SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 2
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ตัวแบบธุรกิจฐานสังคม
(Social Economy Enterprises: SEE)
ตัวแบบธุรกิจฐานสังคม (Social Economy Enterprises: SEE)
การวิจัยในปี พ.ศ. 2555 มีข้อค้นพบจากการวิจัยในรูปของกรอบการพัฒนาธุรกิจฐานสังคม
(Social Economy Enterprises: SEE) โดยมีข้อเสนอเชิงนโยบายในรูปแบบของแผนที่ยุทธศาสตร์การ
ขับเคลื่อนธุรกิจฐานสังคมที่ประชาชนจะใช้เป็นกลไกในการร่วมมือกัน เพื่อ“คุณค่าสหกรณ์” และ “การบริหาร
จัดการโซ่อุปทานในธุรกิจ” สู่การบรรลุเป้าหมาย “การพัฒนาที่ยั่งยืน” ภายใต้คุณลักษณะของธุรกิจฐานสังคม
(Social Economy Enterprise: SEEs) ที่สําคัญ 5 ประการ ได้แก่
1. ธุรกิจที่ดําเนินการบนหลักการพึ่งพาและร่วมมือกันของภาคี
2. มีกรอบการทํางานอย่างมีแบบแผนเพื่อการบรรลุเป้าหมายร่วม
3. มีการนํานวัตกรรมด้านการบริหารจัดการมาใช้ในธุรกิจ
4. ดําเนินธุรกิจภายใต้กลไกการตลาดเพื่อการบรรลุเป้าหมายทั้งเศรษฐกิจและสังคม
5. มุ่งพัฒนาสู่ระบบการค้าที่เป็นธรรม
ข้อค้นพบจากการวิจัยดังกล่าว ชี้ให้เห็นแนวทางการยกระดับการพัฒนาสหกรณ์ไปสู่บริบทของ
การเป็นองค์กรธุรกิจฐานสังคม (Social Economy Enterprises: SEE) ซึ่งจะช่วยเสริมพลังให้สหกรณ์สามารถ
ทําหน้าที่เป็นกลไกในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม บนหลักการพึ่งพาตนเองและร่วมมือกันได้เหมาะสมมากขึ้น
ซึ่งสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาการสหกรณ์ภายใต้บริบทขององค์การสหประชาชาติ และภาคีทั่วโลกที่
ประกาศให้ปี 2555 เป็นปีสากลแห่งการสหกรณ์ โดยใช้สโลแกน “สหกรณ์เป็นองค์การธุรกิจที่เป็นทางเลือกสู่
ชีวิตที่ดีกว่าสําหรับทุกคน” โดยที่ประชุมขององค์การระหว่างประเทศหลายแห่งได้เห็นพ้องต้องกันว่าในอนาคต
อันใกล้ “สหกรณ์” และองค์กรธุรกิจในรูปแบบ SEE จะมีการเติบโตมากที่สุด และจะช่วยแก้ปัญหาด้าน
เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมได้ดีกว่า บนหลักการดําเนินงานที่มีค่าใช้จ่ายต่ํากว่า มีความเสี่ยงเชิงธุรกิจต่ํากว่า
ช่วยลดความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจและเพิ่มโอกาสของเกษตรกร ผู้ประกอบการรายย่อย สถาบันเกษตรกร ใน
การเข้าถึงตลาด และเข้าถึงระบบการค้าที่เป็นธรรม ช่วยให้ผู้บริโภคได้เข้ามามีส่วนร่วมในฐานะหุ้นส่วนในการ
ขับเคลื่อนระบบการค้าที่เป็นธรรม และการเข้าถึงสินค้าคุณภาพราคาเป็นธรรม นอกจากนั้นยังสอดคล้องกับ
นโยบายการพัฒนาประเทศภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ซึ่งมุ่งเน้นไปในทิศทางของการพัฒนาที่ยั่งยืน และ
การสร้างสมดุลใน 3 เสาหลัก ได้แก่
การพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดล้อม สู่การบรรลุ
เป้าหมายการพัฒนาประเทศตาม
วิสัยทัศน์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่
11 “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมี
ความสุข มีความเสมอภาค เป็น
ธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการ
เปลี่ยนแปลง”

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von ThailandCoop

คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ
คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจคู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ
คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจThailandCoop
 
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองการปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองThailandCoop
 
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่ThailandCoop
 
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ThailandCoop
 
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ThailandCoop
 
นวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shop
นวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shopนวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shop
นวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shopThailandCoop
 
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพ
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพนวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพ
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพThailandCoop
 
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรม
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรมนวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรม
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรมThailandCoop
 
นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพราน
นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพรานนวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพราน
นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพรานThailandCoop
 
ชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่า
ชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่าชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่า
ชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่าThailandCoop
 

Mehr von ThailandCoop (11)

คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ
คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจคู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ
คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ
 
Farmers market
Farmers marketFarmers market
Farmers market
 
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองการปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
 
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
 
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
 
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
ร่างกรอบทิศทางเชิงยุทธศาสตร์
 
นวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shop
นวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shopนวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shop
นวัตกรรมตัวแบบธุรกิจร้าน Farmer shop
 
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพ
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพนวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพ
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าผลไม้คุณภาพ
 
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรม
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรมนวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรม
นวัตกรรมเครือข่ายคุณค่าข้าวคุณธรรม
 
นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพราน
นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพรานนวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพราน
นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจเชิงคุณค่าสามพราน
 
ชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่า
ชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่าชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่า
ชุดความรู้การยกระดับการดำเนินงานสหกรณ์ไปในทิศทางเชิงคุณค่า
 

ตัวแบบธุรกิจฐานสังคม (Social economy enterprises see)

  • 2. ตัวแบบธุรกิจฐานสังคม (Social Economy Enterprises: SEE) การวิจัยในปี พ.ศ. 2555 มีข้อค้นพบจากการวิจัยในรูปของกรอบการพัฒนาธุรกิจฐานสังคม (Social Economy Enterprises: SEE) โดยมีข้อเสนอเชิงนโยบายในรูปแบบของแผนที่ยุทธศาสตร์การ ขับเคลื่อนธุรกิจฐานสังคมที่ประชาชนจะใช้เป็นกลไกในการร่วมมือกัน เพื่อ“คุณค่าสหกรณ์” และ “การบริหาร จัดการโซ่อุปทานในธุรกิจ” สู่การบรรลุเป้าหมาย “การพัฒนาที่ยั่งยืน” ภายใต้คุณลักษณะของธุรกิจฐานสังคม (Social Economy Enterprise: SEEs) ที่สําคัญ 5 ประการ ได้แก่ 1. ธุรกิจที่ดําเนินการบนหลักการพึ่งพาและร่วมมือกันของภาคี 2. มีกรอบการทํางานอย่างมีแบบแผนเพื่อการบรรลุเป้าหมายร่วม 3. มีการนํานวัตกรรมด้านการบริหารจัดการมาใช้ในธุรกิจ 4. ดําเนินธุรกิจภายใต้กลไกการตลาดเพื่อการบรรลุเป้าหมายทั้งเศรษฐกิจและสังคม 5. มุ่งพัฒนาสู่ระบบการค้าที่เป็นธรรม ข้อค้นพบจากการวิจัยดังกล่าว ชี้ให้เห็นแนวทางการยกระดับการพัฒนาสหกรณ์ไปสู่บริบทของ การเป็นองค์กรธุรกิจฐานสังคม (Social Economy Enterprises: SEE) ซึ่งจะช่วยเสริมพลังให้สหกรณ์สามารถ ทําหน้าที่เป็นกลไกในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม บนหลักการพึ่งพาตนเองและร่วมมือกันได้เหมาะสมมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาการสหกรณ์ภายใต้บริบทขององค์การสหประชาชาติ และภาคีทั่วโลกที่ ประกาศให้ปี 2555 เป็นปีสากลแห่งการสหกรณ์ โดยใช้สโลแกน “สหกรณ์เป็นองค์การธุรกิจที่เป็นทางเลือกสู่ ชีวิตที่ดีกว่าสําหรับทุกคน” โดยที่ประชุมขององค์การระหว่างประเทศหลายแห่งได้เห็นพ้องต้องกันว่าในอนาคต อันใกล้ “สหกรณ์” และองค์กรธุรกิจในรูปแบบ SEE จะมีการเติบโตมากที่สุด และจะช่วยแก้ปัญหาด้าน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมได้ดีกว่า บนหลักการดําเนินงานที่มีค่าใช้จ่ายต่ํากว่า มีความเสี่ยงเชิงธุรกิจต่ํากว่า ช่วยลดความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจและเพิ่มโอกาสของเกษตรกร ผู้ประกอบการรายย่อย สถาบันเกษตรกร ใน การเข้าถึงตลาด และเข้าถึงระบบการค้าที่เป็นธรรม ช่วยให้ผู้บริโภคได้เข้ามามีส่วนร่วมในฐานะหุ้นส่วนในการ ขับเคลื่อนระบบการค้าที่เป็นธรรม และการเข้าถึงสินค้าคุณภาพราคาเป็นธรรม นอกจากนั้นยังสอดคล้องกับ นโยบายการพัฒนาประเทศภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ซึ่งมุ่งเน้นไปในทิศทางของการพัฒนาที่ยั่งยืน และ การสร้างสมดุลใน 3 เสาหลัก ได้แก่ การพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม สู่การบรรลุ เป้าหมายการพัฒนาประเทศตาม วิสัยทัศน์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุข มีความเสมอภาค เป็น ธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการ เปลี่ยนแปลง”