SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน เรียนรู้ระบบรับตรงใหม่ ก้าวไกลไปพร้อม TCAS
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1นายธิปไตย ชัยลักษณ์สกุล เลขที่ 27 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิก
1นายธิปไตย ชัยลักษณ์สกุล เลขที่ 27
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
เรียนรู้ระบบรับตรงใหม่ ก้าวไกลไปพร้อม TCAS
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
First step to TCAS
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายธิปไตย ชัยลักษณ์สกุล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ณ ปัจจุบันนี้การศึกษาในประเทศไทยพัฒนาก้าวหน้าเรื่อยมามากหมายหลายรูปแบบ ไม่เว้นแม้กระทั่งระบบ
การรับนิสิตและนักศึกษาใหม่เข้าสถาบันอุดมศึกษาที่เปลี่ยนไปจากระบบเดิม ซึ่งผู้จัดโครงงานเองก็ยังเป็นนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ต้องสอบคัดเลือกในระบบการรับนิสิตและนักศึกษาใหม่นี้ จึงเกิดความสนใจและต้องการทราบ
เกี่ยวกับระบบการรับนิสิตและนักศึกษาใหม่นี้ ว่ามีข้อกาหนด ระเบียบการ คุณสมบัติ เกณฑ์การรับสมัคร และ
ระยะเวลาในการรับสมัครในระบบการรับนิสิตและนักศึกษาใหม่เข้าสถาบันอุดมศึกษานี้อย่างไรบ้าง เพื่อเตรียมตัวและ
เตรียมพร้อมสาหรับการเข้าร่วมในการรับสมัครนี้ เพราะในอดีตการรับนิสิตและนักศึกษาใหม่เข้าสถาบันอุดมศึกษานั้น
ต้องใช้ระบบแอดมิชชั่น แอดมิชชั่น หรือ Admission ชื่อเต็มๆว่า ระบบกลางคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาใน
สถาบันอุดมศึกษา (Central University Admissions System: CUAS) ดูแค่ชื่อก็น่าจะทราบกันดีแล้วว่าแอดมิสชั่น
คือระบบสอบกลางที่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ที่มีความต้องการจะศึกษาต่อในระดับ
มหาวิทยาลัย ต้องสอบ แล้วนาคะแนนสอบที่ได้มายื่นเลือกคณะกันอีกที ระบบแอดมิชชั่นนี้ บริหารงานโดย สถาบัน
ทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อว่า สทศ. โดยที่หน้าที่ของสทศ. คือพัฒนาข้อสอบ
เพื่อวัดและประเมินมาตรฐานการศึกษา วัดความรู้ความสามารถของผู้เข้าสอบแต่ละคน สทศ.จะรับผิดชอบการ
ประเมินผลด้านการศึกษาให้กับนักเรียนที่เรียนหลักสูตรไทย ในประเทศไทย หลายครั้งด้วยกันคือ ป.3, ป.6, ม.3, และ
ม.6 แต่ในการสอบแอดมิชชั่นนั้นจะนับกันเฉพาะ การสอบวัดผลในระดับชั้น ม.6 เท่านั้น ยังมีอีก 1 องค์การที่จะไม่
กล่าวถึงก็คงจะไม่ได้ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นผู้วางมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาให้กับโรงเรียนต่างๆใน
ประเทศไทย เรียกง่ายๆว่า กระทรวงศึกษาเป็นผู้กาหนดหลักสูตร โรงเรียนมีหน้าที่สอนนักเรียนตามหลักสูตร และ
สทศ.มีหน้าที่สอบวัดผลโรงเรียนและนักเรียนแต่ละคนตามหลักสูตรนั่นเอง ซึ่นวิชาที่จะต้องสอบประกอบไปด้วย 1.
O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน ในตอนนี้จะพูดถึง
3
การสอบ O-NET ในระดับชั้น ม.6 เพียงอย่างเดียว แนวคิดของ O-NET คือ การวัดผลของโรงเรียนแต่ละโรงเรียนว่า
ได้สอนนักเรียนของตัวเองตามหลักสูตรกระทรวงขนาดไหน ข้อสอบ O-NET นี้จะเป็นข้อสอบง่ายๆที่วัดเฉพาะพื้นฐาน
จริงๆเท่านั้น 2. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือมีชื่อเป็นภาษาไทยสั้นๆว่า การสอบความถนัดทั่วไป ซึ่งจะเน้น
เนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ รวมไปถึงการสื่อสารด้วย
ภาษาอังกฤษ ข้อสอบ GAT นี้จะมีความซับซ้อนมากกว่าความยาก 3. PAT (Professional Aptitude Test) หรือมีชื่อ
เป็นภาษาไทยสั้นๆว่า การสอบความถนัดเฉพาะด้าน/วิชาการ เป็นข้อสอบที่ยากที่สุดในสามตัวที่พูดถึง วิชาเฉพาะ
ด้านที่มีสอบคือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ พื้นฐานวิศวกรรม พื้นฐานสถาปัตยกรรม พื้นฐานความเป็นครู และวิชา
ด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ การสอบแอดมิชชั่นจะสอบรวมกันทีเดียวเลย แล้วจะนาคะแนนของวิชา
ไหนมายื่นบ้างก็เป็นเรื่องของแต่ละคณะจะกาหนดกันเอาเอง รวมกับ เกรดเฉลี่ยในระดับชั้นมัธยมปลาย (GPAX)
มาร่วมคานวณด้วย โดยน้าหนักของคะแนนสอบแต่ละส่วนจะแตกต่างกันไปตามมหาวิทยาลัยและคณะ การคิด
คะแนนจึงค่อนข้างยุ่งยาก เมื่อนาคะแนนทั้งหมดสี่ส่วนมารวมกันเป็นคะแนนสุดท้าย แล้วนาคะแนนสุดท้ายที่ว่านี้มา
ทาการยื่นเลือกคณะอีกที จะมีข้อยกเว้นเกี่ยวกับการแอดมิชชั่นอยู่บ้าง เนื่องจากมหาวิทยาลัยหลายๆที่ไม่มีความ
เชื่อมั่นในการสอบแอดมิชชั่น จึงได้จัดการสอบตรงขึ้น โดยเฉพาะคณะทางด้านแพทย์ส่วนใหญ่จะรับเฉพาะการสอบ
ตรง ไม่ค่อยจะได้เห็นคณะด้านแพทย์ที่รับเด็กที่ผ่านการสอบแอดมิชชั่นเท่าไหร่กันนัก และยังเปลี่ยนแปลงไปมาอย่าง
รวดเร็วด้วย บางมหาวิทยาลัยรับผ่านแอดมิชชั่นปีที่แล้วแต่ไม่รับผ่านแอดมิชชั่นปีนี้ ต้องติดตามข่าวกันอย่างละเอียดปี
ต่อปีกันเลยทีเดียว ตรงกันข้ามกับการสอบตรงซึ่งรับทุกปี ข้อดี ทาให้เด็กตั้งใจเรียนในโรงเรียนมากขึ้น เพราะเอา
คะแนนในโรงเรียนมาคิดด้วย ทาให้เด็กไม่พึ่งโรงเรียนกวดวิชามากนัก เพราะต้องมาเรียนเอาคะแนนในห้องเรียนมาก
ขึ้น มีการสอบได้หลายครั้ง สามารถทดลองสอบได้ตั้งแต่ ม.5 ทาให้เด็กไม่เครียดจนเกินไป ถ้าได้คะแนนไม่ดียัง
สามารถแก้ตัวได้ อาจจะเรียกได้ว่าไปลองข้อสอบได้ สอบแล้วสามารถนาคะแนนที่ได้มาเลือก มหาวิทยาลัย/คณะ
ตามที่เราต้องการได้ในภายหลัง ไม่ต้องเลือกก่อนสอบ ทาให้โอกาสที่เราจะเลือกคณะที่เหมาะสมกับคะแนนได้
แม่นยาขึ้น ข้อเสีย คะแนนในโรงเรียนยังไม่มีมาตรฐานเดียวกัน ไม่มีเกณฑ์ใดพิสูจน์ได้ว่าเกรด 3.50 ของนักเรียน ร.ร.
เตรียมอุดม จะเก่งน้อยกว่า คนที่ได้เกรด 4.00 ของ ร.ร.วัดบ้านไกลปืนเที่ยง เด็กเรียนกวดวิชามากขึ้น เพราะสอบ
แล้วคะแนนน้อย ก็จะเรียนซ้าไปเรื่อยๆ แถมสอบได้ตั้งแต่ ม.5 หรือสอบตั้งแต่ ม.6 เทอมต้น ซึ่งยังไม่มีความรู้
ครอบคลุม เด็กก็ต้องพึ่งที่เรียนอย่างเลี่ยงไม่ได้ ไม่ได้แก้ระบบที่อ้างว่า ระบบ Admission จะทาให้เด็กเรียน
โรงเรียนกวดวิชาน้อยลงแต่อย่างใด
เด็กออกกลางคันมากมายเพราะคะแนนที่ได้มาก จริงๆไม่ได้ตรงกับความต้องการของคณะที่เราเรียน ทาให้เรียน
ต่อไปไม่ได้ เพราะความรู้ไม่ถึง (ปัญหาเกิดกับคณะด้านวิทย์เป็นส่วนใหญ่)
มหาวิทยาลัยบางแห่ง บางคณะ ยังไม่ยอมรับเด็กจากระบบ Admission จึงทาการเปิดสอบตรงเอง หรือสร้างเงื่อนไข
ของตัวเองขึ้น เพื่อคัดคุณภาพเด็ก ยิ่งทาให้เด็กต้องสอบเพิ่มเพื่อเข้าคณะและมหาวิทยาลัยที่ต้องการ สิ่งเหล่านี้เป็น
ผลจากการคัดเลือกเด็กเข้าเรียนต่อระดับอุดมศึกษาที่ยังไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งยังใช้อยู่ในปัจจุบัน
มีความเหลือมล้าทางด้านฐานะ ระบบนี้เก็บเงินมากกว่าระบบ Entrance แบบเดิมมาก แถมใครมีเงินมากก็สามารถ
เลือกสอบได้มาก มีโอกาสมากกว่าเด็กที่มีเงินน้อย ที่ไม่สามารถจ่ายเงินก้อนในการสอบหลายๆครั้งได้ ทาให้เกิดความ
ไม่เท่าเทียม
ปัญหาเหลื่อมล้าทางสังคม เพราะพึ่งระบบ Computer มากจนเกินไป ระบบใช้งานยากและมีปัญหาตลอดเวลา ทาให้
เด็กในชนบทที่ห่างไกลที่ไม่มีระบบ internet ใช้เสียเปรียบ เพราะเกือบทุกๆกิจกรรมต้องทาผ่านระบบ internet
ทั้งนั้น
ปัญหาเรื่องการกระจายข้อมูล ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพราะมีการสอบหลายครั้ง ปัญหาเลยตามมาว่าเด็ก
เข้าไม่ถึงข้อมูล ระบบยังไม่มีมาตรฐาน ยังเปลี่ยนแปลงปรับปรุงรูปแบบการสอบอยู่ตลอดเวลา รุ่นไหนโชคดีระบบเริ่ม
เสถียรก็ดีไป บางรุ่นโชคร้ายสอบเป็นรุ่นแรกไม่มีความพร้อมช่องโหว่เพียบก็ต้องปลงกันไป ก็ขึ้นกับทางกระทรวงว่า
จะปรับเปลี่ยนอะไรอีกบ้าง เด็กๆกลายเป็นหนูทดลองยาของรัฐบาล ดังนั้นเมื่อกระทรวงศึกษาธิการมองเห็นข้อเสีย
4
ของระบบแอดมิชชั่นมากกว่าข้อดีจึงได้กาหนดระบบการรับนิสิตและนักศึกษาใหม่โดยใช้ระบบ TCAS ที่จะมาช่วยอุด
รอยรั่วข้อเสียของระบบแอดมิชชั่น
วัตถุประสงค์
1 เพื่อกระจายข่าวสารให้นักเรียนที่ต้องศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
2 เพื่อให้สามารถวางแผนการศึกษาและการเรียนต่อได้อย่างเป็นระบบ
3 เพื่อให้รู้และติดตามข่าวสารได้ครบถ้วนรวดเร็ว
4 เพื่อให้ครุ ผู้ปกครองสามรถช่วยเหลือและสนับสนุนนักเรียนหรือบุตรหลานได้ถูกวิธี
ขอบเขตโครงงาน
1 ขั้นตอนของระบบTCAS
2 หลักการระบบTCAS
3 การจัดสอบในระบบTCAS
หลักการและทฤษฎี
TCAS โดยย่อมาจาก Thai University Central Admission System เป็นการสอบรับนักศึกษาใหม่เข้าเรียน
โดยแต่ละรอบก็จะมีเงื่อนไขกาหนดที่ต่างกันออกไป ถ้าสมัครรอบไหนแล้วก็จะไม่สามรถสมัครรอบอื่นได้หรือไม่ก็ต้อง
สละสิทธิ์ในรอบนั้นๆก่อน
แบ่งเป็น 5 รอบด้วยกัน คือ
รอบที่ 1 : การรับด้วยแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โดยไม่มีการสอบข้อเขียน
ช่วงวันเปิดรับสมัคร และวันคัดเลือก :
ครั้งที่ 1 : 1 ตุลาคม 2560 – 30 พฤศจิกายน 2560
ประกาศผล : 22 ธันวาคม 2560
ครั้งที่ 2 : 22 ธันวาคม 2560 – 28 กุมภาพันธ์ 2561
ประกาศผล : 26 มีนาคม 2561
สาหรับ : น้องๆ นักเรียนทั่วไป, นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ, นักเรียนโควตา, นักเรียนเครือข่าย
ยื่นสมัครและคัดเลือกโดย : มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง
รอบที่ 2 : การรับแบบโควตาที่มีการสอบปฏิบัติและข้อเขียน
ช่วงวันเปิดรับสมัคร และวันคัดเลือก : ธันวาคม 2560 – มีนาคม 2561
ประกาศผล : 8 พฤษภาคม 2561
สาหรับ : น้องๆ นักเรียนที่อยู่ในเขตพื้นที่หรือภาค, นักเรียนในโรงเรียนเครือข่าย, นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ
ยื่นสมัครและคัดเลือกโดย : มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง
รอบที่ 3 : การรับตรงร่วมกัน
ช่วงวันเปิดรับสมัคร และวันคัดเลือก : 9 – 13 พฤษภาคม 2561
ประกาศผล : 8 มิถุนายน 2561
5
สาหรับ : น้องๆ นักเรียนที่อยู่ในโครงการ กสพท. (กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย), โครงการอื่นๆ ตามที่
มหาวิทยาลัยกาหนด
การเลือกสอบ : สามารถสมัครสอบและเลือกได้ 4 สาขาวิชา โดยไม่มีลาดับ หมายความว่า 4 สาขาวิชา หรือ 4
มหาวิทยาลัยที่สมัครไปนั้นน้องๆ มีโอกาสผ่านการคัดเลือกทั้งหมด.. (แล้วค่อยเลือกมหาวิทยาลัยที่ต้องการศึกษาต่อใน
เคลียริ่งเฮาส์ของรอบที่ 3 อีกครั้ง) โดยที่จะมีการจัดสอบร่วมกันในเวลาเดียวกัน ส่วนเกณฑ์การคัดเลือกแต่ละ
มหาวิทยาลัยเป็นผู้กาหนด
ยื่นสมัครผ่าน : ทปอ. (ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย) หลังจากนั้นจะส่งข้อมูลผู้สมัครไปให้มหาวิทยาลัยเป็นผู้
ประมวลคัดเลือก
รอบที่ 4 : การรับแบบ Admission
ช่วงวันเปิดรับสมัคร และวันคัดเลือก : 6 – 10 มิถุนายน 2561
ประกาศผล : 13 กรฎาคม 2561
สาหรับ : น้องๆ นักเรียนทั่วไป
การเลือกสอบ : สามารถสมัครสอบและเลือกได้ 4 สาขาวิชา โดยมีลาดับ (เหมือนแอดมิชชั่นในปีที่ผ่านมา) แต่ใช้
เกณฑ์ค่าน้าหนักที่ประกาศล่วงหน้า 3 ปี
ยื่นสมัครผ่าน : ทปอ. (ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย)
รอบที่ 5 : การรับตรงแบบอิสระ (รอบเก็บตก)
ช่วงวันเปิดรับสมัคร และวันคัดเลือก : ภายในเดือนกรกฎาคม 2561
สาหรับ : น้องๆ นักเรียนทั่วไป
การเลือกสอบ : สามารถสมัครสอบได้ตามความต้องการ โดยที่แต่ละมหาวิทยาลัยจะรับตรงด้วยวิธีการของ
มหาวิทยาลัยเอง
ยื่นสมัครและคัดเลือกโดย : มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง
จานวนการรับในแต่ละรอบ ปีการศึกษา 2561 (โดยประมาณ)
เป็นข้อมูลจานวนประมาณการจากสถาบันอุดมศึกษา จานวน 40 แห่ง โดยรับทั้งหมด 278,644 คน แบ่งออกทั้งหมด
5 รอบ ดังรายละเอียดนี้
รอบที่ ประเภทการรับ จานวน
รอบที่ 1ยื่นด้วยแฟ้มสะสมผลงาน 72,613 คน
รอบที่ 2รับแบบโควต้า 85,436 คน
รอบที่ 3การรับตรงร่วมกัน 59,167 คน
รอบที่ 4รับแบบแอดมิชชั่น 35,836 คน
รอบที่ 5การรับตรงอิสระ 26,042 คน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
6
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
7
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายJaturapad Pratoom
 
เทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน
เทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐานเทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน
เทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐานPrachyanun Nilsook
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)Supamongkol Chomchuen
 
เอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียน
เอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียนเอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียน
เอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียนนางรุ่งนภา ผลเกิด
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมssusere4367d
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...Kobwit Piriyawat
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Warunee Kantapanom
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1Artit Promratpan
 
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลมะ สิ
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้มmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาPennapa Boopphacharoensok
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอลชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอลDome Lonelydog
 
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคมงานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทการออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 รายก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
ก.ค.ศ.อนุมัติวิทยฐานะเชี่ยวชาญ 14 ราย
 
เทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน
เทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐานเทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน
เทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
 
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
โครงงาน โปรแกรมช วยต ดเกรด (1)
 
เอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียน
เอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียนเอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียน
เอกสารประกอบการประชุมผู้ปกครองในชั้นเรียน
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
 
โครงการ เยี่ยมบ้าน
โครงการ     เยี่ยมบ้านโครงการ     เยี่ยมบ้าน
โครงการ เยี่ยมบ้าน
 
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอลชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
 
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคมงานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
 
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทการออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
 

Similar to โครงร่างโครงงาน

2562 final-project 255555
2562 final-project 2555552562 final-project 255555
2562 final-project 255555Mai Lovelove
 
โครงร่างโครงงานวิชาคอม
โครงร่างโครงงานวิชาคอมโครงร่างโครงงานวิชาคอม
โครงร่างโครงงานวิชาคอมNicharee Kornkaew
 
2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawisthayawistha
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project JSIjittra
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project JSIjittra
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)immsswm
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07 PPhumin
 
โครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วนโครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วนpantida44027
 
ใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงานใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงานSalisa Koonyotying
 
งานฝ้าย
งานฝ้ายงานฝ้าย
งานฝ้ายOatty_CMU
 

Similar to โครงร่างโครงงาน (20)

2562 final-project 255555
2562 final-project 2555552562 final-project 255555
2562 final-project 255555
 
2560 project
2560 project  2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงานวิชาคอม
โครงร่างโครงงานวิชาคอมโครงร่างโครงงานวิชาคอม
โครงร่างโครงงานวิชาคอม
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Obesity
ObesityObesity
Obesity
 
2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (งานเดี่ยว)
 
2561 project (6)
2561 project  (6)2561 project  (6)
2561 project (6)
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
โครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วนโครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วน
 
2560 project 222
2560 project 2222560 project 222
2560 project 222
 
ใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงานใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบร่างโครงงาน
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 
งานฝ้าย
งานฝ้ายงานฝ้าย
งานฝ้าย
 
604 21
604 21604 21
604 21
 

โครงร่างโครงงาน

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน เรียนรู้ระบบรับตรงใหม่ ก้าวไกลไปพร้อม TCAS ชื่อผู้ทาโครงงาน 1นายธิปไตย ชัยลักษณ์สกุล เลขที่ 27 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิก 1นายธิปไตย ชัยลักษณ์สกุล เลขที่ 27 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) เรียนรู้ระบบรับตรงใหม่ ก้าวไกลไปพร้อม TCAS ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) First step to TCAS ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายธิปไตย ชัยลักษณ์สกุล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ณ ปัจจุบันนี้การศึกษาในประเทศไทยพัฒนาก้าวหน้าเรื่อยมามากหมายหลายรูปแบบ ไม่เว้นแม้กระทั่งระบบ การรับนิสิตและนักศึกษาใหม่เข้าสถาบันอุดมศึกษาที่เปลี่ยนไปจากระบบเดิม ซึ่งผู้จัดโครงงานเองก็ยังเป็นนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ต้องสอบคัดเลือกในระบบการรับนิสิตและนักศึกษาใหม่นี้ จึงเกิดความสนใจและต้องการทราบ เกี่ยวกับระบบการรับนิสิตและนักศึกษาใหม่นี้ ว่ามีข้อกาหนด ระเบียบการ คุณสมบัติ เกณฑ์การรับสมัคร และ ระยะเวลาในการรับสมัครในระบบการรับนิสิตและนักศึกษาใหม่เข้าสถาบันอุดมศึกษานี้อย่างไรบ้าง เพื่อเตรียมตัวและ เตรียมพร้อมสาหรับการเข้าร่วมในการรับสมัครนี้ เพราะในอดีตการรับนิสิตและนักศึกษาใหม่เข้าสถาบันอุดมศึกษานั้น ต้องใช้ระบบแอดมิชชั่น แอดมิชชั่น หรือ Admission ชื่อเต็มๆว่า ระบบกลางคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษา (Central University Admissions System: CUAS) ดูแค่ชื่อก็น่าจะทราบกันดีแล้วว่าแอดมิสชั่น คือระบบสอบกลางที่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ที่มีความต้องการจะศึกษาต่อในระดับ มหาวิทยาลัย ต้องสอบ แล้วนาคะแนนสอบที่ได้มายื่นเลือกคณะกันอีกที ระบบแอดมิชชั่นนี้ บริหารงานโดย สถาบัน ทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อว่า สทศ. โดยที่หน้าที่ของสทศ. คือพัฒนาข้อสอบ เพื่อวัดและประเมินมาตรฐานการศึกษา วัดความรู้ความสามารถของผู้เข้าสอบแต่ละคน สทศ.จะรับผิดชอบการ ประเมินผลด้านการศึกษาให้กับนักเรียนที่เรียนหลักสูตรไทย ในประเทศไทย หลายครั้งด้วยกันคือ ป.3, ป.6, ม.3, และ ม.6 แต่ในการสอบแอดมิชชั่นนั้นจะนับกันเฉพาะ การสอบวัดผลในระดับชั้น ม.6 เท่านั้น ยังมีอีก 1 องค์การที่จะไม่ กล่าวถึงก็คงจะไม่ได้ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นผู้วางมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาให้กับโรงเรียนต่างๆใน ประเทศไทย เรียกง่ายๆว่า กระทรวงศึกษาเป็นผู้กาหนดหลักสูตร โรงเรียนมีหน้าที่สอนนักเรียนตามหลักสูตร และ สทศ.มีหน้าที่สอบวัดผลโรงเรียนและนักเรียนแต่ละคนตามหลักสูตรนั่นเอง ซึ่นวิชาที่จะต้องสอบประกอบไปด้วย 1. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน ในตอนนี้จะพูดถึง
  • 3. 3 การสอบ O-NET ในระดับชั้น ม.6 เพียงอย่างเดียว แนวคิดของ O-NET คือ การวัดผลของโรงเรียนแต่ละโรงเรียนว่า ได้สอนนักเรียนของตัวเองตามหลักสูตรกระทรวงขนาดไหน ข้อสอบ O-NET นี้จะเป็นข้อสอบง่ายๆที่วัดเฉพาะพื้นฐาน จริงๆเท่านั้น 2. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือมีชื่อเป็นภาษาไทยสั้นๆว่า การสอบความถนัดทั่วไป ซึ่งจะเน้น เนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ รวมไปถึงการสื่อสารด้วย ภาษาอังกฤษ ข้อสอบ GAT นี้จะมีความซับซ้อนมากกว่าความยาก 3. PAT (Professional Aptitude Test) หรือมีชื่อ เป็นภาษาไทยสั้นๆว่า การสอบความถนัดเฉพาะด้าน/วิชาการ เป็นข้อสอบที่ยากที่สุดในสามตัวที่พูดถึง วิชาเฉพาะ ด้านที่มีสอบคือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ พื้นฐานวิศวกรรม พื้นฐานสถาปัตยกรรม พื้นฐานความเป็นครู และวิชา ด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ การสอบแอดมิชชั่นจะสอบรวมกันทีเดียวเลย แล้วจะนาคะแนนของวิชา ไหนมายื่นบ้างก็เป็นเรื่องของแต่ละคณะจะกาหนดกันเอาเอง รวมกับ เกรดเฉลี่ยในระดับชั้นมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคานวณด้วย โดยน้าหนักของคะแนนสอบแต่ละส่วนจะแตกต่างกันไปตามมหาวิทยาลัยและคณะ การคิด คะแนนจึงค่อนข้างยุ่งยาก เมื่อนาคะแนนทั้งหมดสี่ส่วนมารวมกันเป็นคะแนนสุดท้าย แล้วนาคะแนนสุดท้ายที่ว่านี้มา ทาการยื่นเลือกคณะอีกที จะมีข้อยกเว้นเกี่ยวกับการแอดมิชชั่นอยู่บ้าง เนื่องจากมหาวิทยาลัยหลายๆที่ไม่มีความ เชื่อมั่นในการสอบแอดมิชชั่น จึงได้จัดการสอบตรงขึ้น โดยเฉพาะคณะทางด้านแพทย์ส่วนใหญ่จะรับเฉพาะการสอบ ตรง ไม่ค่อยจะได้เห็นคณะด้านแพทย์ที่รับเด็กที่ผ่านการสอบแอดมิชชั่นเท่าไหร่กันนัก และยังเปลี่ยนแปลงไปมาอย่าง รวดเร็วด้วย บางมหาวิทยาลัยรับผ่านแอดมิชชั่นปีที่แล้วแต่ไม่รับผ่านแอดมิชชั่นปีนี้ ต้องติดตามข่าวกันอย่างละเอียดปี ต่อปีกันเลยทีเดียว ตรงกันข้ามกับการสอบตรงซึ่งรับทุกปี ข้อดี ทาให้เด็กตั้งใจเรียนในโรงเรียนมากขึ้น เพราะเอา คะแนนในโรงเรียนมาคิดด้วย ทาให้เด็กไม่พึ่งโรงเรียนกวดวิชามากนัก เพราะต้องมาเรียนเอาคะแนนในห้องเรียนมาก ขึ้น มีการสอบได้หลายครั้ง สามารถทดลองสอบได้ตั้งแต่ ม.5 ทาให้เด็กไม่เครียดจนเกินไป ถ้าได้คะแนนไม่ดียัง สามารถแก้ตัวได้ อาจจะเรียกได้ว่าไปลองข้อสอบได้ สอบแล้วสามารถนาคะแนนที่ได้มาเลือก มหาวิทยาลัย/คณะ ตามที่เราต้องการได้ในภายหลัง ไม่ต้องเลือกก่อนสอบ ทาให้โอกาสที่เราจะเลือกคณะที่เหมาะสมกับคะแนนได้ แม่นยาขึ้น ข้อเสีย คะแนนในโรงเรียนยังไม่มีมาตรฐานเดียวกัน ไม่มีเกณฑ์ใดพิสูจน์ได้ว่าเกรด 3.50 ของนักเรียน ร.ร. เตรียมอุดม จะเก่งน้อยกว่า คนที่ได้เกรด 4.00 ของ ร.ร.วัดบ้านไกลปืนเที่ยง เด็กเรียนกวดวิชามากขึ้น เพราะสอบ แล้วคะแนนน้อย ก็จะเรียนซ้าไปเรื่อยๆ แถมสอบได้ตั้งแต่ ม.5 หรือสอบตั้งแต่ ม.6 เทอมต้น ซึ่งยังไม่มีความรู้ ครอบคลุม เด็กก็ต้องพึ่งที่เรียนอย่างเลี่ยงไม่ได้ ไม่ได้แก้ระบบที่อ้างว่า ระบบ Admission จะทาให้เด็กเรียน โรงเรียนกวดวิชาน้อยลงแต่อย่างใด เด็กออกกลางคันมากมายเพราะคะแนนที่ได้มาก จริงๆไม่ได้ตรงกับความต้องการของคณะที่เราเรียน ทาให้เรียน ต่อไปไม่ได้ เพราะความรู้ไม่ถึง (ปัญหาเกิดกับคณะด้านวิทย์เป็นส่วนใหญ่) มหาวิทยาลัยบางแห่ง บางคณะ ยังไม่ยอมรับเด็กจากระบบ Admission จึงทาการเปิดสอบตรงเอง หรือสร้างเงื่อนไข ของตัวเองขึ้น เพื่อคัดคุณภาพเด็ก ยิ่งทาให้เด็กต้องสอบเพิ่มเพื่อเข้าคณะและมหาวิทยาลัยที่ต้องการ สิ่งเหล่านี้เป็น ผลจากการคัดเลือกเด็กเข้าเรียนต่อระดับอุดมศึกษาที่ยังไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งยังใช้อยู่ในปัจจุบัน มีความเหลือมล้าทางด้านฐานะ ระบบนี้เก็บเงินมากกว่าระบบ Entrance แบบเดิมมาก แถมใครมีเงินมากก็สามารถ เลือกสอบได้มาก มีโอกาสมากกว่าเด็กที่มีเงินน้อย ที่ไม่สามารถจ่ายเงินก้อนในการสอบหลายๆครั้งได้ ทาให้เกิดความ ไม่เท่าเทียม ปัญหาเหลื่อมล้าทางสังคม เพราะพึ่งระบบ Computer มากจนเกินไป ระบบใช้งานยากและมีปัญหาตลอดเวลา ทาให้ เด็กในชนบทที่ห่างไกลที่ไม่มีระบบ internet ใช้เสียเปรียบ เพราะเกือบทุกๆกิจกรรมต้องทาผ่านระบบ internet ทั้งนั้น ปัญหาเรื่องการกระจายข้อมูล ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพราะมีการสอบหลายครั้ง ปัญหาเลยตามมาว่าเด็ก เข้าไม่ถึงข้อมูล ระบบยังไม่มีมาตรฐาน ยังเปลี่ยนแปลงปรับปรุงรูปแบบการสอบอยู่ตลอดเวลา รุ่นไหนโชคดีระบบเริ่ม เสถียรก็ดีไป บางรุ่นโชคร้ายสอบเป็นรุ่นแรกไม่มีความพร้อมช่องโหว่เพียบก็ต้องปลงกันไป ก็ขึ้นกับทางกระทรวงว่า จะปรับเปลี่ยนอะไรอีกบ้าง เด็กๆกลายเป็นหนูทดลองยาของรัฐบาล ดังนั้นเมื่อกระทรวงศึกษาธิการมองเห็นข้อเสีย
  • 4. 4 ของระบบแอดมิชชั่นมากกว่าข้อดีจึงได้กาหนดระบบการรับนิสิตและนักศึกษาใหม่โดยใช้ระบบ TCAS ที่จะมาช่วยอุด รอยรั่วข้อเสียของระบบแอดมิชชั่น วัตถุประสงค์ 1 เพื่อกระจายข่าวสารให้นักเรียนที่ต้องศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 2 เพื่อให้สามารถวางแผนการศึกษาและการเรียนต่อได้อย่างเป็นระบบ 3 เพื่อให้รู้และติดตามข่าวสารได้ครบถ้วนรวดเร็ว 4 เพื่อให้ครุ ผู้ปกครองสามรถช่วยเหลือและสนับสนุนนักเรียนหรือบุตรหลานได้ถูกวิธี ขอบเขตโครงงาน 1 ขั้นตอนของระบบTCAS 2 หลักการระบบTCAS 3 การจัดสอบในระบบTCAS หลักการและทฤษฎี TCAS โดยย่อมาจาก Thai University Central Admission System เป็นการสอบรับนักศึกษาใหม่เข้าเรียน โดยแต่ละรอบก็จะมีเงื่อนไขกาหนดที่ต่างกันออกไป ถ้าสมัครรอบไหนแล้วก็จะไม่สามรถสมัครรอบอื่นได้หรือไม่ก็ต้อง สละสิทธิ์ในรอบนั้นๆก่อน แบ่งเป็น 5 รอบด้วยกัน คือ รอบที่ 1 : การรับด้วยแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โดยไม่มีการสอบข้อเขียน ช่วงวันเปิดรับสมัคร และวันคัดเลือก : ครั้งที่ 1 : 1 ตุลาคม 2560 – 30 พฤศจิกายน 2560 ประกาศผล : 22 ธันวาคม 2560 ครั้งที่ 2 : 22 ธันวาคม 2560 – 28 กุมภาพันธ์ 2561 ประกาศผล : 26 มีนาคม 2561 สาหรับ : น้องๆ นักเรียนทั่วไป, นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ, นักเรียนโควตา, นักเรียนเครือข่าย ยื่นสมัครและคัดเลือกโดย : มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง รอบที่ 2 : การรับแบบโควตาที่มีการสอบปฏิบัติและข้อเขียน ช่วงวันเปิดรับสมัคร และวันคัดเลือก : ธันวาคม 2560 – มีนาคม 2561 ประกาศผล : 8 พฤษภาคม 2561 สาหรับ : น้องๆ นักเรียนที่อยู่ในเขตพื้นที่หรือภาค, นักเรียนในโรงเรียนเครือข่าย, นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ยื่นสมัครและคัดเลือกโดย : มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง รอบที่ 3 : การรับตรงร่วมกัน ช่วงวันเปิดรับสมัคร และวันคัดเลือก : 9 – 13 พฤษภาคม 2561 ประกาศผล : 8 มิถุนายน 2561
  • 5. 5 สาหรับ : น้องๆ นักเรียนที่อยู่ในโครงการ กสพท. (กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย), โครงการอื่นๆ ตามที่ มหาวิทยาลัยกาหนด การเลือกสอบ : สามารถสมัครสอบและเลือกได้ 4 สาขาวิชา โดยไม่มีลาดับ หมายความว่า 4 สาขาวิชา หรือ 4 มหาวิทยาลัยที่สมัครไปนั้นน้องๆ มีโอกาสผ่านการคัดเลือกทั้งหมด.. (แล้วค่อยเลือกมหาวิทยาลัยที่ต้องการศึกษาต่อใน เคลียริ่งเฮาส์ของรอบที่ 3 อีกครั้ง) โดยที่จะมีการจัดสอบร่วมกันในเวลาเดียวกัน ส่วนเกณฑ์การคัดเลือกแต่ละ มหาวิทยาลัยเป็นผู้กาหนด ยื่นสมัครผ่าน : ทปอ. (ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย) หลังจากนั้นจะส่งข้อมูลผู้สมัครไปให้มหาวิทยาลัยเป็นผู้ ประมวลคัดเลือก รอบที่ 4 : การรับแบบ Admission ช่วงวันเปิดรับสมัคร และวันคัดเลือก : 6 – 10 มิถุนายน 2561 ประกาศผล : 13 กรฎาคม 2561 สาหรับ : น้องๆ นักเรียนทั่วไป การเลือกสอบ : สามารถสมัครสอบและเลือกได้ 4 สาขาวิชา โดยมีลาดับ (เหมือนแอดมิชชั่นในปีที่ผ่านมา) แต่ใช้ เกณฑ์ค่าน้าหนักที่ประกาศล่วงหน้า 3 ปี ยื่นสมัครผ่าน : ทปอ. (ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย) รอบที่ 5 : การรับตรงแบบอิสระ (รอบเก็บตก) ช่วงวันเปิดรับสมัคร และวันคัดเลือก : ภายในเดือนกรกฎาคม 2561 สาหรับ : น้องๆ นักเรียนทั่วไป การเลือกสอบ : สามารถสมัครสอบได้ตามความต้องการ โดยที่แต่ละมหาวิทยาลัยจะรับตรงด้วยวิธีการของ มหาวิทยาลัยเอง ยื่นสมัครและคัดเลือกโดย : มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง จานวนการรับในแต่ละรอบ ปีการศึกษา 2561 (โดยประมาณ) เป็นข้อมูลจานวนประมาณการจากสถาบันอุดมศึกษา จานวน 40 แห่ง โดยรับทั้งหมด 278,644 คน แบ่งออกทั้งหมด 5 รอบ ดังรายละเอียดนี้ รอบที่ ประเภทการรับ จานวน รอบที่ 1ยื่นด้วยแฟ้มสะสมผลงาน 72,613 คน รอบที่ 2รับแบบโควต้า 85,436 คน รอบที่ 3การรับตรงร่วมกัน 59,167 คน รอบที่ 4รับแบบแอดมิชชั่น 35,836 คน รอบที่ 5การรับตรงอิสระ 26,042 คน วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
  • 6. 6 ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 7. 7 สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________