SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Scaffolding (การใหความชวยเหลือ)


                                                          รศ.ดร. สุมาลี ชัยเจริญ และ ดร.อิศรา กานจักร
                                                                       สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา
                                                               คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

         ฐานการชวยเหลือมีพื้นฐานมาจากทฤษฎี Social Constructivism ซึ่งเปนทฤษฎีที่มีรากฐานมาจาก
Vygotsky ซึ่งมีแนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพในการพัฒนาดานพุทธิปญญาที่อาจมีขอจํากัดเกี่ยวกับชวงของการ
พัฒนาที่เรียกวา Zone of Proximal Development ถาผูเรียนอยูต่ํากวา Zone of Proximal
Development จําเปนที่จะตองไดรับการชวยเหลือในการเรียนรูที่เรียกวา Scaffolding (สุมาลี ชัยเจริญ,
2545)




             ผูเรียนอยูเหนือ Zo-ped                       ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง


                          Zone of Proximal Development

             ผูเรียนอยูต่ํากวา Zo-ped                   ผูเรียนจําเปนตองไดรับการชวยเหลือ
                                                                         ในการเรียนรู



       จากวิธี ก ารของ Zo-ped ที่ มี ก ารสนับ สนุ นเพื่อ ให ก ารช วยเหลื อ และการสนับ สนุ นนี้ เรีย กว า
Scaffolding(การใหความชวยเหลือ โดยไมหวังผลตอบแทน)อันที่จริง Zo-ped คือการอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง
ของ scaffolding หรือ affordance (การให) สิ่งแวดลอม การใหความชวยเหลือ รวมทั้งการสนับสนุนเฉพาะ
ทางดานอื่น ๆ ดวยและหมายรวมถึงสิ่งที่สรางขึ้นในสิ่งแวดลอมอันเปนการใหความสนับสนุน ที่ดีเหมือนกับ
บริบททางดานวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร สิ่งแวดลอมทางการศึกษา สวนบุคคลที่นํา Zo-ped ไปใชใน
บริบทการเรียนการสอนนั้น เปน บทบาทของครู ในรายละเอียดทีมากขึ้น ครูอาจใชวิธการนี้เพื่อใหงายในการ
                                                                ่                 ี
ดูแลความคิดความเขาใจทั่วไปของนักเรียน
จากแนวคิดดังกลาว Scaffolding เปนเหมือนสิ่งแวดลอมในการเรียนรูและใหการสงเสริมสนับสนุนให
ผูเรียนเจริญเติบโตทางดานความคิดซึ่งเปนยุทธวิธีในการจัดการเรียนการสอนซึ่งมีตนกําเนิดมาจาก Vygotsky
ที่เชื่อวาผูเรียนสามารถมีความอิสระในการใช สิ่งที่อยูภายใตความสามารถของพวกเขา เมื่อใช Scaffolding
ที่มีการเตรียมการใหความชวยเหลือและสนับสนุนตามลักษณะของโครงสรางความรูที่จะใหผูเรียนไดสราง
ความรูนั้น Scaffolding จะเปนโครงสรางทางความรูที่แข็งแกรงและเปนพื้นฐาน เมื่อผูเรียนใช Scaffolding
ผูเ รี ยนจะไดรับ การสง เสริม สนับ สนุน ระหวา งการเรียนรู เ พราะ Scaffoldingจะเปน การให ท างเลื อกที่
หลากหลายใหกับผูเรียนในการแสวงหาความรู Scaffolding ไดนํามาใชในการนําทางการจัดการเรียนการ
สอนของผูเรียนไปจนจบการเรียนรู เพื่อใหตรงกับจุดประสงคของการสอนซึ่งครูตองจัดสภาพแวดลอม(รวมถึง
กิจกรรมที่สอน) เพื่อชวยผูเรียนใหเกิดการเรียนรู
           Griffin & Cole (1984) ไดใหแนวความคิดเกี่ยวกับการใหความชวยเหลือ Scaffolding วาคือบท
สนทนาระหวางเด็กกับตัวเขาเองในอนาคต ซึ่งไมใชบทสนทนาระหวางเด็กและอดีตของผูใหญที่ผานมาแลว ซึ่ง
Greenfield(1989) กลาววา คุณลักษณะที่สําคัญของฐานใหความชวยเหลือ(Scaffolding) ที่ชวยสงเสริมให
ผูเรียนเกิดโครงสรางความรูมีอยู 5 ลักษณะ ดังนี้
           1. เปนสิ่งที่ชวยสนับสนุน
           2. เปรียบเสมือนเครื่องมือในการเรียนรู
           3. เปนสิ่งชวยขยายฐานความรูของผูเรียน
           4. อนุญาตใหผูเรียนทําภารกิจงานใหสําเร็จเทาที่เปนไปได
           5. ผูเรียนสามารถเลือกสิ่งที่ตนเองตองการจะรูไดตรงเปาหมาย
           การสอนเกิดขึ้นโดยการมีป ฏิสัม พันธกันระหวางผูที่เ ปนมือสมัค รเลน(Novice)กับ ผูที่ เ ชี่ยวชาญ
(Expert) ซึ่งทั้งสองจะตองมีการสื่อสารรวมกัน มือสมัครเลนสามารถที่จะพัฒนามาเปนผูเชี่ยวชาญไดเมื่อเขา
เจอปญหาแลวสามารถแกไขหรือทําความเขาใจกับปญหานั้นไดผูที่เชี่ยวชาญจะคอยเปนฐานใหความชวยเหลือ
เพื่อทําใหความสามารถของคนที่เปนมือสมัครเลนไดรับการพัฒนาและปรับปรุงแกไขใหเหมาะสม สงเสริมใหผู
ที่เปนมือสมัครเลนเรียนรูไดดวยตนเองไดอยางอิสระ(Rogoff & Gardner,1984) สิ่งนี้เปนผลมาจาก Zo-ped
ของ Vygotsky ที่เชื่อวาคนที่อยูต่ํากวาระดับที่จะสามารถเรียนรูไดดวยตนเองนั้นตองการการชวยเหลือจากผูที่
เชี่ยวชาญไมวาจะเปนคนหรือเทคโนโลยีตางๆ เพราะความสําเร็จของพวกเขาไมสามารถเกิดขึ้นไดโดยตนเอง
เพียงลําพัง (สุมาลี ชัยเจริญ, 2545)
ฐานการชวยเหลือ (Scaffolding) ตามหลักการของ Hannafin
        ฐานการชวยเหลือ เปนกระบวนการซึ่ง ความพยายามในการเรียนรูจะไดรับการสนับสนุนในขณะที่เขา
สู OLEs ฐานความชวยเหลือสามารถที่จะแยกความแตกตางโดยกลไกการทํางานและระบบการทํางาน
ทางดานกลไกจะเนนวิธีการหรือหลักการ ซึ่งฐานความชวยเหลือนําเสนอในขณะที่ระบบการทํางานจะเนน
วัตถุประสงค แตละคนพยายามแกปญหาทั้งที่เปนปญหาที่เหมาะสมหรือความตองการในการเรียนรูของแตละ
คน สะทอนใหเห็นไดจากการเขาสูบริบท ดังที่แสดงในตารางที่ 1 OLEs ความซับซอนของ Scaffolding จะ
แปรผันตามการกําหนดหรือสรางปญหา

ตารางที่ 1 แสดงการจําแนกประเภทของฐานความชวยเหลือของ OLEs
         รูปแบบของฐานความชวยเหลือ                หลักการที่เกี่ยวของ และ กลไก
ฐานความช ว ยเหลื อ การสร า งความคิ ด รวบยอด
(Conceptual)
    แนะแนวสํ า หรั บ สิ่ ง ที่ ต องพิ จารณา ข อควร         เสนอแนะเกี่ยวกับการใชเครื่องมือในขั้นตอนที่
      พิจารณา เมื่อระบุภารกิจของปญหา                          เฉพาะในการแกปญหา
                                                              นําเสนอผูเรียนโดยใชการบอกที่ชัดเจนและการ
                                                               บอกใบที่จําเปน(การชวยเหลือของ Vygotsky)
                                                              นําเสนอแผนที่โครงสรางและตนไมความรู

ฐานความชวยเหลือดานกลยุทธ (Strategic)                       กระตุ นการตอบสนองอยา งสมองกลตอการใช
    แนะแนวในการวิ เคราะหแ ละวิธีการเรี ย นรู                ระบบ แนะนํ า หลั ก การที่ เ ป น ทางเลื อ กหรื อ
      ภารกิจและปญหา                                           กระบวนการ
                                                              พิจารณาเกี่ยวกับจัดเตรียมคําถามที่เริ่มคน
                                                              จัดหาคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญ

1. ฐานความชวยเหลือการสรางความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding)
        Conceptual Scaffolding จะจัดหามาใหผูเรียนเมื่อปญหาที่กําลังศึกษาไดถูกกําหนดขึ้น นั่นก็คือ
Externally impose หรือการนําเขาสูบริบท เมื่อปญหาและขอบขายถูกกําหนดขึ้นนั้น อาจเปนไปไดที่ตองใช
หลั ก การที่ ต องเรี ย นรู ม ากอ นเป น สิ่ ง จํ าเป น ในขอบเขตเนื้ อ หาที่ต อ งการศึ ก ษา การเกิ ด ความเข า ใจที่
คลาดเคลื่อน (Misconception) ในหลักการทางวิท ยาศาสตร และจึงมีความจําเปนที่จะตองใหพื้นฐานที่
แข็ง แกรง สําหรับ การคาดคะเน เช น ความยากในการสรางเป นความคิดรวบยอด ดั ง นั้น Conceptual
Scaffolding เปนสิ่งที่ออกแบบมาเพื่อชวยผูเรียนในการใหเหตุผล โดยผานทางปญหาที่ซับซอนและยัง
สงสัย เชนเดียวกับความคิดรวบยอดที่มักจะเกิดความเขาใจที่คลาดเคลื่อน การบอกใบ (Hint) สามารถ
แนะแนวทางใหผูเรียนสามารถเขาสูแหลงทรัพยากร การใชเครื่องมือจะไดรับการเสนอแนะเพื่อใหสามารถ
ทําความเขาใจสถานการณที่เปนปญหา
        Conceptual Scaffolding จะแนะแนวผูเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ควรจะนํามาพิจารณา นั่นคือสิ่งที่
จะตองแยกแยะ ความรูทเปนความคิดรวบยอดที่สําคัญ ที่เกี่ยวของกับปญหา หรือการสรางโครงสรางที่จะ
                               ี่
ทําโดยแยกไปสูการจัดหมวกหมูของความคิดรวบยอด โครงสรางนี้อาจทําไดเ ปน กลไก การจัดลําดับ
ความสัมพันธ โดยใชภาพกราฟกแสดงความคิดเห็น หรือเปนการแสดงเปนเคาโครงของลักษณะที่แยกเปนสวย
ยอย หรืออาจเปนสารสนเทศหรือการบอกใบโดยผูเชี่ยวชาญ
         ใน OLEs Conceptual Scaffolding จะจัดเตรียมแนวคิดที่หลากหลายที่เปนปญหาที่เกี่ยวของกับ
ความคิดรวบยอดที่จ ะศึก ษา อาจไมไดเปนการแนะนําเกี่ยวกับ แหลงทรัพยากรอยางชัดเจน ตัวอยางเชน
สิ่งแวดลอมทางการเรียนรู Jasper ไดใชวีดิโอในการนําเสนอ ซึ่งอาจไมไดแยกเสียงออกตางหากจากความคิด
รวบยอดที่ เ ฉพาะเจาะจง แต อาจเปนการนํา เสนอตัวอยา งของสิ่งที่ควรจะตองพิจารณาเกี่ย วกับการ
แกปญหาดังกลาว

2. ฐานความชวยเหลือดานกลยุทธ (Strategic Scaffolding)
       เป น วิธี ก ารที่ เ น นเกี่ ย วกั บ วิธี ก ารที่ เ ป นทางเลื อ ก ที่ อ าจเป นสิ่ ง ที่ พิสู จ นว า เปน สิ่ ง ที่มี ป ระโยชน
Strategic Scaffoldingจะสนับสนุนการคิดวิเคราะห การวางแผนยุทธศาสตร กลยุทธ การตัดสินใจ
ระหวางการเรี ย นรูแบบเปด จะเนนเกี่ย วกับ วิ ธีการสํ าหรับ แยกแยะและเลื อกสารสนเทศที่ ตองการ
ประเมิน แหลง ทรัพยากรที่จัดหาได และเชื่อมความเกี่ย วพัน ธระหวา งความรูความรูที่มีมากอนและ
ประสบการณ ดังเชนตัวอยาง เรื่อง Great Solar System Rescue (1992) ไดเสนอทางเลือกที่จะเขาถึง
ปญหาในทางปฏิบัติ จัดหาระดับของขอแนะนํา คําถามที่ตองการพิสูจน สามารถเปนกลยุทธที่นํามาใช ซึ่งจะ
พยายามใหไดเชื่อมความเกี่ยวของสิ่งตางๆ ในการแกปญหา แตไมใชการประนีประนอมในการแกปญหา
       กลยุทธอื่นๆ ของ Strategic Scaffolding จะไปกระตุนใหผูเรียนตื่นตัวกับ เครื่องมือและแหลง
ทรัพยากรที่อาจจะมีประโยชนภายใตสถานการณนั้น และแนะแนวทางการใช อาจเปนการจัดขอคําถามที่จะ
ชวยในการพิจารณา ในขณะที่ทําการประเมินปญหาเชนเดียวกับการ บอกใบวา เครื่องมือหรือแหลงทรัพยากร
ใดมีสารสนเทศที่ตองการในการแกปญหา
หลักการออกแบบ Scaffolding (การใหความชวยเหลือ)
                               ตามหลักการของ Hannafin

1. การออกแบบฐานความชวยเหลือการสรางความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding)
      Conceptual Scaffolding
       เปนสิ่งที่ชวยทําใหผูเรียนสรางความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
       แยกแยะความรูที่เปนความคิดรวบยอดที่สําคัญ ที่เกี่ยวของกับปญหา
       การสรางโครงสรางที่จะทําโดยแยกไปสูการจัดหมวดหมูของความคิดรวบยอด เชน
         - กลไกการจัดลําดับความสัมพันธ โดยใชภาพกราฟกแสดงความคิดเห็น
         - การแสดงเปนเคาโครงของลักษณะที่แยกเปนสวยยอย
         - สารสนเทศหรือการบอกใบโดยผูเชี่ยวชาญ

ตัวอยาง
         สมมติวาตอนนี้ทานเปนนักโภชนาการ ประจําศูนยสุขภาพซึ่งมีหนาที่ในการใหคําแนะนําเกี่ยวกับการ
ดูแลสุขอนามัยของประชาชน ในวันนี้มีผูปวยรายหนึ่ง ชื่อ นายสมชาย เปนคนที่มีกลามเนื้อไมแข็งแรง ผอม
แหง แรงนอย แคระแกรน เหนื่อยงาย เขาเปนคนที่ชอบกินผักและผลไม แตไมชอบกินเนื้อสัตว ในฐานะที่
ทานเปนนักโภชนาการจะมีวิธีการชวยเหลือนายสมชายอยางไร เพื่อใหกลับมามีสุขภาพที่แข็งแรงและมีรูปราง
ที่สงางามสมชายเหมือนชื่อ
         ภารกิจ
         คุณตองชวยนายศรรามในการเลือกซื้ออาหารกลับไปรับประทานที่บาน โดยคุณจะตองสามารถ
      • ทําการวิเคราะหวานายสมชายมีปญหาเรื่องสุขภาพเนื่องมาจากสาเหตุใดพรอมใหเหตุผล
      • อธิบายแนวทางในการแกปญหาสุขภาพของนายสมชายพรอมใหเหตุผล
      • บอกวิธีการปฏิบัติตนเพื่อปองกันการเกิดปญหาดังกลาว
Conceptual Scaffolding
      สั ตว์
                            แหล่งทีมา                    โปรตีน                      ประโยชน์
       พืช

                                          เป็ น สารอาหารทีมากในเนื อสัต ว์
                                          ช่ ว ย ใ น ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง แ ล ะ
                                          ซ่อมแซมส่วนทีสึ กหรอ


2. การออกแบบฐานการชวยเหลือดานกลยุทธในการแกปญหา Strategic Scaffolding
        Strategic Scaffolding จะสนับสนุนการคิดวิเ คราะห การวางแผนยุท ธศาสตร กลยุท ธ การ
ตัดสินใจระหวางการเรียนรู จะเนนเกี่ยวกับวิธีการสําหรับจําแนกและเลือกสารสนเทศที่ตองการ ประเมินแหลง
ทรัพยากรที่จัดหาได และเชื่อมความเกี่ยวพันธระหวางความรูที่มีมากอนและประสบการณ อาจเปนการจัดขอ
คําถามที่จะชวยในการพิจารณา ในขณะที่ทําการประเมินปญหาเชนเดียวกับการ บอกใบวา เครื่องมือหรือ
แหลงทรัพยากรใดมีสารสนเทศที่ตองการในการแกปญหา
Key word ที่สําคัญเกี่ยวกับ Strategic Scaffolding
         แนะนําเกี่ยวกับการวิเคราะหสถานการณที่เปนปญหา เชน คนหา Key word ที่เกี่ยวของ
         วิเคราะหประเด็นหลักหรือ Key word ที่สําคัญของปญหานั้นๆ
         วิเคราะหแนวทางใหไดซึ่งแหลงขอมูลที่ใชในการแกปญหา
         เชื่อมโยงความสัมพันธระหวาง Key word ของปญหากับ Key word ในแหลงขอมูล ที่จ ะ
             นําไปใชในการแกปญหา
         ตองเปนการแนะนํา หรือบอกใบ แนวทางการแกปญหา และกระตุนใหเกิดการคิดใน ระดับสูง
             (Higher-order thinking) ไมใชเปนการบอกคําตอบ
Strategic Scaffolding
    • วิเคราะหหา Key Concept ของปญหาวาคืออะไร
    • พิจารณาหา Key Word ของปญหาแลวนําไปเชื่อมโยงกับ Key Word
          ในแหลงขอมูลที่จะใชแกปญหา
    • จากสถานการณ ตองการหาวิธีการแกไขปญหาสุขภาพของนาย
          สมชาย ที่กลามเนื้อไมแข็งแรง เหนื่อยงาย รางกายผายผอม และที่
          สําคัญไมชอบกินเนื้อสัตว จากสภาพดังกลาวทานตองพิจาณาวา
          สาเหตุที่นาจะเปนไปไดนาจะมาจากอะไร

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciencesKruBeeKa
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์Fern's Supakyada
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมNaracha Nong
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expertPtato Ok
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kwPtato Ok
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ศน. โมเมจ้า
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมSana T
 

Was ist angesagt? (20)

09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 
09 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv209 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
 

Andere mochten auch

การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2Tar Bt
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Tar Bt
 
A look forward etc research_new
A look forward etc research_newA look forward etc research_new
A look forward etc research_newTar Bt
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนTar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Tar Bt
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Tar Bt
 
Epistemology
EpistemologyEpistemology
EpistemologyTar Bt
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environmentTar Bt
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environmentTar Bt
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchTar Bt
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
ScaffoldingTar Bt
 
Madras School of Economics General Quiz 2014 Finals
Madras School of Economics General Quiz 2014 FinalsMadras School of Economics General Quiz 2014 Finals
Madras School of Economics General Quiz 2014 FinalsRamesh Natarajan
 

Andere mochten auch (18)

การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
Temp
TempTemp
Temp
 
A look forward etc research_new
A look forward etc research_newA look forward etc research_new
A look forward etc research_new
 
Beauty of Mathematic
Beauty of MathematicBeauty of Mathematic
Beauty of Mathematic
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Temp
TempTemp
Temp
 
Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012
 
Epistemology
EpistemologyEpistemology
Epistemology
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology Research
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
Scaffolding
 
Madras School of Economics General Quiz 2014 Finals
Madras School of Economics General Quiz 2014 FinalsMadras School of Economics General Quiz 2014 Finals
Madras School of Economics General Quiz 2014 Finals
 

Ähnlich wie Sc

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2kanwan0429
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2kanwan0429
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1Ptato Ok
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444gam030
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6benty2443
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6wanneemayss
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6nattawad147
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6kanwan0429
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6kanwan0429
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 

Ähnlich wie Sc (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 

Mehr von Tar Bt

Reviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesReviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesTar Bt
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeTar Bt
 
Show case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentShow case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentTar Bt
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learningTar Bt
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environmentTar Bt
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatioTar Bt
 
Innovative teacher
Innovative teacherInnovative teacher
Innovative teacherTar Bt
 
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาTar Bt
 
Scopus_07
Scopus_07Scopus_07
Scopus_07Tar Bt
 
Scopus_06
Scopus_06Scopus_06
Scopus_06Tar Bt
 
Scopus_05
Scopus_05Scopus_05
Scopus_05Tar Bt
 
Scopus_04
Scopus_04Scopus_04
Scopus_04Tar Bt
 
Scopus_03
Scopus_03Scopus_03
Scopus_03Tar Bt
 
Scopus_02
Scopus_02Scopus_02
Scopus_02Tar Bt
 
Scopus_01
Scopus_01Scopus_01
Scopus_01Tar Bt
 
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Tar Bt
 

Mehr von Tar Bt (18)

Reviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesReviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologies
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
Show case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentShow case global smart learning environment
Show case global smart learning environment
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environment
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatio
 
Innovative teacher
Innovative teacherInnovative teacher
Innovative teacher
 
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
 
Scopus_07
Scopus_07Scopus_07
Scopus_07
 
Scopus_06
Scopus_06Scopus_06
Scopus_06
 
Scopus_05
Scopus_05Scopus_05
Scopus_05
 
Scopus_04
Scopus_04Scopus_04
Scopus_04
 
Scopus_03
Scopus_03Scopus_03
Scopus_03
 
Scopus_02
Scopus_02Scopus_02
Scopus_02
 
Scopus_01
Scopus_01Scopus_01
Scopus_01
 
Pb
PbPb
Pb
 
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

Sc

  • 1. Scaffolding (การใหความชวยเหลือ) รศ.ดร. สุมาลี ชัยเจริญ และ ดร.อิศรา กานจักร สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ฐานการชวยเหลือมีพื้นฐานมาจากทฤษฎี Social Constructivism ซึ่งเปนทฤษฎีที่มีรากฐานมาจาก Vygotsky ซึ่งมีแนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพในการพัฒนาดานพุทธิปญญาที่อาจมีขอจํากัดเกี่ยวกับชวงของการ พัฒนาที่เรียกวา Zone of Proximal Development ถาผูเรียนอยูต่ํากวา Zone of Proximal Development จําเปนที่จะตองไดรับการชวยเหลือในการเรียนรูที่เรียกวา Scaffolding (สุมาลี ชัยเจริญ, 2545) ผูเรียนอยูเหนือ Zo-ped ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง Zone of Proximal Development ผูเรียนอยูต่ํากวา Zo-ped ผูเรียนจําเปนตองไดรับการชวยเหลือ ในการเรียนรู จากวิธี ก ารของ Zo-ped ที่ มี ก ารสนับ สนุ นเพื่อ ให ก ารช วยเหลื อ และการสนับ สนุ นนี้ เรีย กว า Scaffolding(การใหความชวยเหลือ โดยไมหวังผลตอบแทน)อันที่จริง Zo-ped คือการอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง ของ scaffolding หรือ affordance (การให) สิ่งแวดลอม การใหความชวยเหลือ รวมทั้งการสนับสนุนเฉพาะ ทางดานอื่น ๆ ดวยและหมายรวมถึงสิ่งที่สรางขึ้นในสิ่งแวดลอมอันเปนการใหความสนับสนุน ที่ดีเหมือนกับ บริบททางดานวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร สิ่งแวดลอมทางการศึกษา สวนบุคคลที่นํา Zo-ped ไปใชใน บริบทการเรียนการสอนนั้น เปน บทบาทของครู ในรายละเอียดทีมากขึ้น ครูอาจใชวิธการนี้เพื่อใหงายในการ ่ ี ดูแลความคิดความเขาใจทั่วไปของนักเรียน
  • 2. จากแนวคิดดังกลาว Scaffolding เปนเหมือนสิ่งแวดลอมในการเรียนรูและใหการสงเสริมสนับสนุนให ผูเรียนเจริญเติบโตทางดานความคิดซึ่งเปนยุทธวิธีในการจัดการเรียนการสอนซึ่งมีตนกําเนิดมาจาก Vygotsky ที่เชื่อวาผูเรียนสามารถมีความอิสระในการใช สิ่งที่อยูภายใตความสามารถของพวกเขา เมื่อใช Scaffolding ที่มีการเตรียมการใหความชวยเหลือและสนับสนุนตามลักษณะของโครงสรางความรูที่จะใหผูเรียนไดสราง ความรูนั้น Scaffolding จะเปนโครงสรางทางความรูที่แข็งแกรงและเปนพื้นฐาน เมื่อผูเรียนใช Scaffolding ผูเ รี ยนจะไดรับ การสง เสริม สนับ สนุน ระหวา งการเรียนรู เ พราะ Scaffoldingจะเปน การให ท างเลื อกที่ หลากหลายใหกับผูเรียนในการแสวงหาความรู Scaffolding ไดนํามาใชในการนําทางการจัดการเรียนการ สอนของผูเรียนไปจนจบการเรียนรู เพื่อใหตรงกับจุดประสงคของการสอนซึ่งครูตองจัดสภาพแวดลอม(รวมถึง กิจกรรมที่สอน) เพื่อชวยผูเรียนใหเกิดการเรียนรู Griffin & Cole (1984) ไดใหแนวความคิดเกี่ยวกับการใหความชวยเหลือ Scaffolding วาคือบท สนทนาระหวางเด็กกับตัวเขาเองในอนาคต ซึ่งไมใชบทสนทนาระหวางเด็กและอดีตของผูใหญที่ผานมาแลว ซึ่ง Greenfield(1989) กลาววา คุณลักษณะที่สําคัญของฐานใหความชวยเหลือ(Scaffolding) ที่ชวยสงเสริมให ผูเรียนเกิดโครงสรางความรูมีอยู 5 ลักษณะ ดังนี้ 1. เปนสิ่งที่ชวยสนับสนุน 2. เปรียบเสมือนเครื่องมือในการเรียนรู 3. เปนสิ่งชวยขยายฐานความรูของผูเรียน 4. อนุญาตใหผูเรียนทําภารกิจงานใหสําเร็จเทาที่เปนไปได 5. ผูเรียนสามารถเลือกสิ่งที่ตนเองตองการจะรูไดตรงเปาหมาย การสอนเกิดขึ้นโดยการมีป ฏิสัม พันธกันระหวางผูที่เ ปนมือสมัค รเลน(Novice)กับ ผูที่ เ ชี่ยวชาญ (Expert) ซึ่งทั้งสองจะตองมีการสื่อสารรวมกัน มือสมัครเลนสามารถที่จะพัฒนามาเปนผูเชี่ยวชาญไดเมื่อเขา เจอปญหาแลวสามารถแกไขหรือทําความเขาใจกับปญหานั้นไดผูที่เชี่ยวชาญจะคอยเปนฐานใหความชวยเหลือ เพื่อทําใหความสามารถของคนที่เปนมือสมัครเลนไดรับการพัฒนาและปรับปรุงแกไขใหเหมาะสม สงเสริมใหผู ที่เปนมือสมัครเลนเรียนรูไดดวยตนเองไดอยางอิสระ(Rogoff & Gardner,1984) สิ่งนี้เปนผลมาจาก Zo-ped ของ Vygotsky ที่เชื่อวาคนที่อยูต่ํากวาระดับที่จะสามารถเรียนรูไดดวยตนเองนั้นตองการการชวยเหลือจากผูที่ เชี่ยวชาญไมวาจะเปนคนหรือเทคโนโลยีตางๆ เพราะความสําเร็จของพวกเขาไมสามารถเกิดขึ้นไดโดยตนเอง เพียงลําพัง (สุมาลี ชัยเจริญ, 2545) ฐานการชวยเหลือ (Scaffolding) ตามหลักการของ Hannafin ฐานการชวยเหลือ เปนกระบวนการซึ่ง ความพยายามในการเรียนรูจะไดรับการสนับสนุนในขณะที่เขา สู OLEs ฐานความชวยเหลือสามารถที่จะแยกความแตกตางโดยกลไกการทํางานและระบบการทํางาน ทางดานกลไกจะเนนวิธีการหรือหลักการ ซึ่งฐานความชวยเหลือนําเสนอในขณะที่ระบบการทํางานจะเนน วัตถุประสงค แตละคนพยายามแกปญหาทั้งที่เปนปญหาที่เหมาะสมหรือความตองการในการเรียนรูของแตละ
  • 3. คน สะทอนใหเห็นไดจากการเขาสูบริบท ดังที่แสดงในตารางที่ 1 OLEs ความซับซอนของ Scaffolding จะ แปรผันตามการกําหนดหรือสรางปญหา ตารางที่ 1 แสดงการจําแนกประเภทของฐานความชวยเหลือของ OLEs รูปแบบของฐานความชวยเหลือ หลักการที่เกี่ยวของ และ กลไก ฐานความช ว ยเหลื อ การสร า งความคิ ด รวบยอด (Conceptual)  แนะแนวสํ า หรั บ สิ่ ง ที่ ต องพิ จารณา ข อควร  เสนอแนะเกี่ยวกับการใชเครื่องมือในขั้นตอนที่ พิจารณา เมื่อระบุภารกิจของปญหา เฉพาะในการแกปญหา  นําเสนอผูเรียนโดยใชการบอกที่ชัดเจนและการ บอกใบที่จําเปน(การชวยเหลือของ Vygotsky)  นําเสนอแผนที่โครงสรางและตนไมความรู ฐานความชวยเหลือดานกลยุทธ (Strategic)  กระตุ นการตอบสนองอยา งสมองกลตอการใช  แนะแนวในการวิ เคราะหแ ละวิธีการเรี ย นรู ระบบ แนะนํ า หลั ก การที่ เ ป น ทางเลื อ กหรื อ ภารกิจและปญหา กระบวนการ  พิจารณาเกี่ยวกับจัดเตรียมคําถามที่เริ่มคน  จัดหาคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญ 1. ฐานความชวยเหลือการสรางความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding) Conceptual Scaffolding จะจัดหามาใหผูเรียนเมื่อปญหาที่กําลังศึกษาไดถูกกําหนดขึ้น นั่นก็คือ Externally impose หรือการนําเขาสูบริบท เมื่อปญหาและขอบขายถูกกําหนดขึ้นนั้น อาจเปนไปไดที่ตองใช หลั ก การที่ ต องเรี ย นรู ม ากอ นเป น สิ่ ง จํ าเป น ในขอบเขตเนื้ อ หาที่ต อ งการศึ ก ษา การเกิ ด ความเข า ใจที่ คลาดเคลื่อน (Misconception) ในหลักการทางวิท ยาศาสตร และจึงมีความจําเปนที่จะตองใหพื้นฐานที่ แข็ง แกรง สําหรับ การคาดคะเน เช น ความยากในการสรางเป นความคิดรวบยอด ดั ง นั้น Conceptual Scaffolding เปนสิ่งที่ออกแบบมาเพื่อชวยผูเรียนในการใหเหตุผล โดยผานทางปญหาที่ซับซอนและยัง สงสัย เชนเดียวกับความคิดรวบยอดที่มักจะเกิดความเขาใจที่คลาดเคลื่อน การบอกใบ (Hint) สามารถ แนะแนวทางใหผูเรียนสามารถเขาสูแหลงทรัพยากร การใชเครื่องมือจะไดรับการเสนอแนะเพื่อใหสามารถ ทําความเขาใจสถานการณที่เปนปญหา Conceptual Scaffolding จะแนะแนวผูเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ควรจะนํามาพิจารณา นั่นคือสิ่งที่ จะตองแยกแยะ ความรูทเปนความคิดรวบยอดที่สําคัญ ที่เกี่ยวของกับปญหา หรือการสรางโครงสรางที่จะ ี่ ทําโดยแยกไปสูการจัดหมวกหมูของความคิดรวบยอด โครงสรางนี้อาจทําไดเ ปน กลไก การจัดลําดับ
  • 4. ความสัมพันธ โดยใชภาพกราฟกแสดงความคิดเห็น หรือเปนการแสดงเปนเคาโครงของลักษณะที่แยกเปนสวย ยอย หรืออาจเปนสารสนเทศหรือการบอกใบโดยผูเชี่ยวชาญ ใน OLEs Conceptual Scaffolding จะจัดเตรียมแนวคิดที่หลากหลายที่เปนปญหาที่เกี่ยวของกับ ความคิดรวบยอดที่จ ะศึก ษา อาจไมไดเปนการแนะนําเกี่ยวกับ แหลงทรัพยากรอยางชัดเจน ตัวอยางเชน สิ่งแวดลอมทางการเรียนรู Jasper ไดใชวีดิโอในการนําเสนอ ซึ่งอาจไมไดแยกเสียงออกตางหากจากความคิด รวบยอดที่ เ ฉพาะเจาะจง แต อาจเปนการนํา เสนอตัวอยา งของสิ่งที่ควรจะตองพิจารณาเกี่ย วกับการ แกปญหาดังกลาว 2. ฐานความชวยเหลือดานกลยุทธ (Strategic Scaffolding) เป น วิธี ก ารที่ เ น นเกี่ ย วกั บ วิธี ก ารที่ เ ป นทางเลื อ ก ที่ อ าจเป นสิ่ ง ที่ พิสู จ นว า เปน สิ่ ง ที่มี ป ระโยชน Strategic Scaffoldingจะสนับสนุนการคิดวิเคราะห การวางแผนยุทธศาสตร กลยุทธ การตัดสินใจ ระหวางการเรี ย นรูแบบเปด จะเนนเกี่ย วกับ วิ ธีการสํ าหรับ แยกแยะและเลื อกสารสนเทศที่ ตองการ ประเมิน แหลง ทรัพยากรที่จัดหาได และเชื่อมความเกี่ย วพัน ธระหวา งความรูความรูที่มีมากอนและ ประสบการณ ดังเชนตัวอยาง เรื่อง Great Solar System Rescue (1992) ไดเสนอทางเลือกที่จะเขาถึง ปญหาในทางปฏิบัติ จัดหาระดับของขอแนะนํา คําถามที่ตองการพิสูจน สามารถเปนกลยุทธที่นํามาใช ซึ่งจะ พยายามใหไดเชื่อมความเกี่ยวของสิ่งตางๆ ในการแกปญหา แตไมใชการประนีประนอมในการแกปญหา กลยุทธอื่นๆ ของ Strategic Scaffolding จะไปกระตุนใหผูเรียนตื่นตัวกับ เครื่องมือและแหลง ทรัพยากรที่อาจจะมีประโยชนภายใตสถานการณนั้น และแนะแนวทางการใช อาจเปนการจัดขอคําถามที่จะ ชวยในการพิจารณา ในขณะที่ทําการประเมินปญหาเชนเดียวกับการ บอกใบวา เครื่องมือหรือแหลงทรัพยากร ใดมีสารสนเทศที่ตองการในการแกปญหา
  • 5. หลักการออกแบบ Scaffolding (การใหความชวยเหลือ) ตามหลักการของ Hannafin 1. การออกแบบฐานความชวยเหลือการสรางความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding) Conceptual Scaffolding  เปนสิ่งที่ชวยทําใหผูเรียนสรางความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน  แยกแยะความรูที่เปนความคิดรวบยอดที่สําคัญ ที่เกี่ยวของกับปญหา  การสรางโครงสรางที่จะทําโดยแยกไปสูการจัดหมวดหมูของความคิดรวบยอด เชน - กลไกการจัดลําดับความสัมพันธ โดยใชภาพกราฟกแสดงความคิดเห็น - การแสดงเปนเคาโครงของลักษณะที่แยกเปนสวยยอย - สารสนเทศหรือการบอกใบโดยผูเชี่ยวชาญ ตัวอยาง สมมติวาตอนนี้ทานเปนนักโภชนาการ ประจําศูนยสุขภาพซึ่งมีหนาที่ในการใหคําแนะนําเกี่ยวกับการ ดูแลสุขอนามัยของประชาชน ในวันนี้มีผูปวยรายหนึ่ง ชื่อ นายสมชาย เปนคนที่มีกลามเนื้อไมแข็งแรง ผอม แหง แรงนอย แคระแกรน เหนื่อยงาย เขาเปนคนที่ชอบกินผักและผลไม แตไมชอบกินเนื้อสัตว ในฐานะที่ ทานเปนนักโภชนาการจะมีวิธีการชวยเหลือนายสมชายอยางไร เพื่อใหกลับมามีสุขภาพที่แข็งแรงและมีรูปราง ที่สงางามสมชายเหมือนชื่อ ภารกิจ คุณตองชวยนายศรรามในการเลือกซื้ออาหารกลับไปรับประทานที่บาน โดยคุณจะตองสามารถ • ทําการวิเคราะหวานายสมชายมีปญหาเรื่องสุขภาพเนื่องมาจากสาเหตุใดพรอมใหเหตุผล • อธิบายแนวทางในการแกปญหาสุขภาพของนายสมชายพรอมใหเหตุผล • บอกวิธีการปฏิบัติตนเพื่อปองกันการเกิดปญหาดังกลาว
  • 6. Conceptual Scaffolding สั ตว์ แหล่งทีมา โปรตีน ประโยชน์ พืช เป็ น สารอาหารทีมากในเนื อสัต ว์ ช่ ว ย ใ น ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง แ ล ะ ซ่อมแซมส่วนทีสึ กหรอ 2. การออกแบบฐานการชวยเหลือดานกลยุทธในการแกปญหา Strategic Scaffolding Strategic Scaffolding จะสนับสนุนการคิดวิเ คราะห การวางแผนยุท ธศาสตร กลยุท ธ การ ตัดสินใจระหวางการเรียนรู จะเนนเกี่ยวกับวิธีการสําหรับจําแนกและเลือกสารสนเทศที่ตองการ ประเมินแหลง ทรัพยากรที่จัดหาได และเชื่อมความเกี่ยวพันธระหวางความรูที่มีมากอนและประสบการณ อาจเปนการจัดขอ คําถามที่จะชวยในการพิจารณา ในขณะที่ทําการประเมินปญหาเชนเดียวกับการ บอกใบวา เครื่องมือหรือ แหลงทรัพยากรใดมีสารสนเทศที่ตองการในการแกปญหา Key word ที่สําคัญเกี่ยวกับ Strategic Scaffolding  แนะนําเกี่ยวกับการวิเคราะหสถานการณที่เปนปญหา เชน คนหา Key word ที่เกี่ยวของ  วิเคราะหประเด็นหลักหรือ Key word ที่สําคัญของปญหานั้นๆ  วิเคราะหแนวทางใหไดซึ่งแหลงขอมูลที่ใชในการแกปญหา  เชื่อมโยงความสัมพันธระหวาง Key word ของปญหากับ Key word ในแหลงขอมูล ที่จ ะ นําไปใชในการแกปญหา  ตองเปนการแนะนํา หรือบอกใบ แนวทางการแกปญหา และกระตุนใหเกิดการคิดใน ระดับสูง (Higher-order thinking) ไมใชเปนการบอกคําตอบ Strategic Scaffolding • วิเคราะหหา Key Concept ของปญหาวาคืออะไร • พิจารณาหา Key Word ของปญหาแลวนําไปเชื่อมโยงกับ Key Word ในแหลงขอมูลที่จะใชแกปญหา • จากสถานการณ ตองการหาวิธีการแกไขปญหาสุขภาพของนาย สมชาย ที่กลามเนื้อไมแข็งแรง เหนื่อยงาย รางกายผายผอม และที่ สําคัญไมชอบกินเนื้อสัตว จากสภาพดังกลาวทานตองพิจาณาวา สาเหตุที่นาจะเปนไปไดนาจะมาจากอะไร