลุมแลคติค ่ 4) กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้ อนในกลุ่มโอเมก้ า 3 (Omega 3 Polyunsaturated Fatty Acid) เช่น นํามันปลา EPA (Eicosapentaenoic acid) DHA (Docosahexaenoic acid) ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ได้ แก่ เครื่ องดื่ม ผลิตภัณฑ์ลกกวาดขนมหวาน ผลิตภัณฑ์ ู ขนมอบ นมผงเสริมนํามันปลา 5) เกลือแร่ตาง ๆ เช่น แคลเซียม เหล็ก ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ได้ แก่ นมผง อาหารสําเร็ จรูป ่ เสริ มแคลเซียม ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารหรื อ Dietary Supplemented Products ผลิตภัณฑ์ดงนีหมายถึง ั ผลิตภัณฑ์ ที่ใช้ รับประทานโดยตรง นอกเหนือจากการรับประทานอาหารหลักตามปกติ บางครัง อาจเรี ยกว่าอาหารสุขภาพ (Health Foods) ตามคําจํากัดความและข้ อกําหนดของผลิตภัณฑ์ อาหารสุขภาพ โดยกระทรวงสาธารณสุขแห่งประเทศญี่ปน หรื อที่ชาวบ้ านมักเรี ยกกันติดปากว่า ุ่ อาหารเสริ ม สามารถอยู่ใ นลัก ษณะเป็ นเกล็ด เม็ ด ผง นํ า แคปซูล ปลอกแข็ง แคปซูลนิ ่ม หรื ลักษณะอื่นๆ โดยเป็ นสิ่งที่รับประทานเสริ มขึนที่มาทดแทนเท่านัน จะไม่นบเป็ นอาหารหลัก โดย ั ผลิตภัณฑ์เหล่านีจะเน้ นการปองกันโรคมากกว่าการรักษา และมุ่งสําหรับบุคคลทัวไปที่มีสขภาพ ้ ่ ุ ปกติไม่ใช่สําหรับผู้ป่วย ผลิตภัณฑ์ เสริ มอาหารมีทงชนิดที่เป็ นสารสังเคราะห์และชนิดที่เป็ นสาร ั สกัดธรรมชาติ ในระยะหลังแนวคิดเรื่ องการกลับสู่ธรรมชาติกําลังได้ นบความนิยมอย่างสูง ไม่ว่า ั จะเป็ นแนวทางของชีวจิตหรื อแนวคิดแมคโครไบโอติกส์ ทําให้ สารสกัดจากธรรมชาติได้ รับการตอบ รับมากกว่าสารสังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ เสริ มอาหารได้ แก่ นํามันปลาแคปซูล เส้ นใยอาหารอัดเม็ด หรื อผงสําหรับชง นํามันอีฟนิงพริ มโรส ใบแปะก๊ วยสกัด โสมสกัด เป็ นต้ น
  • 6. เราจําเป็ นต้ องรั บประทานผลิตภัณฑ์ อาหารสุขภาพหรื อไม่ ? คําถามดังกล่าวนีเป็ นคําถามในใจของหลายคน เนื่องด้ วยผลิตภัณฑ์ อาหารฟั งก์ ชันนาล ฟูดส์ หรื อผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารจําพวก Health Foods นันมีมากมายหลายชนิดและโดยเฉพาะ อย่างยิ่งผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารที่จําหน่ายและบริ โภคในลักษณะคล้ ายยา ส่วนใหญ่มีราคาอยู่ใน เกณฑ์ ค่ อ นข้ า งแพงจนถึ ง แพงมาก คํ า ตอบข้ อ นี เป็ นที่ ถ กเถี ย งกัน อย่ า งมากในระหว่ า งกลุ่ม ั ั นักวิชาการและแพทย์ ซึงต่างก็อ้างเหตุผลที่ น่าเชื่อถือพอๆกัน ก็ยงไม่สามารถหาข้ อสรุปที่แน่ชด ่ ได้ ส่วนผลิตภัณฑ์อาหารฟั งก์ ชนนาลฟูดส์ ถึงแม้ จะมีราคาถูกกว่าผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารจําพวก ั Health Foods อยู่มาก และมีข้อได้ เปรี ยบที่ว่า มีรูปแบบเหมือนผลิตภัณฑ์อาหารสําเร็ จรูปทัวๆไป ่ บริ โ ภคได้ โดยไม่จํากัดเวลาและสถานที่ นอกจากนี ยังมี องค์ ประกอบสํา คัญที่ เป็ น Functional Ingredients ที่มีข้อมูลการวิจยยืนยันในเรื่ องประโยชน์ที่มีตอสุขภาพ ความสามารถในการป้ องกัน ั ่ โรค และยังเป็ นการสร้ างทางเลือกใหม่ในตลาดอาหารสําเร็ จรู ปให้ ผ้ ูบริ โภคในการเลือกซือและ บริ โภคผลิตภัณฑ์อาหาร ปั จจุบน ได้ มีการเปิ ดตัวผลิตภัณฑ์อาหารในกลุมฟั งก์ชนนาลฟูดส์ลงสูตลาดในบ้ านเรากัน ั ่ ั ่ มากขึน โดยเฉพาะในกลุ่มของผลิตภัณฑ์นม เช่น โยเกิร์ตเสริ มแบคทีเรี ยในกลุ่มแลคติก นมผง เสริ มด้ วยนําตาลโอลิโกแซคคาไรด์ ผลิตภัณฑ์ซุปไก่สกัดเสริ มสมุนไพรและสารสกัดจากธรรมชาติ ต่างๆ เครื่ องดื่มสมุนไพร และนําผลไม้ ที่มีเส้ นใยอาหารสูง เป็ นต้ น สําหรับตัวผู้เขียนเองมีแนวคิ และทัศนคติที่ค่อนข้ างสนับสนุนในเรื่ องการบริ โภคผลิตภัณฑ์อาหารเสริ มสุขภาพ หรื อผลิตภัณฑ์ อาหารเสริ มเพื่อสุขภาพเหล่านี ภายใต้ เงื่อนไขที่ว่า ต้ องมีการให้ ความรู้ มีข้อมูลรายละเอียด และ ผลพิสจน์ทางวิทยาศาสตร์ สนับสนุนในเรื่ องผลดีที่มีต่อสุขภาพร่ างกาย แต่อย่างไรก็ตาม การใช้ ู หรื อการบริ โภคผลิตภัณฑ์ในกลุมนีควรจะอยู่ภายใต้ การแนะนําของผู้มีความรู้ เช่น แพทย์ เภสัชกร ่ นักวิทยาศาสตร์ การอาหาร หรื อนักโภชนาการ โดยมีองค์กรกลางหรื อหน่วยงานของรัฐเข้ ามาทํา การควบคุมและคุ้มครองเพื่อประโยชน์และความปลอดภัยของผู้บริ โภค นอกจากนีแล้ วยังควรที่จะ มีการส่งเสริ มให้ เกิดการวิจยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริ มเพื่อสุขภาพอย่างกว้ างขวาง เพื่อ ั สร้ างศักยภาพและความสามารถในการใช้ วตถุดิบภายในประเทศมาทําการผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร ั เสริ ม ต่ า งๆขึ นในประเทศ อัน จะเป็ นการลดการนํ า เข้ า และป องกั น เงิ น ตราไม่ ใ ห้ ไ หลออกสู่ ้ ต่างประเทศ ซึ่งปี ๆหนึ่งเราต้ องสูญเสียเงินตราจํานวนไม่น้อยในการนําเข้ าผลิตภัณฑ์อาหารเสริ ม เพื่อสุขภาพดังกล่าวนี