Anzeige
Germ in toilet
Germ in toilet
Germ in toilet
Germ in toilet
Anzeige
Germ in toilet
Nächste SlideShare
2562 final-project_02_kamolchanok 2562 final-project_02_kamolchanok
Wird geladen in ... 3
1 von 5
Anzeige

Más contenido relacionado

Similar a Germ in toilet(20)

Último(20)

Anzeige

Germ in toilet

  1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน การกาจัดเชื้อโรคในห้องสุขา ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นาย ธนพันธ์ คาภิละ เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นาย ธนพันธ์ คาภิละ เลขที่ 9 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การกาจัดเชื้อโรคในห้องสุขา ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Getting rid of germs in the toilet ประเภทโครงงาน โครงงานประเภททฤษฏี ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ธนพันธ์ คาภิละ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) สุขาเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับทุกคน สุขาที่ใช้กันอยู่ทั่วไปไม่ว่าจะเป็นสุขาที่บ้าน หรือสุขาตามที่สาธารณะ ต่างๆ จะมีประชาชนกี่คนที่จะรู้ว่า เครื่องใช้หรือสุขภัณฑ์ที่เราใช้และพบได้เป็นประจาในสุขาจะมีจุลินทรีย์อย่าง มากมาย ซึ่งหลายชนิดทั้งแบคทีเรีย รา ปรสิต รวมถึงไวรัส สามารถก่อโรคให้กับเราได้ จุลินทรีย์ที่พบได้จากสุขา โดยพบสะสมอยู่ตามตาแหน่งต่างๆ ที่ทุกคนที่เข้าไปใช้สุขาจะต้องสัมผัส เช่น ลูกบิดประตู ปุ่มกดชักโครก สายฉีดน้าชาระ สบู่ล้างมือ เครื่องเป่ามือ หรือเครื่องใช้ส่วนตัวต่างๆที่วางไว้ประจา เช่น แปรงสีฟัน หรืออุปกรณ์อื่น กรณีที่รวมอยู่กับห้องสุขา เช่น ฝักบัวอาบน้า เป็นต้น
  3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อสร้างสุขอนามัยที่ดี 2. เพื่อแสดงให้เห็นถึงความอันตรายจากเชื้อโรค ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) แนวทางการรักษาสุขอนามัย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) เชื้อโรคสาคัญที่พบ ได้แก่ Staphylococcus spp. ที่พบทั่วไปบนผิวหนัง เชื้อนี้ก่อโรคทางผิวหนังหรือสร้าง สารพิษที่ทาให้เกิดอาหารเป็นพิษ บางชนิดเช่น Methicillin resistant Staphylococcus aureus (MRSA) เป็นเชื้อ S.aureus ที่ดื้อต่อยา Methicillin และมีชีวิตอยู่บนพื้นที่แห้งได้นานถึง 9 สัปดาห์ เชื้ออีกชนิดคือ Escherichia coli เป็นแบคทีเรียที่อยู่ในระบบทางเดินอาหารของมนุษย์และปะปนออกมากับอุจจาระ เป็นเชื้อที่เป็นสาเหตุหนึ่งของ อาการท้องร่วงและอาหารเป็นพิษ อีกที่หนึ่งที่มีการสะสมของจุลินทรีย์มากคือ ปุ่มกดชักโครก เชื้อที่พบได้แก่ S. aureus และเชื้อฟีคัลโคลิ ฟอร์ม (Faecal coliform bacteria) ซึ่งใช้เป็นตัวชี้วัดการปนเปื้อนอุจจาระ แบคทีเรียกลุ่มนี้อาศัยอยู่ในลาไส้ของ มนุษย์ถ้าเข้าสู่ร่างกายอาจทาให้เกิดอาการถ่ายเป็นน้า เป็นมูกเลือด เช่น Escherichia coli, Enterobacter spp. เป็นต้น การกดชักโครกเป็นอีกสาเหตุหนึ่งในการแพร่กระจายจุลินทรีย์โดยในปีค.ศ. 2012 Best และคณะ ได้ ตีพิมพ์บทความถึงการกดชักโครกโดยไม่ปิดฝาครอบ ทาให้เพิ่มความเสี่ยงในการแพร่กระจายแบคทีเรีย Clostridium difficile ที่ก่อให้เกิดโรคท้องร่วง และอาจนาไปสู่การอักเสบในลาไส้ได้นอกจากนี้ยังพบว่า การกดชัก โครกโดยไม่ปิดฝาครอบทาให้จุลินทรีย์ฟุ้งกระจายอยู่ในอากาศบริเวณรอบๆ ทาให้เชื้อสะสมอยู่ตามตาแหน่งต่างๆ ได้ดังนั้น การปิดฝาครอบก่อนการกดชักโครกจึงสามารถช่วยให้ผู้ใช้สุขาและผู้ที่ต้องใช้สุขารายต่อๆไปลดความ เสี่ยงหรือป้องกันการได้รับจุลินทรีย์ที่ไม่พึงประสงค์เหล่านั้นได้ สายฉีดน้าชาระเป็นอีกหนึ่งจุดที่สะสมจุลินทรีย์ไว้มากจากการฉีดน้าที่มีความแรง ผลการตรวจการ ปนเปื้อนในสุขาสาธารณะจากกระทรวงสาธารณะสุข พบว่าจุดที่มีเชื้อมากสุดคือบริเวณที่จับสายฉีดชาระเป็นเชื้อ กลุ่มฟีคัลโคลิฟอร์มที่ก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง เช่น Escherichia coli เมื่อเชื้อนี้เข้าสู่ร่างกายจะส่งผลให้เกิดการถ่าย อุจจาระที่มีจานวนมากกว่าปกติถึง 3 ครั้งขึ้นไปหรือถ่ายเป็นน้าหรือเป็นมูกเลือด สบู่ล้างมือในสุขาสามารถเป็นแหล่งสะสมจุลินทรีย์ได้จากการศึกษาวิจัยของมหาวิทยาลัยอาริโซนา ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่าสบู่เหลวชนิดกล่องเปิดฝาแบบเติมมีเชื้อแบคทีเรียปนเปื้อนอยู่ถึงร้อยละ 25 โดย ร้อย ละ 65 ของเชื้อที่พบคือเชื้อฟีคัลโคลิฟอร์ม เช่น E. coli ซึ่งการปนเปื้อนเชื้อ เกิดขึ้นขณะที่มีการเปิดฝา กล่องเพื่อเติม สบู่นั่นเอง ในขณะที่สบู่เหลวในบรรจุภัณฑ์แบบปิด หรือเมื่อใช้น้ายาหมดแล้วทิ้ง กลับไม่พบเชื้อปนเปื้อน สบู่ที่ ผสมด้วยสารต้านจุลินทรีย์คือผสมด้วย Triclosan ที่ออกฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย โดยที่สารนี้ จะให้ผลดีเมื่อใช้ความ
  4. 4 เข้มข้นสูง โดยทั่วไปในสบู่ จะมีสารดังกล่าวร้อยละ 0.1 ถึง 0.45 ของน้าหนักต่อปริมาณ ดังนั้น การใช้สบู่ต้าน แบคทีเรียในการทาความสะอาดผิว จึงไม่สามารถลดจานวนจุลินทรีย์ได้อย่างสมบูรณ์ วิธีหลีกเลี่ยงการติดเชื้อโรคต่าง ๆ จากห้องน้า 1. หากเป็นห้องน้าที่บ้าน ควรทาความสะอาดเป็นประจาทุกวัน หรือสัปดาห์ละ 3-5 ครั้ง เพื่อลดการสะสม ของเชื้อโรคต่าง ๆ 2. ปิดฝาชักโครกทุกครั้งที่กดชักโครก ลดการกระเด็นของสิ่งปฏิกูลในโถส้วมได้มาก 3. ไม่ยืนบนโถส้วม เพราะอาจเสี่ยงส้วมแตก เกิดบาดแผลได้ 4. ไม่วางแปรงสีฟันไว้ใกล้ๆ โถส้วม ป้องกันการกระเด็นจากน้าในโถส้วมเมื่อกดชักโครก และควรทาความ สะอาดแปรงสีฟันหลังใช้งานทุกครั้ง รวมถึงเปลี่ยนแปรงสีฟันทุก ๆ 3 เดือนหรือเร็วกว่านั้นด้วย 5. เปลี่ยนอุปกรณ์ในห้องน้า เช่น สายชาระ ฝักบัว ให้เป็นวัสดุที่ทาจากโลหะแทน ช่วยลดการสะสมเชื้อ แบคทีเรียได้มากกว่าแบบที่ทาจากพลาสติก 6. สาหรับห้องน้าสาธารณะ ควรเลือกใช้บริการห้องน้าที่สะอาด ไม่มีกลิ่นเหม็น 7. หลีกเลี่ยงการสัมผัสอุปกรณ์ต่าง ๆ ในห้องน้าโดยตรง เช่น ลูกบิด กลอนประตู ปุ่มกดชักโครก สามารถใช้ ทิชชู่วางก่อนจับได้ 8. หลีกเลี่ยงการใช้สายชาระที่ไม่สะอาด 9. เลือกใช้สบู่ล้างมือที่มาจากภาชนะที่ปิดสนิท แบบใช้แล้วทิ้ง บรรจุภัณฑ์สะอาด 10. ใช้กระดาษเช็ดมือแบบใช้แล้วทิ้ง มากกว่าผ้าขนหนูเช็ดมือ รวมทั้งเครื่องเป่ามือ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเชื้อโรคในห้องสุขา 2. ให้ความรู้รวมถึงวิธีการกาจัดเชื้อโรคตั้งแต่ต้นเหตุ โดยการรักษาสุขอนามัยผ่านทาง Social Media เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.โทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์ 2.สัญญาณอินเทอร์เน็ต งบประมาณ -
  5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน ธนพันธ์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ธนพันธ์ 3 จัดทาโครงร่างงาน ธนพันธ์ 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน ธนพันธ์ 5 ปรับปรุงทดสอบ ธนพันธ์ 6 การทาเอกสารรายงาน ธนพันธ์ 7 ประเมินผลงาน ธนพันธ์ 8 นาเสนอโครงงาน ธนพันธ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ได้รับสุขอนามัยที่ดีขึ้น 2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับเชื้อโรค และพฤติกรรมเสี่ยงในห้องน้าที่ก่อให้เกิดโรค สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สุขศึกษาและพลศึกษา วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) มหาวิทยาลัยมหิดล . 4 พ.ย. 2558 . “เชื้อโรคในห้องสุขา” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/292/เชื้อโรคในห้องสุขา/ (28 พ.ย. 2561)
Anzeige