SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ พลังงานและสารทั้งหลายในระบบนิเวศ ไม่มีสูญหายไปไหนแต่มีการถ่ายทอดและหมุนเวียน ผ่านปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางชีวภาพ  เพื่อให้ระบบนิเวศเกิดดุลยภาพได้  การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศจะเกิดขึ้นผ่านกระบวนการ  “ห่วงโซ่อาหาร”  ( Food chain )
ห่วงโซ่อาหาร  ( Food chain ) ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะการกินเป็นทอดๆที่เป็นลำดับขั้น   ( Trophic level )  โดยการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตผู้ถูกกินกับสิ่งมีชีวิตผู้กินด้วย  “สัญลักษณ์ลูกศร”  ที่หันปลายลูกศรเข้าหาสิ่งมีชีวิตผู้กินเสมอ ห่วงโซ่อาหารสามารถแบ่งได้เป็น  3   ประเภทโดยใช้เกณฑ์สิ่งมีชีวิตที่เป็นลำดับขั้นแรกในห่วงโซ่อาหาร ได้แก่ ...
1.   ห่วงโซ่อาหารผู้ผลิต  ( Grazing food chain ) -  ห่วงโซ่อาหารที่เริ่มต้นด้วยสิ่งมีชีวิตที่เป็นลำดับขั้นการกินแรกสุด คือ  “ผู้ผลิต”   ( Producer )  เช่น พืชหรือสาหร่ายที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ แล้วส่งถ่ายพลังงานและสารไปยังสิ่งมีชีวิต  “ผู้บริโภค”   ( Consumer )  ลำดับขั้นต่างๆ   เช่น ... หญ้า ( ผู้ผลิต ) กวาง  ( ผู้บริโภคลำดับที่  1) สุนัขป่า  ( ผู้บริโภคลำดับที่  2)
2.   ห่วงโซ่อาหารปรสิต  ( Parasite food chain ) -  ห่วงโซ่อาหารที่เริ่มต้นด้วยสิ่งมีชีวิตที่เป็นลำดับขั้นการกินแรกสุด คือ  “สิ่งมีชีวิตผู้ถูกอาศัย”   ( Host )  แล้วส่งถ่ายพลังงานและสารไปยังสิ่งมีชีวิตที่เป็น  “ปรสิต”  เช่น ... สุนัข  ( ผู้ถูกอาศัย ) เห็บสุนัข  ( ปรสิต )
3.   ห่วงโซ่อาหารซากอินทรีย์  ( Detritus food chain ) -  ห่วงโซ่อาหารที่เริ่มต้นด้วย  “ซากอินทรีย์”   เช่น ซากพืชหรือซากสัตว์  แล้วส่งถ่ายพลังงานและสารไปยังสิ่งมีชีวิต  “ผู้ย่อยสลาย”   ( Decomposer )  เช่น ... ซากใบไม้แห้ง  ( ซากอินทรีย์ ) เห็ดทรัฟเฟิล  ( ผู้ย่อยสลาย ) หมูป่า  ( ผู้บริโภค )
พีระมิดทางนิเวศวิทยา  ( Ecological pyramid ) การแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลำดับขั้นการกินของห่วงโซ่อาหารในรูปของกราฟพีระมิดซึ่งมี   3  ชนิด ได้แก่ ... 1.   พีระมิดแสดงจำนวน  ( Pyramid of Numbers ) 2 .   พีระมิดแสดงมวลชีวภาพ  ( Pyramid of Biomass ) 3 .   พีระมิดแสดงพลังงาน  ( Pyramid of Energy )
1.   พีระมิดแสดงจำนวน  ( Pyramid of Numbers ) -  ใช้แสดง จำนวนของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลำดับขั้นการกินของห่วงโซ่อาหารต่อหน่วยพื้นที่ของระบบนิเวศหนึ่งๆ  โดยสิ่งมีชีวิตผู้ผลิตอยู่ที่ฐานของพีระมิด -  โดยทั่วไปแล้วสิ่งมีชีวิตผู้ผลิตจะมีจำนวนมากกว่าสิ่งมีชีวิตผู้บริโภค  และสิ่งมีชีวิตผู้บริโภคลำดับขั้นสูงขึ้นไปจะมีจำนวนลดลง
-  แต่ก็มีกรณีที่ สิ่งมีชีวิตผู้ผลิตมีจำนวนน้อยกว่าสิ่งมีชีวิตผู้บริโภค  เช่น  ระบบนิเวศของต้นไม้ใหญ่  1  ต้นที่มีสัตว์บนต้นไม้มากมาย -   ตัวอย่างเช่น  พีระมิดแสดงจำนวนสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศทะเล  ( ซ้าย )
2.   พีระมิดแสดงมวลชีวภาพ  ( Pyramid of Biomass ) -  ใช้แสดง มวลแห้งของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลำดับขั้นการกินของห่วงโซ่อาหารต่อหน่วยพื้นที่ของระบบนิเวศหนึ่งๆ  โดยสิ่งมีชีวิตผู้ผลิตอยู่ที่ฐานของพีระมิด -  ส่วนมากสิ่งมีชีวิตผู้ผลิตจะมีมวลชีวภาพมากที่สุด   อย่างเช่น พีระมิดแสดงมวลชีวภาพในระบบนิเวศบนบก
-  แต่ก็มีกรณีที่ สิ่งมีชีวิตผู้ผลิตมีมวลชีวภาพรวมน้อยกว่ามวลชีวภาพรวมของสิ่งมีชีวิตผู้บริโภคขั้นสูง  เช่น  พีระมิดแสดงจำนวนมวลชีวภาพในทะเลที่แพลงก์ตอนพืชมีมวลชีวภาพรวมน้อยกว่าปลาฉลาม -   หรือสิ่งมีชีวิตผู้ผลิตอาจจะ มีมวลชีวภาพน้อยเนื่องจากประกอบด้วยน้ำเป็นสัดส่วนที่มาก  เช่น  ผลแตงโม
3.   พีระมิดแสดงพลังงาน  ( Pyramid of Energy ) -  ใช้แสดง ปริมาณพลังงานสะสมของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลำดับขั้นการกินของห่วงโซ่อาหารต่อหน่วยพื้นที่ของระบบนิเวศหนึ่งๆต่อเวลา  1  ปี  โดยสิ่งมีชีวิตผู้ผลิตอยู่ที่ฐานของพีระมิดเช่นกัน -  สิ่งมีชีวิตผู้ผลิตจะมีพลังงานสะสมมากกว่าสิ่งมีชีวิตผู้บริโภคในระบบนิเวศนั้นเสมอ
-  จากพีระมิดแสดงพลังงานของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพบว่า พลังงานสะสมในสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้กินจะมีค่าประมาณร้อยละ  10  ของสิ่งมีชีวิตผู้ถูกกิน ซึ่งก็คือ พลังงานสะสมจากสิ่งมีชีวิตผู้ถูกกินที่ถ่ายทอดให้แก่สิ่งมีชีวิตผู้กิน ตามกฎที่เรียกว่า “ กฎร้อยละสิบ ”  ( Ten percent law )
-  พลังงานสะสมของสิ่งมีชีวิตผู้กินอีกร้อยละ  90  จะสูญเสียไปกับ ส่วนที่รับประทานและย่อยไม่ได้ของสิ่งมีชีวิตผู้ถูกกิน การแผ่รังสีความร้อนของสิ่งมีชีวิตผู้กิน รวมกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตผู้กิน
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ  ( Material cycle ) สารต่างๆในระบบนิเวศ เช่น น้ำ ,  ธาตุคาร์บอน ,  ธาตุไนโตรเจน ,  ธาตุฟอสฟอรัส ,  ธาตุกำมะถัน ฯลฯ ล้วนมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งสิ้น ซึ่งสารเหล่านี้มีการหมุนเวียนในระบบนิเวศอยู่ตลอดเวลา การหมุนเวียนสารเป็นวัฏจักรในระบบนิเวศจะมี หลักการ  2  ประการ  คือ  การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร  และ การทำปฏิกิริยาเคมีเพื่อให้เกิดสารใหม่
1.   วัฏจักรของน้ำ  -  เป็นการหมุนเวียนของ  “น้ำ”   ( H 2 O )  ที่อาศัยกระบวนการต่อไปนี้ ... 1.  การที่ไอน้ำในบรรยากาศกลั่นตัวตกลงมาบนพื้นโลกเป็น “หยาดน้ำฟ้า”  ( Precipitation )   เช่น ฝน ,  หิมะ ,  ลูกเห็บ 2.  การที่น้ำสะสมและไหลเวียนไปยังส่วนต่างๆบนแผ่นเปลือกโลก  เช่น แหล่งน้ำจืดผิวดิน ,  แหล่งน้ำแข็ง ,  แหล่งน้ำเค็ม รวมทั้งแหล่งน้ำบาดาล 3.  การที่น้ำจากแหล่งต่างๆบนพื้นผิวโลก ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์จนระเหยกลายเป็นไอน้ำ
4 .  การนำน้ำเข้าสู่ร่างกายของสิ่งมีชีวิตเพื่อนำไปใช้ในดำรงชีวิต  เช่น การดื่มน้ำของสัตว์ ,  การดูดน้ำในดินด้วยรากพืช ฯลฯ -  หากการหมุนเวียนของน้ำในระบบนิเวศนั้น ไม่ผ่านสิ่งมีชีวิตจะถือเป็น “วัฏจักรของน้ำระยะสั้น”  ส่วน การหมุนเวียนของน้ำในระบบนิเวศ ผ่านสิ่งมีชีวิตหรือกระบวนการของสิ่งมีชีวิตจะถือเป็น “วัฏจักรของน้ำระยะยาว” 5 .  การที่สิ่งมีชีวิตปล่อยน้ำทั้งส่วนที่เหลือจากการใช้และที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีภายในสิ่งมีชีวิต  เช่น การขับถ่ายปัสสาวะของสัตว์ ,  การคายน้ำผ่านทางปากใบของพืช ฯลฯ
 
2.   วัฏจักรของธาตุคาร์บอน  -  ธาตุคาร์บอน  ( C )  เป็นธาตุที่เป็น ส่วนประกอบของสารอินทรีย์ เช่น โปรตีน ,  คาร์โบไฮเดรต ,  ไขมัน ฯลฯ  รวมทั้ง สารอนินทรีย์อื่นๆ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ,  สารประกอบคาร์บอนเนต 1.   ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์  ( CO 2 )  ในบรรยากาศจะถูกเปลี่ยนมาเป็นสารประกอบคาร์โบไฮเดรตโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 2.   สารอินทรีย์ทั้งหลาย เช่น สารประกอบคาร์โบไฮเดรต ฯลฯ  จะถูกถ่ายทอดไปยังสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น สัตว์ ด้วยกระบวนการห่วงโซ่อาหาร
3.   สิ่งมีชีวิตทั้งหลายจะนำเอาสารอินทรีย์ไปใช้ใน กระบวนการหายใจระดับเซลล์เพื่อสร้างพลังงาน แล้วปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ 4.  เมื่อสิ่งมีชีวิตทั้งหลายตายลงก็จะกลายเป็น  “ซากอินทรีย์” สะสมในชั้นดินและหินในรูปของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ,  ธาตุคาร์บอน  ( C )  หรือสารประกอบคาร์บอเนต  ( CO 3 2- ) 5.  มนุษย์ขุดเอา สารประกอบไฮโดรคาร์บอนและธาตุคาร์บอนมาทำปฏิกิริยาเผาไหม้เพื่อให้พลังงาน แล้วปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ,  ก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ และเขม่า ขึ้นสู่บรรยากาศจำนวนมาก
 
3.   วัฏจักรของธาตุไนโตรเจน  -  ธาตุไนโตรเจน  ( N )  เป็นธาตุที่เป็น ส่วนประกอบของสารอินทรีย์ เช่น โปรตีน ,  สารพันธุกรรม ,  ของเสียต่างๆ  รวมทั้ง สารอนินทรีย์อื่น เช่น สารประกอบแอมโมเนียม ,  สารประกอบไนเตรต ซึ่งพืชต้องการมาก 1.   ก๊าซไนโตรเจน  ( N 2 )   ในบรรยากาศจะถูกเปลี่ยนมาเป็นสารประกอบแอมโมเนียม  ( NH 4 + )   และสารประกอบไนเตรต  ( NO 3 - )   โดยแบคทีเรียที่ตรึงก๊าซไนโตรเจนได้  เช่น  Rhizobium  sp. 2.   พืชนำสารประกอบแอมโมเนียมและสารประกอบไนเตรตไปใช้ประโยชน์
3.   สารที่มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ  เช่น โปรตีน ,  สารพันธุกรรม ฯลฯ  จะถูกถ่ายทอดไปยังสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น สัตว์ ด้วยกระบวนการห่วงโซ่อาหาร 4.   สัตว์ขับถ่ายของเสียต่างๆในรูปของแอมโมเนีย ,  ยูเรีย ,  กรดยูริกซึ่งมีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบลงสู่ดิน 5.   สารประกอบแอมโมเนียม  ( NH 4 + )   และสารประกอบไนเตรต  ( NO 3 - )   ในดินจะถูกเปลี่ยนเป็นก๊าซไนโตรเจน  ( N 2 )   ขึ้นสู่บรรยากาศโดยแบคทีเรียที่กระบวนการดีไนตริฟิเคชั่น  ( Denitrification )
 
4.   วัฏจักรของธาตุฟอสฟอรัส  -  ธาตุฟอสฟอรัส  ( P )  เป็นธาตุที่เป็น ส่วนประกอบของสารอินทรีย์ เช่น สารพันธุกรรม ,  สารพลังงานสูง  ATP ,  กระดูก  รวมทั้ง สารอนินทรีย์อื่น เช่น สารประกอบฟอสเฟต ซึ่งพืชต้องการมาก 1.   การไหลของน้ำบนผิวโลกจะชะเอาสารประกอบฟอสเฟต  ( PO 4 3- )   ไปสะสมที่บริเวณพื้นท้องทะเล จนนานเข้าก็อัดแน่นกลายเป็น “หินฟอสเฟต” 2.   หินฟอสเฟตบางส่วน จะถูกการยกตัวของแผ่นเปลือกโลกยกขึ้นมา แล้วถูกฝนชะล้างให้ผุพังพร้อมกับผสมกับซากอินทรีย์จนกลายเป็นดิน
3.   พืชนำเอาสารประกอบฟอสเฟตจากดินไปใช้ในการดำรงชีวิต เช่น  การสังเคราะห์สารพันธุกรรม หรือ สารพลังงานสูง  ATP 4.   สัตว์จะได้รับธาตุฟอสเฟต จากสารประกอบอินทรีย์ซึ่งได้มาจากกระบวนการห่วงโซ่อาหาร แล้วนำไปใช้ในการดำรงชีวิตเช่นเดียวกับพืช   แต่สัตว์มีกระดูกสันหลังจะนำสารประกอบฟอสเฟตบางส่วนไปสร้างเป็นโครงร่างแข็งภายใน 5.   ซากอินทรีย์ทั้งหลายจะถูกย่อยสลายโยสิ่งมีชีวิตผู้ย่อยสลายเพื่อให้เกิดสารประกอบฟอสเฟตลงสู่ดินอีกครั้ง
 
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ  ( Succession ) การเปลี่ยนแปลงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศหนึ่งๆเมื่อกาลเวลาผ่านไป โดยกลุ่มสิ่งมีชีวิตจะสูญหายไปและกลุ่มสิ่งมีชีวิตใหม่จะเข้ามาแทนที่ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ มีการรบกวนสมดุลของระบบนิเวศ  ซึ่งมี  2  ประเภท ได้แก่ ...
1.   การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ -  เป็นการเปลี่ยนแปลงแทนที่ที่เริ่มจากบริเวณที่ปราศจากสิ่งมีชีวิตมาก่อน  เช่น หน้าดินเปิดขึ้นใหม่ แล้วจึงมี  “สิ่งมีชีวิตผู้บุกเบิก”  ( Pioneer species )  เข้ามาเจริญเติบโต เช่น มอสส์ ,  ไลเคนส์ -  เมื่อมอสส์และไลเคนส์เจริญมากจะเกิดภาวะแก่งแย่งแข่งขัน  จนตายไปแล้วทิ้งซากอินทรีย์เอาไว้เป็นทรัพยากรแก่กลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่อไปได้เจริญต่อ
-  เมื่อกลุ่มสิ่งมีชีวิตหลายกลุ่มตายลงไปก็จะเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดินบริเวณให้อุดมสมบูรณ์มากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งเอื้ออำนวยให้เกิด  “กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสูงสุด”   ( Climax community )  นั่นก็คือกลุ่มพืชประจำในแต่ละชีวนิเวศ  ทำให้ระบบนิเวศเกิดสภาพสมดุล “ สิ่งมีชีวิตบุกเบิก” “ กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสูงสุด”
0  ปี 500  ปี -  การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบนี้จะ ใช้เวลายาวนานมาก กว่าระบบนิเวศจะอยู่ในสภาพสมดุล
-  ในบางกรณีการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิจะสามารถเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมไปโดยสิ้นเชิง เช่น  การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในสระน้ำจนกลายเป็นพื้นดิน
2.   การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ -  เป็นการเปลี่ยนแปลงแทนที่ที่เริ่มจากบริเวณที่ๆมีการทำลายล้างสิ่งมีชีวิตกลุ่มเดิมไปก่อนด้วยวิธีการต่างๆ  เช่น ไฟป่า หรือการทำเกษตร แล้วจึงมีสิ่งมีชีวิตบุกเบิกเจริญขึ้นมา
-  การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบนี้จะ เริ่มต้นจากที่ๆมีความอุดมสมบูรณ์ของแร่ธาตุในดินหลังจากการทำลายล้าง  ซึ่งจะใช้เวลาแทนที่ด้วยกลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสูงสุด รวดเร็วกว่า การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ

More Related Content

What's hot

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 

What's hot (20)

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4gasine092
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
ทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีวทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีวpoomarin
 
วัฏจักรของน้ำPipopsin
วัฏจักรของน้ำPipopsinวัฏจักรของน้ำPipopsin
วัฏจักรของน้ำPipopsinkomkit
 
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1pageใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมวิศิษฏ์ ชูทอง
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมKittiya GenEnjoy
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติaonzaza123
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมNamkang Patchar
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศKittiya GenEnjoy
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศgasine092
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน2348365991
 

Viewers also liked (20)

หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
1403271111115157 14092117175445
1403271111115157 140921171754451403271111115157 14092117175445
1403271111115157 14092117175445
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีวทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีว
 
น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 
วัฏจักรของน้ำPipopsin
วัฏจักรของน้ำPipopsinวัฏจักรของน้ำPipopsin
วัฏจักรของน้ำPipopsin
 
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1pageใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 
การศึกษาระบบนิเวศ111
การศึกษาระบบนิเวศ111 การศึกษาระบบนิเวศ111
การศึกษาระบบนิเวศ111
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 

Similar to ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศKru NoOk
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionkasidid20309
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH) การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH) Horania Vengran
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3chirapa
 
ระบบนิเวศประเทศไทย
ระบบนิเวศประเทศไทยระบบนิเวศประเทศไทย
ระบบนิเวศประเทศไทยninjynoppy39
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2chirapa
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333chirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)pitsanu duangkartok
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 

Similar to ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4 (20)

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
File
FileFile
File
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH) การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3
 
ระบบนิเวศประเทศไทย
ระบบนิเวศประเทศไทยระบบนิเวศประเทศไทย
ระบบนิเวศประเทศไทย
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 

More from Tatthep Deesukon

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4Tatthep Deesukon
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3Tatthep Deesukon
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2Tatthep Deesukon
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1Tatthep Deesukon
 

More from Tatthep Deesukon (7)

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
 

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4

  • 1. การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ พลังงานและสารทั้งหลายในระบบนิเวศ ไม่มีสูญหายไปไหนแต่มีการถ่ายทอดและหมุนเวียน ผ่านปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางชีวภาพ เพื่อให้ระบบนิเวศเกิดดุลยภาพได้ การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศจะเกิดขึ้นผ่านกระบวนการ “ห่วงโซ่อาหาร” ( Food chain )
  • 2. ห่วงโซ่อาหาร ( Food chain ) ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะการกินเป็นทอดๆที่เป็นลำดับขั้น ( Trophic level ) โดยการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตผู้ถูกกินกับสิ่งมีชีวิตผู้กินด้วย “สัญลักษณ์ลูกศร” ที่หันปลายลูกศรเข้าหาสิ่งมีชีวิตผู้กินเสมอ ห่วงโซ่อาหารสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภทโดยใช้เกณฑ์สิ่งมีชีวิตที่เป็นลำดับขั้นแรกในห่วงโซ่อาหาร ได้แก่ ...
  • 3. 1. ห่วงโซ่อาหารผู้ผลิต ( Grazing food chain ) - ห่วงโซ่อาหารที่เริ่มต้นด้วยสิ่งมีชีวิตที่เป็นลำดับขั้นการกินแรกสุด คือ “ผู้ผลิต” ( Producer ) เช่น พืชหรือสาหร่ายที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ แล้วส่งถ่ายพลังงานและสารไปยังสิ่งมีชีวิต “ผู้บริโภค” ( Consumer ) ลำดับขั้นต่างๆ เช่น ... หญ้า ( ผู้ผลิต ) กวาง ( ผู้บริโภคลำดับที่ 1) สุนัขป่า ( ผู้บริโภคลำดับที่ 2)
  • 4. 2. ห่วงโซ่อาหารปรสิต ( Parasite food chain ) - ห่วงโซ่อาหารที่เริ่มต้นด้วยสิ่งมีชีวิตที่เป็นลำดับขั้นการกินแรกสุด คือ “สิ่งมีชีวิตผู้ถูกอาศัย” ( Host ) แล้วส่งถ่ายพลังงานและสารไปยังสิ่งมีชีวิตที่เป็น “ปรสิต” เช่น ... สุนัข ( ผู้ถูกอาศัย ) เห็บสุนัข ( ปรสิต )
  • 5. 3. ห่วงโซ่อาหารซากอินทรีย์ ( Detritus food chain ) - ห่วงโซ่อาหารที่เริ่มต้นด้วย “ซากอินทรีย์” เช่น ซากพืชหรือซากสัตว์ แล้วส่งถ่ายพลังงานและสารไปยังสิ่งมีชีวิต “ผู้ย่อยสลาย” ( Decomposer ) เช่น ... ซากใบไม้แห้ง ( ซากอินทรีย์ ) เห็ดทรัฟเฟิล ( ผู้ย่อยสลาย ) หมูป่า ( ผู้บริโภค )
  • 6. พีระมิดทางนิเวศวิทยา ( Ecological pyramid ) การแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลำดับขั้นการกินของห่วงโซ่อาหารในรูปของกราฟพีระมิดซึ่งมี 3 ชนิด ได้แก่ ... 1. พีระมิดแสดงจำนวน ( Pyramid of Numbers ) 2 . พีระมิดแสดงมวลชีวภาพ ( Pyramid of Biomass ) 3 . พีระมิดแสดงพลังงาน ( Pyramid of Energy )
  • 7. 1. พีระมิดแสดงจำนวน ( Pyramid of Numbers ) - ใช้แสดง จำนวนของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลำดับขั้นการกินของห่วงโซ่อาหารต่อหน่วยพื้นที่ของระบบนิเวศหนึ่งๆ โดยสิ่งมีชีวิตผู้ผลิตอยู่ที่ฐานของพีระมิด - โดยทั่วไปแล้วสิ่งมีชีวิตผู้ผลิตจะมีจำนวนมากกว่าสิ่งมีชีวิตผู้บริโภค และสิ่งมีชีวิตผู้บริโภคลำดับขั้นสูงขึ้นไปจะมีจำนวนลดลง
  • 8. - แต่ก็มีกรณีที่ สิ่งมีชีวิตผู้ผลิตมีจำนวนน้อยกว่าสิ่งมีชีวิตผู้บริโภค เช่น ระบบนิเวศของต้นไม้ใหญ่ 1 ต้นที่มีสัตว์บนต้นไม้มากมาย - ตัวอย่างเช่น พีระมิดแสดงจำนวนสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศทะเล ( ซ้าย )
  • 9. 2. พีระมิดแสดงมวลชีวภาพ ( Pyramid of Biomass ) - ใช้แสดง มวลแห้งของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลำดับขั้นการกินของห่วงโซ่อาหารต่อหน่วยพื้นที่ของระบบนิเวศหนึ่งๆ โดยสิ่งมีชีวิตผู้ผลิตอยู่ที่ฐานของพีระมิด - ส่วนมากสิ่งมีชีวิตผู้ผลิตจะมีมวลชีวภาพมากที่สุด อย่างเช่น พีระมิดแสดงมวลชีวภาพในระบบนิเวศบนบก
  • 10. - แต่ก็มีกรณีที่ สิ่งมีชีวิตผู้ผลิตมีมวลชีวภาพรวมน้อยกว่ามวลชีวภาพรวมของสิ่งมีชีวิตผู้บริโภคขั้นสูง เช่น พีระมิดแสดงจำนวนมวลชีวภาพในทะเลที่แพลงก์ตอนพืชมีมวลชีวภาพรวมน้อยกว่าปลาฉลาม - หรือสิ่งมีชีวิตผู้ผลิตอาจจะ มีมวลชีวภาพน้อยเนื่องจากประกอบด้วยน้ำเป็นสัดส่วนที่มาก เช่น ผลแตงโม
  • 11. 3. พีระมิดแสดงพลังงาน ( Pyramid of Energy ) - ใช้แสดง ปริมาณพลังงานสะสมของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลำดับขั้นการกินของห่วงโซ่อาหารต่อหน่วยพื้นที่ของระบบนิเวศหนึ่งๆต่อเวลา 1 ปี โดยสิ่งมีชีวิตผู้ผลิตอยู่ที่ฐานของพีระมิดเช่นกัน - สิ่งมีชีวิตผู้ผลิตจะมีพลังงานสะสมมากกว่าสิ่งมีชีวิตผู้บริโภคในระบบนิเวศนั้นเสมอ
  • 12. - จากพีระมิดแสดงพลังงานของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพบว่า พลังงานสะสมในสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้กินจะมีค่าประมาณร้อยละ 10 ของสิ่งมีชีวิตผู้ถูกกิน ซึ่งก็คือ พลังงานสะสมจากสิ่งมีชีวิตผู้ถูกกินที่ถ่ายทอดให้แก่สิ่งมีชีวิตผู้กิน ตามกฎที่เรียกว่า “ กฎร้อยละสิบ ” ( Ten percent law )
  • 13. - พลังงานสะสมของสิ่งมีชีวิตผู้กินอีกร้อยละ 90 จะสูญเสียไปกับ ส่วนที่รับประทานและย่อยไม่ได้ของสิ่งมีชีวิตผู้ถูกกิน การแผ่รังสีความร้อนของสิ่งมีชีวิตผู้กิน รวมกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตผู้กิน
  • 14. วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ ( Material cycle ) สารต่างๆในระบบนิเวศ เช่น น้ำ , ธาตุคาร์บอน , ธาตุไนโตรเจน , ธาตุฟอสฟอรัส , ธาตุกำมะถัน ฯลฯ ล้วนมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งสิ้น ซึ่งสารเหล่านี้มีการหมุนเวียนในระบบนิเวศอยู่ตลอดเวลา การหมุนเวียนสารเป็นวัฏจักรในระบบนิเวศจะมี หลักการ 2 ประการ คือ การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร และ การทำปฏิกิริยาเคมีเพื่อให้เกิดสารใหม่
  • 15. 1. วัฏจักรของน้ำ - เป็นการหมุนเวียนของ “น้ำ” ( H 2 O ) ที่อาศัยกระบวนการต่อไปนี้ ... 1. การที่ไอน้ำในบรรยากาศกลั่นตัวตกลงมาบนพื้นโลกเป็น “หยาดน้ำฟ้า” ( Precipitation ) เช่น ฝน , หิมะ , ลูกเห็บ 2. การที่น้ำสะสมและไหลเวียนไปยังส่วนต่างๆบนแผ่นเปลือกโลก เช่น แหล่งน้ำจืดผิวดิน , แหล่งน้ำแข็ง , แหล่งน้ำเค็ม รวมทั้งแหล่งน้ำบาดาล 3. การที่น้ำจากแหล่งต่างๆบนพื้นผิวโลก ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์จนระเหยกลายเป็นไอน้ำ
  • 16. 4 . การนำน้ำเข้าสู่ร่างกายของสิ่งมีชีวิตเพื่อนำไปใช้ในดำรงชีวิต เช่น การดื่มน้ำของสัตว์ , การดูดน้ำในดินด้วยรากพืช ฯลฯ - หากการหมุนเวียนของน้ำในระบบนิเวศนั้น ไม่ผ่านสิ่งมีชีวิตจะถือเป็น “วัฏจักรของน้ำระยะสั้น” ส่วน การหมุนเวียนของน้ำในระบบนิเวศ ผ่านสิ่งมีชีวิตหรือกระบวนการของสิ่งมีชีวิตจะถือเป็น “วัฏจักรของน้ำระยะยาว” 5 . การที่สิ่งมีชีวิตปล่อยน้ำทั้งส่วนที่เหลือจากการใช้และที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีภายในสิ่งมีชีวิต เช่น การขับถ่ายปัสสาวะของสัตว์ , การคายน้ำผ่านทางปากใบของพืช ฯลฯ
  • 17.  
  • 18. 2. วัฏจักรของธาตุคาร์บอน - ธาตุคาร์บอน ( C ) เป็นธาตุที่เป็น ส่วนประกอบของสารอินทรีย์ เช่น โปรตีน , คาร์โบไฮเดรต , ไขมัน ฯลฯ รวมทั้ง สารอนินทรีย์อื่นๆ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ , สารประกอบคาร์บอนเนต 1. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( CO 2 ) ในบรรยากาศจะถูกเปลี่ยนมาเป็นสารประกอบคาร์โบไฮเดรตโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 2. สารอินทรีย์ทั้งหลาย เช่น สารประกอบคาร์โบไฮเดรต ฯลฯ จะถูกถ่ายทอดไปยังสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น สัตว์ ด้วยกระบวนการห่วงโซ่อาหาร
  • 19. 3. สิ่งมีชีวิตทั้งหลายจะนำเอาสารอินทรีย์ไปใช้ใน กระบวนการหายใจระดับเซลล์เพื่อสร้างพลังงาน แล้วปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ 4. เมื่อสิ่งมีชีวิตทั้งหลายตายลงก็จะกลายเป็น “ซากอินทรีย์” สะสมในชั้นดินและหินในรูปของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน , ธาตุคาร์บอน ( C ) หรือสารประกอบคาร์บอเนต ( CO 3 2- ) 5. มนุษย์ขุดเอา สารประกอบไฮโดรคาร์บอนและธาตุคาร์บอนมาทำปฏิกิริยาเผาไหม้เพื่อให้พลังงาน แล้วปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ , ก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ และเขม่า ขึ้นสู่บรรยากาศจำนวนมาก
  • 20.  
  • 21. 3. วัฏจักรของธาตุไนโตรเจน - ธาตุไนโตรเจน ( N ) เป็นธาตุที่เป็น ส่วนประกอบของสารอินทรีย์ เช่น โปรตีน , สารพันธุกรรม , ของเสียต่างๆ รวมทั้ง สารอนินทรีย์อื่น เช่น สารประกอบแอมโมเนียม , สารประกอบไนเตรต ซึ่งพืชต้องการมาก 1. ก๊าซไนโตรเจน ( N 2 ) ในบรรยากาศจะถูกเปลี่ยนมาเป็นสารประกอบแอมโมเนียม ( NH 4 + ) และสารประกอบไนเตรต ( NO 3 - ) โดยแบคทีเรียที่ตรึงก๊าซไนโตรเจนได้ เช่น Rhizobium sp. 2. พืชนำสารประกอบแอมโมเนียมและสารประกอบไนเตรตไปใช้ประโยชน์
  • 22. 3. สารที่มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ เช่น โปรตีน , สารพันธุกรรม ฯลฯ จะถูกถ่ายทอดไปยังสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น สัตว์ ด้วยกระบวนการห่วงโซ่อาหาร 4. สัตว์ขับถ่ายของเสียต่างๆในรูปของแอมโมเนีย , ยูเรีย , กรดยูริกซึ่งมีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบลงสู่ดิน 5. สารประกอบแอมโมเนียม ( NH 4 + ) และสารประกอบไนเตรต ( NO 3 - ) ในดินจะถูกเปลี่ยนเป็นก๊าซไนโตรเจน ( N 2 ) ขึ้นสู่บรรยากาศโดยแบคทีเรียที่กระบวนการดีไนตริฟิเคชั่น ( Denitrification )
  • 23.  
  • 24. 4. วัฏจักรของธาตุฟอสฟอรัส - ธาตุฟอสฟอรัส ( P ) เป็นธาตุที่เป็น ส่วนประกอบของสารอินทรีย์ เช่น สารพันธุกรรม , สารพลังงานสูง ATP , กระดูก รวมทั้ง สารอนินทรีย์อื่น เช่น สารประกอบฟอสเฟต ซึ่งพืชต้องการมาก 1. การไหลของน้ำบนผิวโลกจะชะเอาสารประกอบฟอสเฟต ( PO 4 3- ) ไปสะสมที่บริเวณพื้นท้องทะเล จนนานเข้าก็อัดแน่นกลายเป็น “หินฟอสเฟต” 2. หินฟอสเฟตบางส่วน จะถูกการยกตัวของแผ่นเปลือกโลกยกขึ้นมา แล้วถูกฝนชะล้างให้ผุพังพร้อมกับผสมกับซากอินทรีย์จนกลายเป็นดิน
  • 25. 3. พืชนำเอาสารประกอบฟอสเฟตจากดินไปใช้ในการดำรงชีวิต เช่น การสังเคราะห์สารพันธุกรรม หรือ สารพลังงานสูง ATP 4. สัตว์จะได้รับธาตุฟอสเฟต จากสารประกอบอินทรีย์ซึ่งได้มาจากกระบวนการห่วงโซ่อาหาร แล้วนำไปใช้ในการดำรงชีวิตเช่นเดียวกับพืช แต่สัตว์มีกระดูกสันหลังจะนำสารประกอบฟอสเฟตบางส่วนไปสร้างเป็นโครงร่างแข็งภายใน 5. ซากอินทรีย์ทั้งหลายจะถูกย่อยสลายโยสิ่งมีชีวิตผู้ย่อยสลายเพื่อให้เกิดสารประกอบฟอสเฟตลงสู่ดินอีกครั้ง
  • 26.  
  • 27. การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ ( Succession ) การเปลี่ยนแปลงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศหนึ่งๆเมื่อกาลเวลาผ่านไป โดยกลุ่มสิ่งมีชีวิตจะสูญหายไปและกลุ่มสิ่งมีชีวิตใหม่จะเข้ามาแทนที่ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ มีการรบกวนสมดุลของระบบนิเวศ ซึ่งมี 2 ประเภท ได้แก่ ...
  • 28. 1. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ - เป็นการเปลี่ยนแปลงแทนที่ที่เริ่มจากบริเวณที่ปราศจากสิ่งมีชีวิตมาก่อน เช่น หน้าดินเปิดขึ้นใหม่ แล้วจึงมี “สิ่งมีชีวิตผู้บุกเบิก” ( Pioneer species ) เข้ามาเจริญเติบโต เช่น มอสส์ , ไลเคนส์ - เมื่อมอสส์และไลเคนส์เจริญมากจะเกิดภาวะแก่งแย่งแข่งขัน จนตายไปแล้วทิ้งซากอินทรีย์เอาไว้เป็นทรัพยากรแก่กลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่อไปได้เจริญต่อ
  • 29. - เมื่อกลุ่มสิ่งมีชีวิตหลายกลุ่มตายลงไปก็จะเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดินบริเวณให้อุดมสมบูรณ์มากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งเอื้ออำนวยให้เกิด “กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสูงสุด” ( Climax community ) นั่นก็คือกลุ่มพืชประจำในแต่ละชีวนิเวศ ทำให้ระบบนิเวศเกิดสภาพสมดุล “ สิ่งมีชีวิตบุกเบิก” “ กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสูงสุด”
  • 30. 0 ปี 500 ปี - การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบนี้จะ ใช้เวลายาวนานมาก กว่าระบบนิเวศจะอยู่ในสภาพสมดุล
  • 32. 2. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ - เป็นการเปลี่ยนแปลงแทนที่ที่เริ่มจากบริเวณที่ๆมีการทำลายล้างสิ่งมีชีวิตกลุ่มเดิมไปก่อนด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ไฟป่า หรือการทำเกษตร แล้วจึงมีสิ่งมีชีวิตบุกเบิกเจริญขึ้นมา
  • 33. - การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบนี้จะ เริ่มต้นจากที่ๆมีความอุดมสมบูรณ์ของแร่ธาตุในดินหลังจากการทำลายล้าง ซึ่งจะใช้เวลาแทนที่ด้วยกลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสูงสุด รวดเร็วกว่า การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ