SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 26
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รายงาน
เรื่อง การทางานของคอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
นายอานาจ งามตา เลขที่15 ม.5/3
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ก
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการจัดการระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลด้วยธุรกิจด้วย
คอมพิวเตอร์เพื่อศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานในระบบเรือข่ายเห็นคุณค่าในเรื่องการสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่ายและ
การศึกษาเกี่ยวกับมาตรฐานการสื่อสารข้อมูล โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โปรโตคอล ระบบ
เครือข่ายบนอินเตอร์เน็ต หากรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใดทางผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
นายอานาจ งามตา
ข
สารบัญ
คานา........................................................................................................................................................ก
สารบัญรูปภาพ......................................................................................................................................... ง
1 ประวัติของการใช้งานคอมพิวเตอร์.........................................................................................................1
ประเภทของคอมพิวเตอร์......................................................................................................................2
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ..............................................................................................2
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer).................................................................................3
มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)......................................................................................................3
ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC).................................3
- Keyboard...........................................................................................................................................5
- Mouse...............................................................................................................................................6
........................................................................................................................................................6
- Disk Drive..........................................................................................................................................7
- CD-Rom.................................................................................................................................................7
- Magnetic Tape ..................................................................................................................................8
- Card Reader ......................................................................................................................................9
- Scanner .............................................................................................................................................9
2หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)............................................................................ 10
3หน่วยความจ า (Memory)................................................................................................................. 10
4. หน่วยแสดงผล (Output Unit)......................................................................................................... 10
Monitor จอภาพ................................................................................................................................. 10
- Printer เครื่องพิมพ์........................................................................................................................... 11
- Plotter เครื่องพิมพ์ที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการลงกระดาษ................................. 11
ค
พื้นฐานการใช้โปรแกรม Microsoft Word .............................................................................................. 12
.............................................................................................................................................................. 12
2. คุณลักษณะของโปรแกรมประมวลผลคาที่ดี.................................................................................... 13
3. ประโยชน์ของโปรแกรมประมวลผลคา........................................................................................... 14
3.2 การค้นหาและการเรียกใช้ข้อมูล................................................................................................ 14
3.3 การทาสาเนา............................................................................................................................. 14
3.4 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร................................................................................................... 14
4. มีอะไรใหม่ใน Microsoft Office Word 2007 .................................................................................. 15
4.1 สร้างเอกสารที่ดูเป็นมืออาชีพ.................................................................................................... 15
4.2 ใช้เวลาในการเขียนมากขึ้น แต่ใช้เวลาในการจัดรูปแบบน้อยลง ................................................. 15
4.3 เพิ่มองค์ประกอบที่จัดรูปแบบไว้แล้วด้วยการคลิกเพียงสองสามครั้ง Office Word 2007............. 15
4.4 สื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วยกราฟิกที่ให้ผลกระทบสูง ................................................... 16
4.5 นาลักษณะหน้าตาใหม่ไปใช้กับเอกสารของคุณทันที................................................................. 16
4.6 หลีกเลี่ยงการสะกดผิดได้อย่างง่ายดาย....................................................................................... 16
4.11 การแปลงเอกสาร Word ของคุณเป็น PDF หรือ XPS................................................................. 18
4.12 ตรวจพบเอกสารที่มีแมโครฝังตัวโดยทันที .............................................................................. 18
4.13 ป้ องกันการเปลี่ยนแปลงกับเอกสารขั้นสุดท้าย......................................................................... 18
4.14 การทาสิ่งอื่นนอกเหนือจากเอกสาร......................................................................................... 19
4.15 ลดขนาดแฟ้มและปรับปรุงการกู้คืนความเสียหาย.................................................................... 19
ตาราง การใช้แป้ นพิมพ์เพื่อเลื่อนหน้าเอกสารหรือตาแหน่งพิมพ์............................................................. 20
บรรณานุกรม.......................................................................................................................................... 21
ง
สารบัญรูปภาพ
รูปภาพ 1- Keyboard ................................................................................................................................5
รูปภาพ 2- Mouse.....................................................................................................................................6
รูปภาพ 3- Disk Drive................................................................................................................................7
รูปภาพ 4- CD-Rom...................................................................................................................................7
รูปภาพ 5- Magnetic Tape........................................................................................................................8
รูปภาพ 6- Card Reader.............................................................................................................................9
รูปภาพ 7- Scanner...................................................................................................................................9
รูปภาพ 8 Monitor จอภาพ...................................................................................................................... 10
รูปภาพ 9- Printer เครื่องพิมพ์................................................................................................................. 11
รูปภาพ 10- Plotter................................................................................................................................. 11
สารบัญตาราง
ตารางที่ 1ตาราง การใช้แป้ นพิมพ์ เพื่อเลื่อนหน้าเอกสารหรือตาแหน่งพิมพ์............................................. 20
1 ประวัติของการใช้งานคอมพิวเตอร์
มีการบันทึกไว้ว่า ครั้งแรกที่มีการใช้คาว่า "คอมพิวเตอร์" คือเมื่อ ค.ศ. 1613 ซึ่งหมายถึงบุคคลที่ทาหน้าที่
คาดการณ์ หรือคิดคานวณ และมีความหมายเช่นนี้เรื่อยมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 และตั้งแต่ปลาย
คริสต์ศตวรรษที่ 19 มา ความหมายของคาว่าคอมพิวเตอร์นี้เริ่มมีใช้กับเครื่องจักรที่ทาหน้าที่คิดคานวณมาก
ขึ้น
คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีฟังก์ชันจากัด
ประวัติของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่นั้นเริ่มต้นจากเทคโนโลยีสองชนิดที่แตกต่างกัน ได้แก่ การคานวณโดย
อัตโนมัติ กับการคานวณที่สามารถโปรแกรมได้ (หมายถึงสร้างวิธีการทางานและปรับแต่งได้) แต่ระบุแน่
ชัดไม่ได้ว่าเทคโนโลยีชนิดใดเกิดขึ้นก่อน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการคานวณแต่ละชนิดนั้นไม่มีความ
สอดคล้องกัน อุปกรณ์บางชนิดก็มีความสาคัญที่จะเอ่ยถึง อย่างเช่นเครื่องมือเชิงกลเพื่อการคานวณบางชนิด
ที่ประสบความสาเร็จและยังใช้กันอยู่หลายศตวรรษก่อนที่จะมีเครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์ อาทิลูกคิดของ
ชาวสุเมเรียนที่ถูกออกแบบขึ้นราว 2,500 ปีก่อนคริสตกาล[6] ชนะการแข่งขันความเร็วในการคานวณต่อ
เครื่องคานวณตั้งโต๊ะเมื่อ ค.ศ. 1946 ที่ประเทศญี่ปุ่น[7] ต่อมาในคริสต์ทศวรรษ 1620 มีการประดิษฐ์สไลด์
รูล ซึ่งถูกนาขึ้นยานอวกาศในภารกิจของโครงการอะพอลโลถึง 5 ครั้ง รวมถึงเมื่อครั้งที่สารวจดวงจันทร์
ด้วย[8] นอกจากนี้ยังมี เครื่องทานายตาแหน่งดาวฤกษ์ (Astrolabe) และ กลไกอันติคือเธรา ซึ่งเป็นเครื่อง
คานวณ (คอมพิวเตอร์) เกี่ยวกับดาราศาสตร์ยุคโบราณที่ชาวกรีกเป็นผู้สร้างขึ้นราว 80 ปีก่อนคริสตกาล[9]
ที่มาของระบบการสั่งการโปรแกรมเกิดขึ้นเมื่อ ฮีโรแห่งอเล็กซานเดรีย (c.10-70 AD) นักคณิตศาสตร์ชาว
กรีกสร้างโรงละครที่ประกอบด้วยเครื่องจักร ใช้แสดงละครความยาว 10 นาที และทางานโดยมีกลไกเชือก
และอิฐบล็อกทรงกระบอกที่ซับซ้อน ซึ่งสามารถตัดสินใจเลือกได้ว่าจะชิ้นส่วนกลไกใดใช้ในการแสดงฉาก
ใดและเมื่อไร
ราว ๆ ปลายศตวรรษที่ 10 สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2 นักบวชชาวฝรั่งเศส ได้นาลิ้นชักบรรจุ
อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่จะตอบคาถามได้ว่าใช่ หรือ ไม่ใช่ เมื่อถูกถามคาถาม (ด้วยเลขฐานสอง) [11] ซึ่งชาวมัวร์
ประดิษฐ์ไว้กลับมาจากประเทศสเปน ในศตวรรษที่ 13 นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส และโรเจอร์ เบคอน
นักปราชญ์ชาวอังกฤษ ได้สร้างหุ่นยนต์แอนดรอยด์ (android) พูดได้โดยไม่ได้พัฒนาใด ๆ ต่ออีก
(นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส บ่นออกมาว่าเขาเสียเวลาเปล่าไป 40 ปีในชีวิต เมื่อนักบุญโทมัส อควีนาสตกใจกับ
เครื่องนี้และได้ทาลายมันเสีย) [12]
2
ในปี ค.ศ. 1642 แห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา มีการประดิษฐ์เครื่องคานวณของปาสคาลซึ่งเป็นเครื่องคานวณ
ตัวเลขเชิงกล[13] เป็นอุปกรณ์ที่จะสามารถคานวณโดยใช้ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์โดยไม่ต้องพึ่ง
สติปัญญามนุษย์[14] เครื่องคานวณเชิงกลนี้ยังถือเป็นรากฐานของการพัฒนาคอมพิวเตอร์ในสองทาง
แรกเริ่มนั้น ความพยายามที่จะพัฒนาเครื่องคานวณที่มีสมรรถภาพสูงและยืดหยุ่น[15] ซึ่งทฤษฎีนี้ถูกสร้าง
โดยชาร์ลส แบบเบจ[16][17] และได้รับการพัฒนาในเวลาต่อมา[18] นาไปสู่การพัฒนา
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1960 และในขณะเดียวกัน อินเทล ก็
สามารถประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งถือเป็นจุดกาเนิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคล และเป็นหัวใจสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์หากไม่คานึงถึงขนาดและวัตถุประสงค์[19] ขึ้นได้โดย
บังเอิญ[20] ระหว่างการพัฒนาเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ บิซิคอม ที่พัฒนาสืบต่อจากเครื่องคานวณเชิงกล
โดยตรง
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้ใช้วงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่มาก (very large scale integrated circuit) ซึ่งสามารถ
บรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่าสิบล้านตัว เราสามารถแบ่งคอมพิวเตอร์ในรุ่นปัจจุบันออกเป็น 4 ประเภท
ดังต่อไปนี้
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer)
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับ
คอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีราคาแพงมาก มีขนาดใหญ่ สามารถคานวณทาง
คณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครั้งต่อวินาที และได้รับการออกแบบ เพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทาง
วิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ได้อย่างรวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน
การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อมซึ่งหากใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้
อาจจะต้องใช้เวลาในการคานวณหลายปีกว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหา
ได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น เนื่องจากการแก้ปัญหาใหญ่ ๆ จะต้องใช้หน่วยความจาสูง ดังนั้น ซูเปอร์
คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ตั้งแต่รุ่นที่มีหน่วย
ประมวลผล (processing unit) 1 หน่วย จนถึงรุ่นที่มีหน่วยประมวลผลหลายหมื่นหน่วยซึ่งสามารถทางาน
หลายอย่างได้พร้อม ๆ กัน
3
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมีความเร็วสูง และมี
ประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้
จานวนหลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ฉะนั้น จึงสามารถใช้โปรแกรมจานวนนับร้อยแบบในเวลาเดียวกันได้
โดยเฉพาะถ้าต่อเครื่องเข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถใช้ได้จากทั่วโลก ปัจจุบัน องค์กรใหญ่ ๆ เช่น
ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ในการทาบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงิน
แบบอัตโนมัติ (automatic teller machine) เนื่องจากเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใช้งานมากในการ
บริการผู้ใช้พร้อม ๆ กัน เมนเฟรมคอมพิวเตอร์จึงต้องมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก
มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)
มินิคอมพิวเตอร์ คือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งานได้หลายคนพร้อม ๆ กัน
แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ในจานวนที่เทียบเท่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ จึงทาให้
มินิคอมพิวเตอร์เหมาะสาหรับองค์กรขนาดกลาง หรือสาหรับแผนกหนึ่งหรือสาขาหนึ่งขององค์กรขนาด
ใหญ่เท่านั้น
ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC)
ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (desktop computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น
เช่น ขนาดสมุดบันทึก (notebook computer) และขนาดฝ่ามือ (palmtop computer) ไมโครคอมพิวเตอร์ได้
เริ่มมีขึ้นในปีพ.ศ. 2518 ถึงแม้ว่าในระยะหลัง เครื่องชนิดนี้จะมีประสิทธิภาพที่สูง แต่เนื่องจากมีราคาไม่แพง
และมีขนาดกะทัดรัด ไมโครคอมพิวเตอร์จึงยังเหมาะสาหรับใช้ส่วนตัว ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ถูกออกแบบ
สาหรับใช้ที่บ้าน โรงเรียน และสานักงานสาหรับที่บ้าน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการทา
งบประมาณรายรับรายจ่ายของครอบครัวช่วยทาการบ้านของลูก ๆ การค้นคว้าข้อมูลและข่าวสาร การ
สื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail หรือ E - mail) หรือโทรศัพท์ทางอินเทอร์เน็ต (internet phone)
ในการติดต่อทั้งในและนอกประเทศ หรือแม้กระทั่งทางบันเทิง เช่น การเล่นเกมบนเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ สาหรับที่โรงเรียน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยสอนนักเรียนในการ
ค้นคว้าข้อมูลจากทั่วโลกสาหรับที่สานักงาน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยพิมพ์จดหมาย
และข้อมูลอื่น ๆ เก็บและค้นข้อมูล วิเคราะห์และทานายยอดซื้อขายล่วงหน้า
โน้ตบุ๊ค (notebook or laptop)
4
โน้ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ
มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ในปัจจุบันมีขนาดพอ ๆ กับสมุดที่ทาด้วยกระดาษ
เน็ตบุ๊ค (netbook or laptop)เน็ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คและเล็กกว่า
โน้ตบุ๊ค ไม่มีไดรฟ์สาหรับอ่านและเขียนแผ่น และใช้ฮาร์ดดิสแบบ SSD ทาให้น้าหนักเบา ถูกออกแบบไว้
เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ปัจจุบันไม่ได้รับความนิยมอัลตร้าบุ๊ค
(Ultrabook)
อัลตร้าบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และมีขนาดเท่ากับโน้ตบุ๊ค ถูกออกแบบไว้
เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ และน้าหนักเบากว่าโน้ตบุ๊ค และเน้นความสวยงาม ทันสมัย แปลกใหม่
แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ (tablet computer)
แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แท็บเล็ต คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ในขณะเคลื่อนที่ได้
ขนาดกลางและใช้หน้าจอสัมผัสในการทางานเป็นอันดับแรก มีคีย์บอร์ดเสมือนจริงหรือปากกาดิจิตอลใน
การใช้งานแทนที่แป้ นพิมพ์คีย์บอร์ด และมีความหมายครอบคลุมถึงโน๊คบุ๊คแบบ convertible ที่มีหน้าจอ
แบบสัมผัสและมีแป้ นพิมพ์คีย์บอร์ดติดมาด้วยไม่ว่าจะเป็นแบบหมุนหรือแบบสไลด์ก็ตาม [21]
ตัวอย่างประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์มีประโยชน์กับเรามากมาย เช่น
การใช้งานภาครัฐ งานทะเบียนราษฎร์ของรัฐบาล เช่น การแจ้งเกิด ตาย ย้ายที่อยู่ การทาบัตรประจาตัว
ประชาชน งานภาษี เช่น ยื่นแบบประเมินภาษีภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต เก็บทะเบียนประวัติผู้เสียภาษี ตรวจสอบ
การเสียภาษี
งานสายการบิน การสารองที่นั่งผู้โดยสาร การลดงานเอกสาร
ทางด้านการศึกษา สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนออนไลน์ให้กับผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล
ธุรกิจการนาเข้าสินค้าและส่งออก การทาธุรกิจแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ธุรกิจธนาคาร ช่วยด้านงานข้อมูลธนาคาร รับ-จ่ายเงิน เก็บประวัติลูกค้า ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การทา
ธุรกรรมผ่านโทรศัพท์มือถือ
5
วิทยาศาสตร์และการแพทย์การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาของคนไข้วิจัย คานวณ และ การจาลอง
แบบงานสถาปนิก ช่วยออกแบบ เขียนแบบ หรือทาแบบจาลองสามมิติ
งานภาพยนตร์ การ์ตูน แอนิเมชัน ช่วยสร้างตัวการ์ตูนเคลื่อนไหว ออกแบบตัวการ์ตูน จาลองตัวการ์ตูนสาม
มิติ การตัดต่อภาพยนตร์
งานด้านสถิติ ช่วยเก็บบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ จาลองแบบข้อมูล และการเผยแพร่ข้อมูล
ด้านนันทนาการ ช่วยให้ความบันเทิง ดูหนัง ฟังเพลง ร้องคาราโอเกะ เล่นเกม
หลักการทางานของ คอมพิวเตอร์
ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ การทางานของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้
1หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
ทาหน้าที่ในการรับข้อมูลหรือคาสั่งจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจา เพื่อเตรียมประมวลผลข้อมูล
ที่ต้องการ ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการนาข้อมูลที่ใช้กันอยู่ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนั้น มีอยู่หลายประเภทด้วยกัน
สาหรับอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี ดังต่อไปนี้
- Keyboard
รูปภาพ 1- Keyboard
คียบอร์ด หรือ แป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทุกเครื่องจาเป็นต้องมี เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนา
ข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยปกติมักจะมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือใกล้เคียง มีแป้ นต่างๆ
ประมาณร้อยแป้ นอยู่บนคีย์บอร์ด (ขึ้นอยู่กับผังแป้ นพิมพ์) ซึ่งถอดแบบมาจากเครื่องพิมพ์ดีด ออกแบบมา
เพื่อใช้สาหรับรับข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ แล้วทาการเปลี่ยนเป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต จากนั้นจึงส่งให้
คอมพิวเตอร์ประมวลผล หรือใช้ควบคุมฟังก์ชันการทางานบางอย่างของคอมพิวเตอร์ และเพื่อให้การป้ อน
ข้อมูลที่เป็นอักขระและตัวเลขทาได้ง่ายและสะดวกขึ้น คีย์บอร์ดจึงแยกแผงที่เป็นแป้ นอักขระกับแป้ นตัวเลข
แยกไว้ต่างหาก
6
- Mouse
รูปภาพ 2- Mouse
เมาส์ (อังกฤษ: Mouse) คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมตัวชี้บนจอคอมพิวเตอร์ (pointing device) เป็น
อุปกรณ์สาคัญในการใช้งานคอมพิวเตอร์ชิ้นหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันถูกออกแบบมาให้มีรูปร่าง ลักษณะ สีสัน
ต่างๆกัน บางรุ่นมีไฟประดับให้สวยงาม เพื่อให้เมาะสมกับการใช้งานในแต่ละประเภทและความชื่นชอบ
ของผู้ใช้ เช่นมีขนาดเล็ก มีส่วนโค้งและส่วนเว้าเข้ากับอุ้งมือของผู้ใช้ มีรูปร่างสีสันแปลกตาไปจากรุ่น
ทั่วๆไป หรือเป็นรูปตัวการ์ตูน และล่าสุดได้มีการพัฒนา เมาส์อากาศ (Air Mouse) ซึ่งสามารถใช้งานเมาส์
โดยถือขึ้นมาเอียงไปมาในอากาศโดยไม่จาเป็นต้องใช้แผ่นรอง ก็สามารถควบคุมตัวชี้ได้เช่นกัน
การทางานของเมาส์ ภายในตัวเมาส์จะมีอุปกรณ์สาหรับตรวจจับตาแหน่งการเคลื่อนไหวของลูกกลิ้งยาง
(สาหรับรุ่นเก่า)หรืออุปกรณ์ตรวจจับการเปลี่ยนแปลงของแสง (ในเมาส์ที่ใช้แอลอีดีหรือเลเซอร์เป็น
แหล่งกาเนิดแสง) โดยตัวตรวจจับจะส่งสัญญาณไปที่คอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผลของตัวชี้บนหน้าจอ
คอมพิวเตอร์
การเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ การใช้งานเมาส์ร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นจะต้องมีการต่อมันเข้ากับช่อง
ต่อของคอมพิวเตอร์ ซึ่งในยุคแรกๆนั้นช่องสาหรับต่อเมาส์จะมีลักษณะเป็นหัวกลมใหญ่ภายในมีขาเป็นเข็ม
เรียกว่าแบบ DIN ต่อมามีการพัฒนาช่องต่อเป็นแบบหัวเข็มที่เล็กลงเรียกว่า PS/2 แต่การเชื่อมต่อทั้งสองแบบ
นั้นไม่สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้หลากหลาย จึงมีการพัฒนาช่องต่อแบบ USB ขึ้นมา และในเวลาใกล้ๆกันก็
ได้มีการพัฒนาการเชื่อมต่อเมาส์แบบไร้สายขึ้นมาโดยใช้สัญญาณวิทยุเป็นตัวเชื่อมต่อแทนสายเรียกว่า เมาส์
ไร้สาย (Wireless mouse)
เมาส์ได้ชื่อมาจากรูปร่างของตัวมันเอง และสายไฟ ซึ่งมีลักษณะคล้ายหนู (Mouse) และหางหนู และขณะ
เดียวการเคลื่อนที่ของตัวชี้บนหน้าจอมีลักษณะการเคลื่อนที่ไม่มีทิศทางเหมือนการเคลื่อนที่ของหนู
7
- Disk Drive
รูปภาพ 3- Disk Drive
ฮาร์ดดิสก์ (อังกฤษ: hard disk drive) หรือ (ศัพท์บัญญัติ) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบ
เลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทางาน การติดตั้งเข้ากับตัว
คอมพิวเตอร์สามารถทาได้ผ่านการต่อเข้ากับแผงวงจรหลัก (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน
(PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทาง
สายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทาให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทา
ได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง
- CD-Rom
รูปภาพ 4- CD-Rom
วีซีดี หรือ วิดีโอซีดี (VCD หรือ Video CD) เป็นรูปแบบมาตรฐานในการจัดเก็บภาพเคลื่อนไหวลงในแผ่น
ซีดี รูปลักษณ์ของแผ่นวีซีดีเหมือนกับแผ่นซีดี สามารถเล่นได้กับเครื่องเล่นเฉพาะ เครื่องคอมพิวเตอร์
ส่วนตัว เครื่องเล่นดีวีดี (DVD) เป็นต้น รูปแบบวีซีดีมาตรฐานถูกสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1993 โดย บริษัทโซนี่
บริษัทฟิลิปส์ บริษัทมัทซูชิตะ และ บริษัทเจวีซี ซึ่งได้อ้างอิงไว้ในหนังสือชื่อ ไวต์บุ๊ก (White Book)
8
- Magnetic Tape
รูปภาพ 5- Magnetic Tape
เทปแม่เหล็กเป็นสื่อสาหรับบันทึกแม่เหล็กทาจากบางเคลือบ magnetizable บนยาวแคบ ๆ ของฟิล์ม
พลาสติก ได้รับการพัฒนาในประเทศเยอรมนีอยู่บนพื้นฐานของการบันทึกลวดแม่เหล็ก อุปกรณ์ที่บันทึก
และเล่นเสียงและวิดีโอโดยใช้เทปแม่เหล็กบันทึกเทปและบันทึกเทปวิดีโอ อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์
เทปแม่เหล็กเป็นเทปไดรฟ์ (หน่วยเทปลาแสง)
เทปแม่เหล็กปฏิวัติการออกอากาศและการบันทึก เมื่อทุกวิทยุเป็นสดจะอนุญาตให้เขียนโปรแกรมได้รับการ
บันทึก ในขณะที่เมื่อแผ่นเสียงถูกบันทึกไว้ในหนึ่งทาก็อนุญาตให้บันทึกที่จะทาในหลายส่วนซึ่งเป็นแล้ว
ผสมและแก้ไขกับการสูญเสียที่ยอมรับในด้านคุณภาพ มันเป็นเทคโนโลยีที่สาคัญในการพัฒนาคอมพิวเตอร์
ช่วงต้นช่วยให้จานวนเงินที่เหนือชั้นของข้อมูลที่จะสร้างกลไกที่เก็บไว้เป็นเวลานานและได้รับการเข้าถึง
อย่างรวดเร็ว
ปัจจุบันเทคโนโลยีอื่น ๆ สามารถทาหน้าที่ของเทปแม่เหล็ก ในหลายกรณีเทคโนโลยีเหล่านี้จะเปลี่ยนเทป
อย่างไรก็ตามเรื่องนี้นวัตกรรมในเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องและโซนี่และไอบีเอ็มยังคงผลิตเทปไดรฟ์แม่เหล็ก
ใหม่
กว่าปีที่ผ่านเทปแม่เหล็กที่เกิดขึ้นในปี 1970 และ 1980 สามารถประสบประเภทของการเสื่อมสภาพที่เรียกว่า
กลุ่มอาการหลั่งเหนียว ที่เกิดจากการย่อยสลายของสารยึดเกาะของเทปก็สามารถทาให้เทปใช้ไม่ได้
9
- Card Reader
รูปภาพ 6- Card Reader
การ์ดเป็นอุปกรณ์ป้ อนข้อมูลที่อ่านข้อมูลจากบัตรรูปสื่อจัดเก็บข้อมูล ครั้งแรกที่ได้รับการอ่านบัตรเจาะซึ่ง
อ่านกระดาษหรือกระดาษแข็งเจาะบัตรที่ถูกนามาใช้ในช่วงหลายทศวรรษแรกของอุตสาหกรรม
คอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมสาหรับระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องอ่านการ์ดโมเดิร์นเป็นอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถอ่านบัตร Lukes ฝังตัวกับทั้งบาร์โค้ด , แถบแม่เหล็ก , ชิปคอมพิวเตอร์หรือสื่อ
จัดเก็บข้อมูลอื่นอ่านการ์ดหน่วยความจาเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการสื่อสารที่มีมาร์ทการ์ดหรือการ์ด
หน่วยความจา อ่านบัตรแม่เหล็กเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านบัตรแถบแม่เหล็กเช่นบัตรเครดิต [1]ธุรกิจอ่าน
บัตรเป็นอุปกรณ์ขนาดเล็กที่ใช้ในการสแกนและอิเล็กทรอนิกส์บันทึกพิมพ์นามบัตร
- Scanner
ครื่องสแกน คือ อุปกรณ์ต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์แบบกราฟิก
ที่มีหน้าที่ ในการเปลี่ยนแปลงภาพต้นฉบับ (รูปถ่าย ตัว
อักษรบนหน้ากระดาษ ภาพวาด) ให้เป็นข้อมูล เพื่อให้
คอมพิวเตอร์ สามารถนาข้อมูลดังกล่าว มาใช้ประโยชน์ ใน
การแสดงผลที่หน้าจอ ทาให้สามารถแก้ไข ตกแต่งเพิ่มเติม
และจัดเก็บข้อมูลได้
รูปภาพ 7- Scanner
10
2หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)
ทาหน้าที่ในการคานวณและประมวลผล แบ่งออกเป็น 2 หน่วยย่อย คือ
หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ในการดูแล ควบคุมลาดับขั้นตอนของการประมวลผล และการทางานของอุปกรณ์
ต่างๆ ภายในหน่วยประมวลผลกลาง และช่วยประสานงานระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง กับอุปกรณ์
นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์ในการแสดงผล และหน่วยความจาสารอง หน่วยคานวณและตรรก ทาหน้าที่ในการ
คานวณและเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ ที่ส่งมาจากหน่วยควบคุม หน่วยความจา
3หน่วยความจ า (Memory)
ทาหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือคาสั่งต่างๆ ที่รับจากภายนอกเข้ามาเก็บไว้เพื่อประมวลผลและยังเก็บผลที่ได้
จากการประมวลผลไว้เพื่อแสดงผลอีกด้วย ซึ่งแบ่งออกเป็น หน่วยความจา เป็นหน่วยความจาที่มีอยู่ ใน
ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่ในการเก็บคาสั่ง
หรือข้อมูล แบ่งออกเป็น ROM หน่วยความจาแบบถาวร RAM หน่วยความจาแบบชั่วคราว หน่วยความจา
สารอง เป็นหน่วยความจาที่อยู่นอกเครื่อง มีหน้าที่ช่วยให้หน่วยความจาหลักสามารถเก็บ ข้อมูลได้มากขึ้น
4. หน่วยแสดงผล (Output Unit)
ทาหน้าที่ในการแสดงผลลัทธ์ที่ได้หลังจากการคานวณและประมวลผล สาหรับอุปกรณ์ที่ ทาหน้าที่ในการ
แสดงผลข้อมูลที่ได้นั้นมีต่อไปนี้
Monitor จอภาพ
จอภาพ หรือ วีดียู[1] (อังกฤษ: visual display unit: VDU)
หรือชื่ออื่นเช่น จอคอมพิวเตอร์ จอคอม จอมอนิเตอร์
มอนิเตอร์ จอแสดงผล จอภาพแสดงผล จอภาพแสดงผล
คอมพิวเตอร์ จอทีวี จอโทรทัศน์ ฯลฯ คือส่วนหนึ่งของ
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่แสดงรูปภาพให้เห็นจากอุปกรณ์ที่สามารถ
ส่งออกวิดีโอ เช่นคอมพิวเตอร์หรือ
รูปภาพ 8Monitor จอภาพ
11
- Printer เครื่องพิมพ์
รูปภาพ 9- Printer เครื่องพิมพ์
เครื่องพิมพ์(อังกฤษ: Computer printer) เป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงที่จะผลิตข้อความหรือกราฟิกของเอกสารที่เก็บ
ไว้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ออกมาในสื่อทางกายภาพเช่นกระดาษหรือแผ่นใสเครื่องพิมพ์ส่วนมากเป็น
อุปกรณ์ต่อพ่วงกับคอมพิวเตอร์ทั่วไป และเชื่อมต่อด้วยสายเคเบิลเครื่องพิมพ์หรือในเครื่องพิมพ์รุ่นใหม่จะ
เป็นสายยูเอสบี เครื่องพิมพ์บางชนิดที่เรียกกันว่าเครื่องพิมพ์เครือข่าย(Network Printer) อินเตอร์เฟซที่ใช้
มักจะเป็นแลนไร้สายและ/หรืออีเทอร์เน็ต
- Plotter เครื่องพิมพ์ที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการลงกระดาษ
รูปภาพ 10- Plotter
เครื่องวาด (plotter) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้ปากกาในการวาดข้อมูลต่าง ๆ ลงบนกระดาษ เหมาะสาหรับงาน
เกี่ยวกับการเชียนแบบทางวิศวกรรมและงานตกแต่งภายใน การทางานของเครื่องวาดใช้วิธีเลื่อนกระดาษให้
ปากกาจานวน 6-8 สี วาดลงบนกระดาษ (ครูชัชเจน, วันอังคารที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2557)
12
พื้นฐานการใช้โปรแกรม Microsoft Word
โปรแกรม Microsoft Office Word 2007 เป็นโปรแกรมประมวลผลคาที่นิยมใช้กันมากอยู่ ในปัจจุบันนี้
เพราะมีคุณลักษณะที่ดี เช่น การจัดรูปแบบสะดวกรวดเร็ว ฯลฯ และมีประโยชน์ต่อการจัดเก็บเอกสารและ
การปรับแก้ไข พื้นฐานการใช้โปรแกรมตั้งแต่การ เปิด ส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น แท็บเมนู แท็บเครื่องมือ
มุมมอง ฯลฯ และการจัดการไฟล์เอกสาร เช่น การเปิด การปิด การบันทึก และการออกจากโปรแกรม ฯลฯ
อีกทั้งยังรองรับภาษาไทยได้ด้วย
1. ความหมายของการประมวลผลคา
การประมวลผลคา หรือ Word Processing คือ การนาคาหลาย ๆ คามาเรียงกันให้อยู่ใน รูปแบบที่กาหนด ซึ่ง
เราสามารถกาหนดได้ว่าจะให้มีกี่ตัวอักษรต่อหนึ่งบรรทัด หรือหน้าละกี่ บรรทัด กั้นระยะหน้าระยะหลัง
เท่าใด และสามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้อย่างสะดวกจนกว่าจะพอใจ แล้วจึงสั่งพิมพ์เอกสารนั้น ๆ ออกมากี่ชุดก็
ได้โดยทุกชุดที่ออกมาจากเครื่องพิมพ์จะเหมือนกันทุก ประการ เสมือนกับการถ่ายเอกสารหรือการก๊อปปี้
แต่ความจริงแล้วเอกสารทุกแผ่นจะถูกพิมพ์ออกมาจากเครื่องพิมพ์อย่างสวยงามและปราณีต เพราะ
ปราศจากร่องรอยของขูดลบใด ๆ และนั่น ย่อมหมายถึงการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการทางาน โดยเรา
จะต้องทาการพิมพ์ข้อมูลต่าง ๆ ซึ่ง เป็นเอกสาร บทความ รายงาน จดหมาย ฯลฯ เข้าไปเก็บไว้ใน
หน่วยความจาของเครื่อง คอมพิวเตอร์ หลังจากนั้นเราสามารถใช้คาสั่งต่าง ๆ เข้าไปจัดการแก้ไข ดัดแปลง
หรือเพิ่มเติม ข้อมูลเหล่านั้นได้ตลอดเวลา โปรแกรม (Program) หรือชุดคาสั่งที่ทาให้เราสามารถทางานกับ
เอกสาร และสั่งงานต่าง ๆ นี้ได้มีชื่อเรียกว่า โปรแกรมเวิร์ดโปรเซสซิ่ง (Word Processing) หรือ โปรแกรม
ประมวลผลคา
13
2. คุณลักษณะของโปรแกรมประมวลผลคาที่ดี
2.1 มีระบบขอความช่วยเหลือ (Help)
โปรแกรมประมวลผลคาที่ดี ควรจะมีระบบขอวามช่วยเหลือที่จะคอยช่วยให้ คาแนะนาช่วยเหลือให้ผู้ใช้
สามารถทางานได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว เช่น หากเกิดปัญหากับการ ใช้งาน หรือสงสัยเกี่ยวกับวิธีการใช้
งาน แทนที่จะต้องเปิดหาในหนังสือคือมือการใช้งานของ โปรแกรม ก็สามารถขอความช่วยเหลือจาก
โปรแกรมได้ทันที
2.2 มีระบบอัตโนมัติ
โปรแกรมประมวลผลคาที่ดีควรจะมีระบบอัตโนมัติที่จะช่วยให้ผูใช้สามารถ ทางานกับเอกสารได้อย่าง
สะดวกสบายมากขึ้น เช่น การตรวจสอบคาผิดอัตโนมัติ (Spell) การ จัดรูปแบบอัตโนมัติ (Auto Format)
การแก้ไขอัตโนมัติ (Auto Correct) มีระบบใส่ข้อความ อัตโนมัติ ตรวจสอบการสะกดคาผิดได้ทั้งภาษาไทย
และอังกฤษ เป็นต้น
2.3 การใช้ข้อมูลร่วมกันกับโปรแกรมอื่น ๆ ได้
โปรแกรมประมวลผลคาที่ดี ควรจะมีความสามารถในการนางานที่สร้างด้วย โปรแกรมอื่น ๆ มาใช้งาน
ร่วมกับโปรแกรมได้เช่น การแทรกภาพ อักษรศิลป์ สัญลักษณ์ ผัง องค์กร กราฟ ฯลฯ เป็นต้น นอกจากนี้
ควรมีความสามารถในการดึงเอกสารจากโปรแกรม Word Processing อื่น ๆ มาใช้งานในโปรแกรมได้
2.4 เรียนรู้การใช้งานได้ง่าย
การเรียนรู้วิธีการใช้งานโปรแกรม ไม่ควรจะต้องใช้เวลานานเกินไปสาหรับการ เรียนรู้ ควรมีบทเรียนช่วย
สอน หรือสาธิต (Demo) เกี่ยวกับขั้นตอนต่าง ๆ ในการใช้งานของ โปรแกรม เพื่อให้สามารถเรียนรู้การใช้
งานโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว
2.5 มีระบบการค้นหา และแทนที่คา
โปรแกรมประมวลผลคาที่ดี ควรจะระบบการค้นหา และการแทนที่คา เพื่อให้ผู้ใช้สามารถที่จะทาการค้นหา
คา เพื่อการแก้ไข หรือทาการแทนที่ได้สะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้น
2.6 จัดรูปแบบเอกสารได้สะดวก
โปรแกรมประมวลผลคาที่ดี ควรจะมีเครื่องมือที่ช่วยให้การจัดรูปแบบของเอกสารได้สะดวก และรวดเร็ว
ซึ่งควรจะมีความสามารถที่จะจัดรูปแบบได้รวดเร็ว มีขั้นตอนในการ จัดรูปแบบที่ไม่ยุ่งยาก
14
2.7 กาหนดรูปแบบตัวอักษรได้หลายแบบ หลายขนาด
โปรแกรมประมวลผลคาที่ดี ควรจะมีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลงและกาหนดรูปแบบของตัวอักษร และ
ขนาดของตัวอักษรได้หลายรูปแบบ รวมทั้งตัวอักษรพิเศษต่างๆที่ ไม่มีบนแป้ นพิมพ์ด้วย
3. ประโยชน์ของโปรแกรมประมวลผลคา
3.1 การจัดเก็บเอกสาร
การจัดเก็บเอกสารที่พิมพ์ขึ้นด้วยกระดาษนั้น อาจจะสูญหายหรือฉีกขาดได้ง่าย แต่ การจัดเก็บเอกสารในรูป
ของไฟล์ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น ข้อมูลต่าง ๆ จะอยู่ครบถ้วนตราบเท่าที่สื่อ ที่ใช้ในการเก็บบันทึกข้อมูล เช่น
ดิสก์เก็ต ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี ฯลฯ อยู่ในสภาพที่ดีและสมบูรณ์
3.2 การค้นหาและการเรียกใช้ข้อมูล
โปรแกรมประมวลผลคาจะมีความสามารถในการค้นหาข้อความหรือคาที่เรา ต้องการได้อย่างรวดเร็ว และ
ยังสามารถค้นหาข้อความหรือคา แล้วแทนที่ด้วยข้อความหรือคาใหม่ ได้โดยอัตโนมัติ ตลอดจนการเรียกใช้
แฟ้มข้อมูลก็ทาได้โดยง่ายและสะดวก เพียงแต่ทราบชื่อไฟล์ และตาแหน่งที่จัดเก็บก็สามารถเรียกใช้ไฟล์ได้
โดยสะดวกรวดเร็วไม่ยุ่งยากเหมือนกับการค้นหา และเรียกใช้เอกสารธรรมดา ซึ่งช่วยให้ประหยัดเวลาและ
ค่าใช้จ่าย
3.3 การทาสาเนา
การทาสาเนาเอกสารด้วยเครื่องพิมพ์ดีดจะต้องใช้กระดาษคาร์บอน และสามารถ ทาสาเนาได้เพียงครั้งละ 3-
4 แผ่นเท่านั้น ในขณะที่การทาสาเนาด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถทา ได้อย่างไม่จากัดและทุกสาเนามี
ความชัดเจนเท่าเทียมกัน
3.4 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร
การพิมพ์เอกสารด้วยเครื่องพิมพ์ดีด มักจะมีการพิมพ์ผิดอยู่เสมอ ๆ ทาให้เสียเวลา ในการแก้ไขเอกสาร ซึ่ง
เป็นเรื่องที่ค่อนข้างยุ่งยาก นอกจากนี้เอกสารที่พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีดก็ไม่ สวยงามเท่าที่ควร และจะปรากฏ
ร่องรอยของการแก้ไขขูดลบ แต่ถ้าใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการ พิมพ์เอกสาร ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้จะหมด
ไป ซึ่งช่วยให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย
15
3.5 การจัดรูปแบบเอกสาร โปรแกรมประมวลผลคามีความสามารถในการจัดทารูปแบบเอกสารได้อย่างดี
และ มีประสิทธิภาพ เช่น การกั้นระยะหน้าและหลัง การใส่ข้อความหัวกระดาษและท้ายกระดาษ การจัด
เอกสารหลายคอลัมน์ การจัดรูปแบบอัตโนมัติ ฯลฯ ช่วยให้เกิดความสะดวกในการทางานเหนือกว่า การ
ทางานแบบเอกสารธรรมดา
4. มีอะไรใหม่ใน Microsoft Office Word 2007
Microsoft Office Word 2007 จะช่วยคุณสร้างเอกสารที่ดูเป็นมืออาชีพโดยการจัดชุด เครื่องมือแบบ
ครอบคลุมสาหรับการสร้างและการจัดรูปแบบเอกสารของคุณไว้ในส่วนติดต่อใหม่ ความสามารถในการ
ตรวจทาน การใส่ข้อคิดเห็น และการเปรียบเทียบอย่างละเอียดจะช่วยให้คุณ
4.1 สร้างเอกสารที่ดูเป็นมืออาชีพ
Office Word 2007 ได้จัดเตรียมเครื่องมือการแก้ไขและการทบทวนไว้สาหรับการ สร้างเอกสารที่สละสลวย
ได้ง่ายดายกว่าที่เคย
4.2 ใช้เวลาในการเขียนมากขึ้น แต่ใช้เวลาในการจัดรูปแบบน้อยลง
ส่วนติดต่อที่คา นึงถึงผลลัพธ์ใหม่นี้จะเสนอเครื่องมือให้คุณในเวลาที่คุณ จาเป็นต้องใช้ด้วยรูปแบบที่ชัดเจน
และมีระเบียบ ช่วยประหยัดเวลาและใช้ความสามารถที่ทรง ประสิทธิภาพของ Word ได้อย่างเต็มที่ด้วยการ
เลือกจากแกลเลอรีลักษณะ รูปแบบตาราง รูปแบบ รายการ ลักษณะพิเศษทางกราฟิก และอื่นๆ ที่กาหนดไว้
ล่วงหน้าWord ช่วยขจัดการคาดเดาเมื่อคุณนาการจัดรูปแบบมาใช้ในเอกสารของคุณ แกล เลอรีของตัวเลือก
การจัดรูปแบบจะแสดงตัวอย่างเสมือนจริงของการจัดรูปแบบในเอกสารของคุณ ก่อนที่คุณจะทาการ
ตัดสินใจ
4.3 เพิ่มองค์ประกอบที่จัดรูปแบบไว้แล้วด้วยการคลิกเพียงสองสามครั้ง Office Word 2007 ได้นาแบบ
เอกสารสาเร็จรูปมาใช้สาหรับการเพิ่มเนื้อหาที่ จัดรูปแบบไว้แล้วลงในเอกสารของคุณเมื่อคุณกาลังทางาน
บนเอกสารจากชนิดแม่แบบที่เฉพาะเจาะจง เช่น รายงาน คุณ สามารถเลือกจากแกลเลอรีหน้าปก ข้อความที่
ดึงออกมา รวมทั้งหัวกระดาษและท้ายกระดาษที่ จัดรูปแบบไว้แล้วเพื่อทาให้เอกสารของคุณดูสละสลวยขึ้น
ได้
ถ้าคุณต้องการกาหนดเนื้อหาที่จัดรูปแบบไว้แล้วเอง หรือถ้าองค์กรของคุณใช้ เนื้อหาบางส่วนที่เหมือนกัน
เป็นประจา เช่น ข้อความคาชี้แจงทางกฎหมายหรือข้อมูลที่ติดต่อของ ลูกค้า คุณสามารถสร้างแบบเอกสาร
สาเร็จรูปของคุณเองซึ่งคุณเลือกจากแกลเลอรีด้วยการคลิกครั้ง เดียว
16
4.4 สื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วยกราฟิกที่ให้ผลกระทบสูง
คุณลักษณะแผนภูมิและไดอะแกรมแบบใหม่จะรวมรูปร่างแบบสามมิติ ความ โปร่งใส เงาที่ตกกระทบ และ
ลักษณะพิเศษอื่นๆ ไว้
4.5 นาลักษณะหน้าตาใหม่ไปใช้กับเอกสารของคุณทันที
เมื่อบริษัทของคุณปรับปรุงภาพลักษณ์ของบริษัท คุณสามารถปฏิบัติตามได้ทันที ในเอกสารของคุณ ด้วย
การใช้ 'ลักษณะด่วน' และ 'ชุดรูปแบบเอกสาร' คุณสามารถเปลี่ยนแปลง
4.6 หลีกเลี่ยงการสะกดผิดได้อย่างง่ายดาย
ต่อไปนี้เป็นคุณลักษณะใหม่บางอย่างของตัวตรวจสอบการสะกด
ตัวตรวจสอบการสะกดได้รับการปรับปรุงให้มีความสอดคล้องกันมากขึ้นตลอด ทั้งโปรแกรม 2007
Microsoft Office system ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีดังต่อไปนี้
ในขณะนี้ตัวเลือกของตัวตรวจสอบการสะกดหลายตัวจะเป็นแบบส่วนกลาง ถ้า คุณเปลี่ยนตัวเลือกตัวใดตัว
หนึ่งในโปรแกรม Office หนึ่ง ตัวเลือกดังกล่าวก็จะได้รับการ เปลี่ยนแปลงสาหรับโปรแกรม Office ที่เหลือ
ทั้งหมดเช่นกัน สาหรับข้อมูลเพิ่มเติม ให้ดูที่ เปลี่ยน วิธีการทางานของการตรวจสอบการสะกดและ
ไวยากรณ์นอกเหนือจากการใช้พจนานุกรมแบบกาหนดเองร่วมกันแล้ว โปรแกรมทั้งหมด ยังสามารถจัดการ
พจนานุกรมเหล่านี้ได้โดยใช้กล่องโต้ตอบเดียวกัน สาหรับข้อมูลเพิ่มเติม ให้ดูที่ ใช้พจนานุกรมแบบกาหนด
เองเพื่อเพิ่มคาลงในตัวตรวจสอบการสะกดตัวตรวจสอบการสะกดใน 2007 Microsoft Office system มี
พจนานุกรมภาษา ฝรั่งเศสฉบับหลักการปฏิรูป ซึ่งใน Microsoft Office 2003 พจนานุกรมฉบับนี้จะเป็น
Add-in ซึ่ง ต้องทาการติดตั้งเพิ่มเติมแยกต่างหาก สาหรับข้อมูลเพิ่มเติม ให้ดูที่ เปลี่ยนวิธีการทางานของการ
ตรวจสอบการสะกดและไวยากรณ์
พจนานุกรมแยกคาที่ไม่ต้องการจะถูกสร้างขึ้นโดยอัตโนมัติสาหรับภาษาหนึ่งใน ครั้งแรกที่มีการใช้ภาษา
ดังกล่าว พจนานุกรมแยกคาที่ไม่ต้องการช่วยให้คุณสามารถสั่งให้ตัว ตรวจสอบการสะกดตั้งค่าสถานะคาที่
คุณไม่ต้องการใช้ พจนานุกรมดังกล่าวนี้มีประโยชน์ในการ ช่วยหลีกเลี่ยงคาที่ไม่สุภาพหรือไม่ตรงกับแนว
ทางการเขียนของคุณ สาหรับข้อมูลเพิ่มเติม ให้ดูที่ ใช้พจนานุกรมแยกคาที่ไม่ต้องการเพื่อกาหนดการสะกด
ที่คุณต้องการสาหรับคาตัวตรวจสอบการสะกดสามารถค้นหาและตั้งค่าสถานะการสะกดผิดตามบริบท
บางอย่างได้คุณเคยพิมพ์ผิดในลักษณะที่คล้ายคลึงกับตัวอย่างต่อไปนี้หรือไม่ I will see you their. ใน
Office Word 2007 คุณสามารถเปิดใช้งานตัวเลือก ใช้การสะกดตามปริบท เพื่อขอความ ช่วยเหลือในการ
ค้นหาและแก้ไขข้อผิดพลาดในลักษณะนี้ได้ตัวเลือกนี้จะพร้อมใช้งานขณะ ตรวจสอบการสะกดของ
17
เอกสารในภาษาอังกฤษ เยอรมัน หรือสเปน สาหรับข้อมูลเพิ่มเติม ให้ดูที่ เลือกวิธีการทางานของการ
ตรวจสอบการสะกดและไวยากรณ์คุณสามารถปิดใช้งานการตรวจสอบการสะกดและไวยากรณ์สาหรับ
เอกสารหนึ่ง ฉบับหรือสาหรับเอกสารทั้งหมดที่คุณสร้างขึ้น
4.7 ใช้เอกสารร่วมกันอย่างเป็นความลับ
เมื่อคุณส่งแบบร่างของเอกสารให้กับผู้ร่วมงานของคุณเพื่อให้ป้ อนข้อมูล Office Word 2007 จะช่วยคุณ
รวบรวมและจัดการการตรวจทานแก้ไขและข้อคิดเห็นของผู้ร่วมงาน เหล่านั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อ
คุณพร้อมที่จะประกาศเอกสาร Office Word 2007 ทาให้คุณ มั่นใจได้ว่าการตรวจทานแก้ไขและคาแนะนาที่
ยังไม่ได้รับการแก้ไขนั้นไม่ได้ซ่อนอยู่ในเอกสารที่ ประกาศ
4.8 เปรียบเทียบเอกสารสองรุ่นอย่างเร็ว Office Word 2007 ทาให้การค้นหาสิ่งที่เปลี่ยนแปลงในเอกสารง่าย
ขึ้น เมื่อคุณ เปรียบเทียบและรวมเอกสาร คุณสามารถดูเอกสารทั้งสองรุ่น พร้อมด้วยข้อความที่ถูกลบ แทรก
และเอาออกซึ่งถูกทาเครื่องอย่างชัดเจนในเอกสารรุ่นที่สาม
4.9 ค้นหาและการเอาข้อมูล Metadata ที่ซ่อนอยู่และข้อมูลส่วนตัวในเอกสารออก ก่อนที่คุณจะใช้เอกสาร
ของคุณร่วมกับผู้อื่น คุณสามารถใช้ตัวตรวจสอบเอกสาร ในการตรวจสอบเอกสารเพื่อหาข้อมูล Metadata
ที่ซ่อนอยู่ ข้อมูลส่วนตัว หรือเนื้อหาที่อาจจะถูก บันทึกอยู่ในเอกสาร ตัวตรวจสอบเอกสารสามารถค้นหา
และเอาข้อมูล เช่น ข้อคิดเห็น รุ่น การ เปลี่ยนแปลงที่ติดตาม คาอธิบายประกอบที่เป็นหมึก คุณสมบัติ
เอกสาร ข้อมูลเซิร์ฟเวอร์การจัดการ เอกสาร ข้อความที่ซ่อนอยู่ ข้อมูล XML แบบกาหนดเอง และข้อมูลใน
หัวกระดาษและท้ายกระดาษ ออกจากเอกสารได้ ตัวตรวจสอบเอกสารสามารถช่วยให้คุณมั่นใจได้ว่า
เอกสารที่คุณใช้ร่วมกับผู้อื่น ไม่มีข้อมูลส่วนตัวใดๆ ซ่อนอยู่หรือเนื้อหาใดๆ ที่องค์กรของคุณไม่ต้องการให้
มีการแจกจ่ายออกไป ซ่อนอยู่ นอกจากนี้ องค์กรของคุณยังสามารถกาหนดตัวตรวจสอบเอกสารเองเพื่อเพิ่ม
การ ตรวจสอบหาเนื้อหาที่ซ่อนอยู่ชนิดอื่น ๆ เพิ่มเติมได้
4.10 การเพิ่มลายเซ็นดิจิทัลหรือบรรทัดลายเซ็นลงในเอกสารของคุณ
คุณสามารถช่วยให้เกิดความมั่นใจในเรื่องความน่าเชื่อถือ ความสมบูรณ์ และ แหล่งที่มาของเอกสารของคุณ
ด้วยการเพิ่มลายเซ็นดิจิทัลลงในเอกสาร ใน Office Word 2007 คุณ สามารถเพิ่มลายเซ็นดิจิทัลซึ่งไม่
สามารถมองเห็นได้ลงในเอกสาร หรือคุณสามารถแทรกบรรทัด ลายเซ็นของ Microsoft Office เพื่อจับรูป
แทนลายเซ็นที่มองเห็นได้พร้อมกับลายเซ็นดิจิทัลความสามารถในการจับลายเซ็นดิจิทัลโดยใช้บรรทัด
ลายเซ็นในเอกสาร Office ช่วยให้องค์กรต่างๆ สามารถใช้กระบวนการการเซ็นชื่อโดยไม่ใช้กระดาษสาหรับ
18
เอกสาร เช่น สัญญาหรือข้อตกลงอื่นๆ ข้อแตกต่างจากลายเซ็นบนกระดาษก็คือ ลายเซ็นดิจิทัลจะจัดให้มี
บันทึก ของสิ่งที่ได้มีการเซ็นอย่างถูกต้องชัดเจนและยังช่วยให้สามารถตรวจสอบลายเซ็นได้ในอนาคต
4.11 การแปลงเอกสาร Word ของคุณเป็น PDF หรือ XPS
Office Word 2007 สนับสนุนการส่งออกแฟ้มของคุณในรูปแบบต่อไปนี้
Portable Document Format (PDF) PDF เป็นรูปแบบแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ที่มีเค้า โครงตายตัวซึ่งจะรักษาการ
จัดรูปแบบของเอกสารเอาไว้และยอมให้มีการใช้แฟ้มร่วมกันได้รูปแบบ PDF ช่วยให้มั่นใจได้ว่าขณะที่มี
การแสดงแฟ้มในแบบออนไลน์หรือพิมพ์แฟ้ม แฟ้มจะ ยังคงรักษารูปแบบตามที่คุณสร้างขึ้นทุกประการ
และข้อมูลในแฟ้มจะไม่สามารถถูกเปลี่ยนแปลง ได้อย่างง่ายดาย รูปแบบ PDF ยังมีประโยชน์สาหรับเอกสาร
ที่จะถูกทาสาเนาออกมาโดยใช้วิธีการ พิมพ์เชิงพาณิชย์
XML Paper Specification (XPS) XPS เป็นรูปแบบแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งจะ รักษาการจัดรูปแบบของเอกสาร
เอาไว้และเปิดใช้งานการใช้แฟ้มร่วมกันได้ รูปแบบ XPS ช่วยให้ มั่นใจได้ว่าขณะที่มีการแสดงแฟ้มในแบบ
ออนไลน์หรือพิมพ์แฟ้ม แฟ้ มจะยังคงรักษารูปแบบตามที่ คุณสร้างขึ้นทุกประการ และข้อมูลในแฟ้มจะไม่
สามารถถูกเปลี่ยนแปลงได้อย่างง่ายดาย
4.12 ตรวจพบเอกสารที่มีแมโครฝังตัวโดยทันที
Office Word 2007 จะใช้รูปแบบแฟ้มที่แยกกัน (.docm) สาหรับเอกสารที่เปิดใช้งานแมโคร เพื่อให้คุณ
สามารถบอกได้ทันทีว่าแฟ้มมีความสามารถในการเรียกใช้งานแมโครที่ฝังตัว หรือไม่
4.13 ป้ องกันการเปลี่ยนแปลงกับเอกสารขั้นสุดท้าย
ก่อนที่คุณจะใช้เอกสารที่เป็นขั้นสุดท้ายร่วมกับผู้อื่น คุณสามารถใช้คาสั่ง กาหนดให้เป็นขั้นสุดท้าย เพื่อทา
ให้เอกสารเป็นแบบอ่านอย่างเดียวและสื่อสารกับผู้อื่นว่าคุณกาลัง ใช้เอกสารขั้นสุดท้ายร่วมกับพวกเขา ขณะ
เอกสารถูกกาหนดให้เป็น "ขั้นสุดท้าย" การพิมพ์คาสั่ง แก้ไข และเครื่องหมายการพิสูจน์อักษรจะถูกปิดใช้
งาน และผู้ที่ดูเอกสารจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลง แก้ไขเอกสารโดยไม่ได้ตั้งใจได้คาสั่ง กาหนดให้เป็นขั้น
สุดท้าย ไม่ใช่คุณลักษณะความปลอดภัย ใครก็ตามสามารถแก้ไขเอกสารที่ถูกกาหนดให้เป็นขั้นสุดท้ายได้
ด้วยการปิด กาหนดให้เป็นขั้น สุดท้าย
19
4.14 การทาสิ่งอื่นนอกเหนือจากเอกสาร
ในยุคปัจจุบันที่คอมพิวเตอร์และแฟ้มมีความเชื่อมโยงระหว่างกันมากกว่าครั้ง ไหนๆ จะเป็นประโยชน์อย่าง
ยิ่งหากบันทึกเอกสารไว้ในแฟ้มซึ่งมีขนาดเล็กกระทัดรัด มั่นคง แข็งแรง และสนับสนุนแพลตฟอร์มได้
หลากหลายชนิด เพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าว ระบบ Microsoft Office ได้ประสบความสาเร็จอีกขั้น
หนึ่งในวิวัฒนาการของการสนับสนุน XML โดย รูปแบบแฟ้มที่ใช้ XML ใหม่จะช่วยให้แฟ้ม Office Word
2007 มีขนาดเล็กลง มั่นคงแข็งแรงมากขึ้น และประสานกับระบบข้อมูลและแหล่งข้อมูลภายนอกได้ดียิ่งขึ้น
4.15 ลดขนาดแฟ้มและปรับปรุงการกู้คืนความเสียหาย
รูปแบบ Word XML ใหม่เป็นรูปแบบแฟ้มที่ถูกบีบอัดเป็นส่วนๆ ซึ่งช่วยให้ สามารถลดขนาดแฟ้มลงได้อย่าง
น่าทึ่ง และยังช่วยทาให้มั่นใจว่าจะสามารถกู้คืนแฟ้มที่ถูกทาลาย และเสียหายได้โดยง่าย
4.16 การเชื่อมต่อเอกสารของคุณกับข้อมูลทางธุรกิจ
ในธุรกิจของคุณ คุณจาเป็นต้องสร้างเอกสารเพื่อที่จะสื่อสารข้อมูลทางธุรกิจที่ สาคัญ คุณสามารถ
ประหยัดเวลาและลดความเสี่ยงในการเกิดข้อผิดพลาดได้ด้วยการทาให้ กระบวนการสื่อสารนี้เป็นไปโดย
อัตโนมัติ การสร้างเอกสารสมาร์ทแบบไดนามิกซึ่งสามารถ ปรับปรุงตัวเองได้ด้วยการใช้ตัวควบคุมเอกสาร
ใหม่และการผูกข้อมูลเพื่อเชื่อมต่อกับระบบที่ ทางานอยู่ส่วนหลัง (Back-end) ของคุณ (จันทร์สว่าง, 19
กุมภาพัน 2557)
20
ตาราง การใช้แป้ นพิมพ์ เพื่อเลื่อนหน้าเอกสารหรือตาแหน่งพิมพ์
ตารางที่ 1ตาราง การใช้แป้ นพิมพ์ เพื่อเลื่อนหน้าเอกสารหรือตาแหน่งพิมพ์
แป้ นพิมพ์ หน้าที่
กดแป้น Home
กดแป้น End
กดแป้น Ctrl + Home
กดแป้น Ctrl + End
กดแป้น Page Up
กดแป้น Page Down
กดแป้น Ctrl + Page Up
กดแป้น Ctrl + Page Down
Iให้ตาแหน่งพิมพ์วิ่งไปต้นบรรทัดเอกสารนั้น
Iให้ตาแหน่งพิมพ์วิ่งไปท้ายบรรทัดเอกสารนั้น
Iให้ตาแหน่งพิมพ์วิ่งไปต้นเอกสารนั้น
Iให้ตาแหน่งพิมพ์วิ่งไปท้ายเอกสารนั้น
Iเลื่อนไปดูเอกสารทีละหน้าจอทางด้านบน
Iเลื่อนไปดูเอกสารทีละหน้าจอทางด้านล่าง
Iเลื่อนไปดูเอกสารทีละหน้าเอกสารทาง
ด้านบน
Iเลื่อนไปดูเอกสารทีละหน้าเอกสารทาง
ด้านล่าง
21
บรรณานุกรม
ครูชัชเจน. (วันอังคารที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2557). หลักการทางานของคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์
กรุงเทพฯ.
นายปวรณัฏฐ์ จันทร์สว่าง. (19 กุมภาพัน 2557). พื้นฐานการใช้โปรแกรม Microsoft Word. กรุงเทพฯ: นาย
อานาจ งามตา.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
รายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอยรายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอยChanatip Lovanit
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงานJane Janjira
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์Pimpimol Hueghok
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงThanakorn Chanamai
 
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Weina Fomedajs
 
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อpeter dontoom
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนSuwanan Thipphimwong
 

Was ist angesagt? (20)

รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
รายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอยรายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอย
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์รายงาน สังคมออนไลน์
รายงาน สังคมออนไลน์
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
 
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
powerpointอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
 

Andere mochten auch

Take Five Master 10022017 final
Take Five Master 10022017 finalTake Five Master 10022017 final
Take Five Master 10022017 finalDeon Vos
 
Fame, Fortune, and Exploitation: The Fascinating History of Patents and Paten...
Fame, Fortune, and Exploitation: The Fascinating History of Patents and Paten...Fame, Fortune, and Exploitation: The Fascinating History of Patents and Paten...
Fame, Fortune, and Exploitation: The Fascinating History of Patents and Paten...Tahoe Silicon Mountain
 
20150308「第1回 精華町ウィキペディア・タウン」
20150308「第1回 精華町ウィキペディア・タウン」20150308「第1回 精華町ウィキペディア・タウン」
20150308「第1回 精華町ウィキペディア・タウン」和人 青木
 
C ontabilidad 3
C ontabilidad 3C ontabilidad 3
C ontabilidad 3yusneivis1
 
オープンデータと地理空間情報
オープンデータと地理空間情報オープンデータと地理空間情報
オープンデータと地理空間情報和人 青木
 
To eat or not to eat
To eat or not to eatTo eat or not to eat
To eat or not to eatRomaLouise
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกพัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
Infections of the genital tract мазепкина
Infections of the genital tract мазепкинаInfections of the genital tract мазепкина
Infections of the genital tract мазепкинаDeshini Balasubramaniam
 
정의형 대표 Clip book_pt
정의형 대표 Clip book_pt정의형 대표 Clip book_pt
정의형 대표 Clip book_ptEvernoteKorea
 
Sejarah virus komputer
Sejarah virus komputerSejarah virus komputer
Sejarah virus komputerramasatriaf
 
Small Cell Forum: Security Briefing
Small Cell Forum: Security BriefingSmall Cell Forum: Security Briefing
Small Cell Forum: Security BriefingSmall Cell Forum
 
Enterprise Small Cell Opportunities and Challenges
Enterprise Small Cell Opportunities and ChallengesEnterprise Small Cell Opportunities and Challenges
Enterprise Small Cell Opportunities and ChallengesSmall Cell Forum
 

Andere mochten auch (20)

March.2017 classes
March.2017 classes   March.2017 classes
March.2017 classes
 
Take Five Master 10022017 final
Take Five Master 10022017 finalTake Five Master 10022017 final
Take Five Master 10022017 final
 
Fame, Fortune, and Exploitation: The Fascinating History of Patents and Paten...
Fame, Fortune, and Exploitation: The Fascinating History of Patents and Paten...Fame, Fortune, and Exploitation: The Fascinating History of Patents and Paten...
Fame, Fortune, and Exploitation: The Fascinating History of Patents and Paten...
 
20150308「第1回 精華町ウィキペディア・タウン」
20150308「第1回 精華町ウィキペディア・タウン」20150308「第1回 精華町ウィキペディア・タウン」
20150308「第1回 精華町ウィキペディア・タウン」
 
C ontabilidad 3
C ontabilidad 3C ontabilidad 3
C ontabilidad 3
 
Jangela
JangelaJangela
Jangela
 
Ortho abbrevations
Ortho abbrevationsOrtho abbrevations
Ortho abbrevations
 
Feb.2017 classes
Feb.2017 classes  Feb.2017 classes
Feb.2017 classes
 
Feb.2017 classes
Feb.2017 classes  Feb.2017 classes
Feb.2017 classes
 
オープンデータと地理空間情報
オープンデータと地理空間情報オープンデータと地理空間情報
オープンデータと地理空間情報
 
language
languagelanguage
language
 
To eat or not to eat
To eat or not to eatTo eat or not to eat
To eat or not to eat
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
Infections of the genital tract мазепкина
Infections of the genital tract мазепкинаInfections of the genital tract мазепкина
Infections of the genital tract мазепкина
 
정의형 대표 Clip book_pt
정의형 대표 Clip book_pt정의형 대표 Clip book_pt
정의형 대표 Clip book_pt
 
Sejarah virus komputer
Sejarah virus komputerSejarah virus komputer
Sejarah virus komputer
 
Small Cell Forum: Security Briefing
Small Cell Forum: Security BriefingSmall Cell Forum: Security Briefing
Small Cell Forum: Security Briefing
 
Enterprise Small Cell Opportunities and Challenges
Enterprise Small Cell Opportunities and ChallengesEnterprise Small Cell Opportunities and Challenges
Enterprise Small Cell Opportunities and Challenges
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 

Ähnlich wie การทำงานของคอมพิวเตอร์

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2Varid Tunyamat
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28babiesawalee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1Siriporn Roddam
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)pimmeesri
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์Wannapaainto8522
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnitszy151
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2Budsaya Chairat
 
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์SoawakonJujailum
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
ชื่อ นาย ธนพล พาที ปวช 2
ชื่อ นาย ธนพล  พาที  ปวช 2ชื่อ นาย ธนพล  พาที  ปวช 2
ชื่อ นาย ธนพล พาที ปวช 2dewallstar
 

Ähnlich wie การทำงานของคอมพิวเตอร์ (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
 
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
 
รายงาน[1]
รายงาน[1]รายงาน[1]
รายงาน[1]
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
ชื่อ นาย ธนพล พาที ปวช 2
ชื่อ นาย ธนพล  พาที  ปวช 2ชื่อ นาย ธนพล  พาที  ปวช 2
ชื่อ นาย ธนพล พาที ปวช 2
 

Mehr von พัน พัน

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนพัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนพัน พัน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษพัน พัน
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
เรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อนเรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อนพัน พัน
 

Mehr von พัน พัน (20)

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
เรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อนเรื่องภาวะโลกร้อน
เรื่องภาวะโลกร้อน
 

การทำงานของคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงาน เรื่อง การทางานของคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นายอานาจ งามตา เลขที่15 ม.5/3 เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 2. ก คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการจัดการระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลด้วยธุรกิจด้วย คอมพิวเตอร์เพื่อศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานในระบบเรือข่ายเห็นคุณค่าในเรื่องการสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่ายและ การศึกษาเกี่ยวกับมาตรฐานการสื่อสารข้อมูล โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โปรโตคอล ระบบ เครือข่ายบนอินเตอร์เน็ต หากรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใดทางผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย นายอานาจ งามตา
  • 3. ข สารบัญ คานา........................................................................................................................................................ก สารบัญรูปภาพ......................................................................................................................................... ง 1 ประวัติของการใช้งานคอมพิวเตอร์.........................................................................................................1 ประเภทของคอมพิวเตอร์......................................................................................................................2 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ..............................................................................................2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer).................................................................................3 มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)......................................................................................................3 ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC).................................3 - Keyboard...........................................................................................................................................5 - Mouse...............................................................................................................................................6 ........................................................................................................................................................6 - Disk Drive..........................................................................................................................................7 - CD-Rom.................................................................................................................................................7 - Magnetic Tape ..................................................................................................................................8 - Card Reader ......................................................................................................................................9 - Scanner .............................................................................................................................................9 2หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)............................................................................ 10 3หน่วยความจ า (Memory)................................................................................................................. 10 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit)......................................................................................................... 10 Monitor จอภาพ................................................................................................................................. 10 - Printer เครื่องพิมพ์........................................................................................................................... 11 - Plotter เครื่องพิมพ์ที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการลงกระดาษ................................. 11
  • 4. ค พื้นฐานการใช้โปรแกรม Microsoft Word .............................................................................................. 12 .............................................................................................................................................................. 12 2. คุณลักษณะของโปรแกรมประมวลผลคาที่ดี.................................................................................... 13 3. ประโยชน์ของโปรแกรมประมวลผลคา........................................................................................... 14 3.2 การค้นหาและการเรียกใช้ข้อมูล................................................................................................ 14 3.3 การทาสาเนา............................................................................................................................. 14 3.4 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร................................................................................................... 14 4. มีอะไรใหม่ใน Microsoft Office Word 2007 .................................................................................. 15 4.1 สร้างเอกสารที่ดูเป็นมืออาชีพ.................................................................................................... 15 4.2 ใช้เวลาในการเขียนมากขึ้น แต่ใช้เวลาในการจัดรูปแบบน้อยลง ................................................. 15 4.3 เพิ่มองค์ประกอบที่จัดรูปแบบไว้แล้วด้วยการคลิกเพียงสองสามครั้ง Office Word 2007............. 15 4.4 สื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วยกราฟิกที่ให้ผลกระทบสูง ................................................... 16 4.5 นาลักษณะหน้าตาใหม่ไปใช้กับเอกสารของคุณทันที................................................................. 16 4.6 หลีกเลี่ยงการสะกดผิดได้อย่างง่ายดาย....................................................................................... 16 4.11 การแปลงเอกสาร Word ของคุณเป็น PDF หรือ XPS................................................................. 18 4.12 ตรวจพบเอกสารที่มีแมโครฝังตัวโดยทันที .............................................................................. 18 4.13 ป้ องกันการเปลี่ยนแปลงกับเอกสารขั้นสุดท้าย......................................................................... 18 4.14 การทาสิ่งอื่นนอกเหนือจากเอกสาร......................................................................................... 19 4.15 ลดขนาดแฟ้มและปรับปรุงการกู้คืนความเสียหาย.................................................................... 19 ตาราง การใช้แป้ นพิมพ์เพื่อเลื่อนหน้าเอกสารหรือตาแหน่งพิมพ์............................................................. 20 บรรณานุกรม.......................................................................................................................................... 21
  • 5. ง สารบัญรูปภาพ รูปภาพ 1- Keyboard ................................................................................................................................5 รูปภาพ 2- Mouse.....................................................................................................................................6 รูปภาพ 3- Disk Drive................................................................................................................................7 รูปภาพ 4- CD-Rom...................................................................................................................................7 รูปภาพ 5- Magnetic Tape........................................................................................................................8 รูปภาพ 6- Card Reader.............................................................................................................................9 รูปภาพ 7- Scanner...................................................................................................................................9 รูปภาพ 8 Monitor จอภาพ...................................................................................................................... 10 รูปภาพ 9- Printer เครื่องพิมพ์................................................................................................................. 11 รูปภาพ 10- Plotter................................................................................................................................. 11 สารบัญตาราง ตารางที่ 1ตาราง การใช้แป้ นพิมพ์ เพื่อเลื่อนหน้าเอกสารหรือตาแหน่งพิมพ์............................................. 20
  • 6. 1 ประวัติของการใช้งานคอมพิวเตอร์ มีการบันทึกไว้ว่า ครั้งแรกที่มีการใช้คาว่า "คอมพิวเตอร์" คือเมื่อ ค.ศ. 1613 ซึ่งหมายถึงบุคคลที่ทาหน้าที่ คาดการณ์ หรือคิดคานวณ และมีความหมายเช่นนี้เรื่อยมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 และตั้งแต่ปลาย คริสต์ศตวรรษที่ 19 มา ความหมายของคาว่าคอมพิวเตอร์นี้เริ่มมีใช้กับเครื่องจักรที่ทาหน้าที่คิดคานวณมาก ขึ้น คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีฟังก์ชันจากัด ประวัติของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่นั้นเริ่มต้นจากเทคโนโลยีสองชนิดที่แตกต่างกัน ได้แก่ การคานวณโดย อัตโนมัติ กับการคานวณที่สามารถโปรแกรมได้ (หมายถึงสร้างวิธีการทางานและปรับแต่งได้) แต่ระบุแน่ ชัดไม่ได้ว่าเทคโนโลยีชนิดใดเกิดขึ้นก่อน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการคานวณแต่ละชนิดนั้นไม่มีความ สอดคล้องกัน อุปกรณ์บางชนิดก็มีความสาคัญที่จะเอ่ยถึง อย่างเช่นเครื่องมือเชิงกลเพื่อการคานวณบางชนิด ที่ประสบความสาเร็จและยังใช้กันอยู่หลายศตวรรษก่อนที่จะมีเครื่องคิดเลขอิเล็กทรอนิกส์ อาทิลูกคิดของ ชาวสุเมเรียนที่ถูกออกแบบขึ้นราว 2,500 ปีก่อนคริสตกาล[6] ชนะการแข่งขันความเร็วในการคานวณต่อ เครื่องคานวณตั้งโต๊ะเมื่อ ค.ศ. 1946 ที่ประเทศญี่ปุ่น[7] ต่อมาในคริสต์ทศวรรษ 1620 มีการประดิษฐ์สไลด์ รูล ซึ่งถูกนาขึ้นยานอวกาศในภารกิจของโครงการอะพอลโลถึง 5 ครั้ง รวมถึงเมื่อครั้งที่สารวจดวงจันทร์ ด้วย[8] นอกจากนี้ยังมี เครื่องทานายตาแหน่งดาวฤกษ์ (Astrolabe) และ กลไกอันติคือเธรา ซึ่งเป็นเครื่อง คานวณ (คอมพิวเตอร์) เกี่ยวกับดาราศาสตร์ยุคโบราณที่ชาวกรีกเป็นผู้สร้างขึ้นราว 80 ปีก่อนคริสตกาล[9] ที่มาของระบบการสั่งการโปรแกรมเกิดขึ้นเมื่อ ฮีโรแห่งอเล็กซานเดรีย (c.10-70 AD) นักคณิตศาสตร์ชาว กรีกสร้างโรงละครที่ประกอบด้วยเครื่องจักร ใช้แสดงละครความยาว 10 นาที และทางานโดยมีกลไกเชือก และอิฐบล็อกทรงกระบอกที่ซับซ้อน ซึ่งสามารถตัดสินใจเลือกได้ว่าจะชิ้นส่วนกลไกใดใช้ในการแสดงฉาก ใดและเมื่อไร ราว ๆ ปลายศตวรรษที่ 10 สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2 นักบวชชาวฝรั่งเศส ได้นาลิ้นชักบรรจุ อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่จะตอบคาถามได้ว่าใช่ หรือ ไม่ใช่ เมื่อถูกถามคาถาม (ด้วยเลขฐานสอง) [11] ซึ่งชาวมัวร์ ประดิษฐ์ไว้กลับมาจากประเทศสเปน ในศตวรรษที่ 13 นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส และโรเจอร์ เบคอน นักปราชญ์ชาวอังกฤษ ได้สร้างหุ่นยนต์แอนดรอยด์ (android) พูดได้โดยไม่ได้พัฒนาใด ๆ ต่ออีก (นักบุญอัลแบร์ตุส มาญุส บ่นออกมาว่าเขาเสียเวลาเปล่าไป 40 ปีในชีวิต เมื่อนักบุญโทมัส อควีนาสตกใจกับ เครื่องนี้และได้ทาลายมันเสีย) [12]
  • 7. 2 ในปี ค.ศ. 1642 แห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา มีการประดิษฐ์เครื่องคานวณของปาสคาลซึ่งเป็นเครื่องคานวณ ตัวเลขเชิงกล[13] เป็นอุปกรณ์ที่จะสามารถคานวณโดยใช้ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์โดยไม่ต้องพึ่ง สติปัญญามนุษย์[14] เครื่องคานวณเชิงกลนี้ยังถือเป็นรากฐานของการพัฒนาคอมพิวเตอร์ในสองทาง แรกเริ่มนั้น ความพยายามที่จะพัฒนาเครื่องคานวณที่มีสมรรถภาพสูงและยืดหยุ่น[15] ซึ่งทฤษฎีนี้ถูกสร้าง โดยชาร์ลส แบบเบจ[16][17] และได้รับการพัฒนาในเวลาต่อมา[18] นาไปสู่การพัฒนา เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่) ขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1960 และในขณะเดียวกัน อินเทล ก็ สามารถประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งถือเป็นจุดกาเนิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล และเป็นหัวใจสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์หากไม่คานึงถึงขนาดและวัตถุประสงค์[19] ขึ้นได้โดย บังเอิญ[20] ระหว่างการพัฒนาเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ บิซิคอม ที่พัฒนาสืบต่อจากเครื่องคานวณเชิงกล โดยตรง ประเภทของคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้ใช้วงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่มาก (very large scale integrated circuit) ซึ่งสามารถ บรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่าสิบล้านตัว เราสามารถแบ่งคอมพิวเตอร์ในรุ่นปัจจุบันออกเป็น 4 ประเภท ดังต่อไปนี้ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับ คอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีราคาแพงมาก มีขนาดใหญ่ สามารถคานวณทาง คณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครั้งต่อวินาที และได้รับการออกแบบ เพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทาง วิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ได้อย่างรวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อมซึ่งหากใช้คอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้ อาจจะต้องใช้เวลาในการคานวณหลายปีกว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหา ได้ภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น เนื่องจากการแก้ปัญหาใหญ่ ๆ จะต้องใช้หน่วยความจาสูง ดังนั้น ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ตั้งแต่รุ่นที่มีหน่วย ประมวลผล (processing unit) 1 หน่วย จนถึงรุ่นที่มีหน่วยประมวลผลหลายหมื่นหน่วยซึ่งสามารถทางาน หลายอย่างได้พร้อม ๆ กัน
  • 8. 3 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมีความเร็วสูง และมี ประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้ จานวนหลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ฉะนั้น จึงสามารถใช้โปรแกรมจานวนนับร้อยแบบในเวลาเดียวกันได้ โดยเฉพาะถ้าต่อเครื่องเข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถใช้ได้จากทั่วโลก ปัจจุบัน องค์กรใหญ่ ๆ เช่น ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ในการทาบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงิน แบบอัตโนมัติ (automatic teller machine) เนื่องจากเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใช้งานมากในการ บริการผู้ใช้พร้อม ๆ กัน เมนเฟรมคอมพิวเตอร์จึงต้องมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) มินิคอมพิวเตอร์ คือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งานได้หลายคนพร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ในจานวนที่เทียบเท่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ จึงทาให้ มินิคอมพิวเตอร์เหมาะสาหรับองค์กรขนาดกลาง หรือสาหรับแผนกหนึ่งหรือสาขาหนึ่งขององค์กรขนาด ใหญ่เท่านั้น ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC) ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (desktop computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น เช่น ขนาดสมุดบันทึก (notebook computer) และขนาดฝ่ามือ (palmtop computer) ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ เริ่มมีขึ้นในปีพ.ศ. 2518 ถึงแม้ว่าในระยะหลัง เครื่องชนิดนี้จะมีประสิทธิภาพที่สูง แต่เนื่องจากมีราคาไม่แพง และมีขนาดกะทัดรัด ไมโครคอมพิวเตอร์จึงยังเหมาะสาหรับใช้ส่วนตัว ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ถูกออกแบบ สาหรับใช้ที่บ้าน โรงเรียน และสานักงานสาหรับที่บ้าน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการทา งบประมาณรายรับรายจ่ายของครอบครัวช่วยทาการบ้านของลูก ๆ การค้นคว้าข้อมูลและข่าวสาร การ สื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail หรือ E - mail) หรือโทรศัพท์ทางอินเทอร์เน็ต (internet phone) ในการติดต่อทั้งในและนอกประเทศ หรือแม้กระทั่งทางบันเทิง เช่น การเล่นเกมบนเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ สาหรับที่โรงเรียน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยสอนนักเรียนในการ ค้นคว้าข้อมูลจากทั่วโลกสาหรับที่สานักงาน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยพิมพ์จดหมาย และข้อมูลอื่น ๆ เก็บและค้นข้อมูล วิเคราะห์และทานายยอดซื้อขายล่วงหน้า โน้ตบุ๊ค (notebook or laptop)
  • 9. 4 โน้ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ในปัจจุบันมีขนาดพอ ๆ กับสมุดที่ทาด้วยกระดาษ เน็ตบุ๊ค (netbook or laptop)เน็ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คและเล็กกว่า โน้ตบุ๊ค ไม่มีไดรฟ์สาหรับอ่านและเขียนแผ่น และใช้ฮาร์ดดิสแบบ SSD ทาให้น้าหนักเบา ถูกออกแบบไว้ เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ปัจจุบันไม่ได้รับความนิยมอัลตร้าบุ๊ค (Ultrabook) อัลตร้าบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และมีขนาดเท่ากับโน้ตบุ๊ค ถูกออกแบบไว้ เพื่อนาติดตัวไปใช้ตามที่ต่าง ๆ และน้าหนักเบากว่าโน้ตบุ๊ค และเน้นความสวยงาม ทันสมัย แปลกใหม่ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ (tablet computer) แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แท็บเล็ต คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ในขณะเคลื่อนที่ได้ ขนาดกลางและใช้หน้าจอสัมผัสในการทางานเป็นอันดับแรก มีคีย์บอร์ดเสมือนจริงหรือปากกาดิจิตอลใน การใช้งานแทนที่แป้ นพิมพ์คีย์บอร์ด และมีความหมายครอบคลุมถึงโน๊คบุ๊คแบบ convertible ที่มีหน้าจอ แบบสัมผัสและมีแป้ นพิมพ์คีย์บอร์ดติดมาด้วยไม่ว่าจะเป็นแบบหมุนหรือแบบสไลด์ก็ตาม [21] ตัวอย่างประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มีประโยชน์กับเรามากมาย เช่น การใช้งานภาครัฐ งานทะเบียนราษฎร์ของรัฐบาล เช่น การแจ้งเกิด ตาย ย้ายที่อยู่ การทาบัตรประจาตัว ประชาชน งานภาษี เช่น ยื่นแบบประเมินภาษีภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต เก็บทะเบียนประวัติผู้เสียภาษี ตรวจสอบ การเสียภาษี งานสายการบิน การสารองที่นั่งผู้โดยสาร การลดงานเอกสาร ทางด้านการศึกษา สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนออนไลน์ให้กับผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล ธุรกิจการนาเข้าสินค้าและส่งออก การทาธุรกิจแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจธนาคาร ช่วยด้านงานข้อมูลธนาคาร รับ-จ่ายเงิน เก็บประวัติลูกค้า ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การทา ธุรกรรมผ่านโทรศัพท์มือถือ
  • 10. 5 วิทยาศาสตร์และการแพทย์การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษาของคนไข้วิจัย คานวณ และ การจาลอง แบบงานสถาปนิก ช่วยออกแบบ เขียนแบบ หรือทาแบบจาลองสามมิติ งานภาพยนตร์ การ์ตูน แอนิเมชัน ช่วยสร้างตัวการ์ตูนเคลื่อนไหว ออกแบบตัวการ์ตูน จาลองตัวการ์ตูนสาม มิติ การตัดต่อภาพยนตร์ งานด้านสถิติ ช่วยเก็บบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ จาลองแบบข้อมูล และการเผยแพร่ข้อมูล ด้านนันทนาการ ช่วยให้ความบันเทิง ดูหนัง ฟังเพลง ร้องคาราโอเกะ เล่นเกม หลักการทางานของ คอมพิวเตอร์ ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ การทางานของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ 1หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่ในการรับข้อมูลหรือคาสั่งจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจา เพื่อเตรียมประมวลผลข้อมูล ที่ต้องการ ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการนาข้อมูลที่ใช้กันอยู่ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนั้น มีอยู่หลายประเภทด้วยกัน สาหรับอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี ดังต่อไปนี้ - Keyboard รูปภาพ 1- Keyboard คียบอร์ด หรือ แป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทุกเครื่องจาเป็นต้องมี เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนา ข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยปกติมักจะมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือใกล้เคียง มีแป้ นต่างๆ ประมาณร้อยแป้ นอยู่บนคีย์บอร์ด (ขึ้นอยู่กับผังแป้ นพิมพ์) ซึ่งถอดแบบมาจากเครื่องพิมพ์ดีด ออกแบบมา เพื่อใช้สาหรับรับข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ แล้วทาการเปลี่ยนเป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต จากนั้นจึงส่งให้ คอมพิวเตอร์ประมวลผล หรือใช้ควบคุมฟังก์ชันการทางานบางอย่างของคอมพิวเตอร์ และเพื่อให้การป้ อน ข้อมูลที่เป็นอักขระและตัวเลขทาได้ง่ายและสะดวกขึ้น คีย์บอร์ดจึงแยกแผงที่เป็นแป้ นอักขระกับแป้ นตัวเลข แยกไว้ต่างหาก
  • 11. 6 - Mouse รูปภาพ 2- Mouse เมาส์ (อังกฤษ: Mouse) คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมตัวชี้บนจอคอมพิวเตอร์ (pointing device) เป็น อุปกรณ์สาคัญในการใช้งานคอมพิวเตอร์ชิ้นหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันถูกออกแบบมาให้มีรูปร่าง ลักษณะ สีสัน ต่างๆกัน บางรุ่นมีไฟประดับให้สวยงาม เพื่อให้เมาะสมกับการใช้งานในแต่ละประเภทและความชื่นชอบ ของผู้ใช้ เช่นมีขนาดเล็ก มีส่วนโค้งและส่วนเว้าเข้ากับอุ้งมือของผู้ใช้ มีรูปร่างสีสันแปลกตาไปจากรุ่น ทั่วๆไป หรือเป็นรูปตัวการ์ตูน และล่าสุดได้มีการพัฒนา เมาส์อากาศ (Air Mouse) ซึ่งสามารถใช้งานเมาส์ โดยถือขึ้นมาเอียงไปมาในอากาศโดยไม่จาเป็นต้องใช้แผ่นรอง ก็สามารถควบคุมตัวชี้ได้เช่นกัน การทางานของเมาส์ ภายในตัวเมาส์จะมีอุปกรณ์สาหรับตรวจจับตาแหน่งการเคลื่อนไหวของลูกกลิ้งยาง (สาหรับรุ่นเก่า)หรืออุปกรณ์ตรวจจับการเปลี่ยนแปลงของแสง (ในเมาส์ที่ใช้แอลอีดีหรือเลเซอร์เป็น แหล่งกาเนิดแสง) โดยตัวตรวจจับจะส่งสัญญาณไปที่คอมพิวเตอร์เพื่อแสดงผลของตัวชี้บนหน้าจอ คอมพิวเตอร์ การเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ การใช้งานเมาส์ร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นจะต้องมีการต่อมันเข้ากับช่อง ต่อของคอมพิวเตอร์ ซึ่งในยุคแรกๆนั้นช่องสาหรับต่อเมาส์จะมีลักษณะเป็นหัวกลมใหญ่ภายในมีขาเป็นเข็ม เรียกว่าแบบ DIN ต่อมามีการพัฒนาช่องต่อเป็นแบบหัวเข็มที่เล็กลงเรียกว่า PS/2 แต่การเชื่อมต่อทั้งสองแบบ นั้นไม่สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้หลากหลาย จึงมีการพัฒนาช่องต่อแบบ USB ขึ้นมา และในเวลาใกล้ๆกันก็ ได้มีการพัฒนาการเชื่อมต่อเมาส์แบบไร้สายขึ้นมาโดยใช้สัญญาณวิทยุเป็นตัวเชื่อมต่อแทนสายเรียกว่า เมาส์ ไร้สาย (Wireless mouse) เมาส์ได้ชื่อมาจากรูปร่างของตัวมันเอง และสายไฟ ซึ่งมีลักษณะคล้ายหนู (Mouse) และหางหนู และขณะ เดียวการเคลื่อนที่ของตัวชี้บนหน้าจอมีลักษณะการเคลื่อนที่ไม่มีทิศทางเหมือนการเคลื่อนที่ของหนู
  • 12. 7 - Disk Drive รูปภาพ 3- Disk Drive ฮาร์ดดิสก์ (อังกฤษ: hard disk drive) หรือ (ศัพท์บัญญัติ) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบ เลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทางาน การติดตั้งเข้ากับตัว คอมพิวเตอร์สามารถทาได้ผ่านการต่อเข้ากับแผงวงจรหลัก (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทาง สายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทาให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทา ได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง - CD-Rom รูปภาพ 4- CD-Rom วีซีดี หรือ วิดีโอซีดี (VCD หรือ Video CD) เป็นรูปแบบมาตรฐานในการจัดเก็บภาพเคลื่อนไหวลงในแผ่น ซีดี รูปลักษณ์ของแผ่นวีซีดีเหมือนกับแผ่นซีดี สามารถเล่นได้กับเครื่องเล่นเฉพาะ เครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนตัว เครื่องเล่นดีวีดี (DVD) เป็นต้น รูปแบบวีซีดีมาตรฐานถูกสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1993 โดย บริษัทโซนี่ บริษัทฟิลิปส์ บริษัทมัทซูชิตะ และ บริษัทเจวีซี ซึ่งได้อ้างอิงไว้ในหนังสือชื่อ ไวต์บุ๊ก (White Book)
  • 13. 8 - Magnetic Tape รูปภาพ 5- Magnetic Tape เทปแม่เหล็กเป็นสื่อสาหรับบันทึกแม่เหล็กทาจากบางเคลือบ magnetizable บนยาวแคบ ๆ ของฟิล์ม พลาสติก ได้รับการพัฒนาในประเทศเยอรมนีอยู่บนพื้นฐานของการบันทึกลวดแม่เหล็ก อุปกรณ์ที่บันทึก และเล่นเสียงและวิดีโอโดยใช้เทปแม่เหล็กบันทึกเทปและบันทึกเทปวิดีโอ อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ เทปแม่เหล็กเป็นเทปไดรฟ์ (หน่วยเทปลาแสง) เทปแม่เหล็กปฏิวัติการออกอากาศและการบันทึก เมื่อทุกวิทยุเป็นสดจะอนุญาตให้เขียนโปรแกรมได้รับการ บันทึก ในขณะที่เมื่อแผ่นเสียงถูกบันทึกไว้ในหนึ่งทาก็อนุญาตให้บันทึกที่จะทาในหลายส่วนซึ่งเป็นแล้ว ผสมและแก้ไขกับการสูญเสียที่ยอมรับในด้านคุณภาพ มันเป็นเทคโนโลยีที่สาคัญในการพัฒนาคอมพิวเตอร์ ช่วงต้นช่วยให้จานวนเงินที่เหนือชั้นของข้อมูลที่จะสร้างกลไกที่เก็บไว้เป็นเวลานานและได้รับการเข้าถึง อย่างรวดเร็ว ปัจจุบันเทคโนโลยีอื่น ๆ สามารถทาหน้าที่ของเทปแม่เหล็ก ในหลายกรณีเทคโนโลยีเหล่านี้จะเปลี่ยนเทป อย่างไรก็ตามเรื่องนี้นวัตกรรมในเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องและโซนี่และไอบีเอ็มยังคงผลิตเทปไดรฟ์แม่เหล็ก ใหม่ กว่าปีที่ผ่านเทปแม่เหล็กที่เกิดขึ้นในปี 1970 และ 1980 สามารถประสบประเภทของการเสื่อมสภาพที่เรียกว่า กลุ่มอาการหลั่งเหนียว ที่เกิดจากการย่อยสลายของสารยึดเกาะของเทปก็สามารถทาให้เทปใช้ไม่ได้
  • 14. 9 - Card Reader รูปภาพ 6- Card Reader การ์ดเป็นอุปกรณ์ป้ อนข้อมูลที่อ่านข้อมูลจากบัตรรูปสื่อจัดเก็บข้อมูล ครั้งแรกที่ได้รับการอ่านบัตรเจาะซึ่ง อ่านกระดาษหรือกระดาษแข็งเจาะบัตรที่ถูกนามาใช้ในช่วงหลายทศวรรษแรกของอุตสาหกรรม คอมพิวเตอร์ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมสาหรับระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องอ่านการ์ดโมเดิร์นเป็นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถอ่านบัตร Lukes ฝังตัวกับทั้งบาร์โค้ด , แถบแม่เหล็ก , ชิปคอมพิวเตอร์หรือสื่อ จัดเก็บข้อมูลอื่นอ่านการ์ดหน่วยความจาเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการสื่อสารที่มีมาร์ทการ์ดหรือการ์ด หน่วยความจา อ่านบัตรแม่เหล็กเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านบัตรแถบแม่เหล็กเช่นบัตรเครดิต [1]ธุรกิจอ่าน บัตรเป็นอุปกรณ์ขนาดเล็กที่ใช้ในการสแกนและอิเล็กทรอนิกส์บันทึกพิมพ์นามบัตร - Scanner ครื่องสแกน คือ อุปกรณ์ต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์แบบกราฟิก ที่มีหน้าที่ ในการเปลี่ยนแปลงภาพต้นฉบับ (รูปถ่าย ตัว อักษรบนหน้ากระดาษ ภาพวาด) ให้เป็นข้อมูล เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ สามารถนาข้อมูลดังกล่าว มาใช้ประโยชน์ ใน การแสดงผลที่หน้าจอ ทาให้สามารถแก้ไข ตกแต่งเพิ่มเติม และจัดเก็บข้อมูลได้ รูปภาพ 7- Scanner
  • 15. 10 2หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ทาหน้าที่ในการคานวณและประมวลผล แบ่งออกเป็น 2 หน่วยย่อย คือ หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ในการดูแล ควบคุมลาดับขั้นตอนของการประมวลผล และการทางานของอุปกรณ์ ต่างๆ ภายในหน่วยประมวลผลกลาง และช่วยประสานงานระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง กับอุปกรณ์ นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์ในการแสดงผล และหน่วยความจาสารอง หน่วยคานวณและตรรก ทาหน้าที่ในการ คานวณและเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ ที่ส่งมาจากหน่วยควบคุม หน่วยความจา 3หน่วยความจ า (Memory) ทาหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือคาสั่งต่างๆ ที่รับจากภายนอกเข้ามาเก็บไว้เพื่อประมวลผลและยังเก็บผลที่ได้ จากการประมวลผลไว้เพื่อแสดงผลอีกด้วย ซึ่งแบ่งออกเป็น หน่วยความจา เป็นหน่วยความจาที่มีอยู่ ใน ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่ในการเก็บคาสั่ง หรือข้อมูล แบ่งออกเป็น ROM หน่วยความจาแบบถาวร RAM หน่วยความจาแบบชั่วคราว หน่วยความจา สารอง เป็นหน่วยความจาที่อยู่นอกเครื่อง มีหน้าที่ช่วยให้หน่วยความจาหลักสามารถเก็บ ข้อมูลได้มากขึ้น 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่ในการแสดงผลลัทธ์ที่ได้หลังจากการคานวณและประมวลผล สาหรับอุปกรณ์ที่ ทาหน้าที่ในการ แสดงผลข้อมูลที่ได้นั้นมีต่อไปนี้ Monitor จอภาพ จอภาพ หรือ วีดียู[1] (อังกฤษ: visual display unit: VDU) หรือชื่ออื่นเช่น จอคอมพิวเตอร์ จอคอม จอมอนิเตอร์ มอนิเตอร์ จอแสดงผล จอภาพแสดงผล จอภาพแสดงผล คอมพิวเตอร์ จอทีวี จอโทรทัศน์ ฯลฯ คือส่วนหนึ่งของ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่แสดงรูปภาพให้เห็นจากอุปกรณ์ที่สามารถ ส่งออกวิดีโอ เช่นคอมพิวเตอร์หรือ รูปภาพ 8Monitor จอภาพ
  • 16. 11 - Printer เครื่องพิมพ์ รูปภาพ 9- Printer เครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์(อังกฤษ: Computer printer) เป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงที่จะผลิตข้อความหรือกราฟิกของเอกสารที่เก็บ ไว้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ออกมาในสื่อทางกายภาพเช่นกระดาษหรือแผ่นใสเครื่องพิมพ์ส่วนมากเป็น อุปกรณ์ต่อพ่วงกับคอมพิวเตอร์ทั่วไป และเชื่อมต่อด้วยสายเคเบิลเครื่องพิมพ์หรือในเครื่องพิมพ์รุ่นใหม่จะ เป็นสายยูเอสบี เครื่องพิมพ์บางชนิดที่เรียกกันว่าเครื่องพิมพ์เครือข่าย(Network Printer) อินเตอร์เฟซที่ใช้ มักจะเป็นแลนไร้สายและ/หรืออีเทอร์เน็ต - Plotter เครื่องพิมพ์ที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการลงกระดาษ รูปภาพ 10- Plotter เครื่องวาด (plotter) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้ปากกาในการวาดข้อมูลต่าง ๆ ลงบนกระดาษ เหมาะสาหรับงาน เกี่ยวกับการเชียนแบบทางวิศวกรรมและงานตกแต่งภายใน การทางานของเครื่องวาดใช้วิธีเลื่อนกระดาษให้ ปากกาจานวน 6-8 สี วาดลงบนกระดาษ (ครูชัชเจน, วันอังคารที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2557)
  • 17. 12 พื้นฐานการใช้โปรแกรม Microsoft Word โปรแกรม Microsoft Office Word 2007 เป็นโปรแกรมประมวลผลคาที่นิยมใช้กันมากอยู่ ในปัจจุบันนี้ เพราะมีคุณลักษณะที่ดี เช่น การจัดรูปแบบสะดวกรวดเร็ว ฯลฯ และมีประโยชน์ต่อการจัดเก็บเอกสารและ การปรับแก้ไข พื้นฐานการใช้โปรแกรมตั้งแต่การ เปิด ส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น แท็บเมนู แท็บเครื่องมือ มุมมอง ฯลฯ และการจัดการไฟล์เอกสาร เช่น การเปิด การปิด การบันทึก และการออกจากโปรแกรม ฯลฯ อีกทั้งยังรองรับภาษาไทยได้ด้วย 1. ความหมายของการประมวลผลคา การประมวลผลคา หรือ Word Processing คือ การนาคาหลาย ๆ คามาเรียงกันให้อยู่ใน รูปแบบที่กาหนด ซึ่ง เราสามารถกาหนดได้ว่าจะให้มีกี่ตัวอักษรต่อหนึ่งบรรทัด หรือหน้าละกี่ บรรทัด กั้นระยะหน้าระยะหลัง เท่าใด และสามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้อย่างสะดวกจนกว่าจะพอใจ แล้วจึงสั่งพิมพ์เอกสารนั้น ๆ ออกมากี่ชุดก็ ได้โดยทุกชุดที่ออกมาจากเครื่องพิมพ์จะเหมือนกันทุก ประการ เสมือนกับการถ่ายเอกสารหรือการก๊อปปี้ แต่ความจริงแล้วเอกสารทุกแผ่นจะถูกพิมพ์ออกมาจากเครื่องพิมพ์อย่างสวยงามและปราณีต เพราะ ปราศจากร่องรอยของขูดลบใด ๆ และนั่น ย่อมหมายถึงการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการทางาน โดยเรา จะต้องทาการพิมพ์ข้อมูลต่าง ๆ ซึ่ง เป็นเอกสาร บทความ รายงาน จดหมาย ฯลฯ เข้าไปเก็บไว้ใน หน่วยความจาของเครื่อง คอมพิวเตอร์ หลังจากนั้นเราสามารถใช้คาสั่งต่าง ๆ เข้าไปจัดการแก้ไข ดัดแปลง หรือเพิ่มเติม ข้อมูลเหล่านั้นได้ตลอดเวลา โปรแกรม (Program) หรือชุดคาสั่งที่ทาให้เราสามารถทางานกับ เอกสาร และสั่งงานต่าง ๆ นี้ได้มีชื่อเรียกว่า โปรแกรมเวิร์ดโปรเซสซิ่ง (Word Processing) หรือ โปรแกรม ประมวลผลคา
  • 18. 13 2. คุณลักษณะของโปรแกรมประมวลผลคาที่ดี 2.1 มีระบบขอความช่วยเหลือ (Help) โปรแกรมประมวลผลคาที่ดี ควรจะมีระบบขอวามช่วยเหลือที่จะคอยช่วยให้ คาแนะนาช่วยเหลือให้ผู้ใช้ สามารถทางานได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว เช่น หากเกิดปัญหากับการ ใช้งาน หรือสงสัยเกี่ยวกับวิธีการใช้ งาน แทนที่จะต้องเปิดหาในหนังสือคือมือการใช้งานของ โปรแกรม ก็สามารถขอความช่วยเหลือจาก โปรแกรมได้ทันที 2.2 มีระบบอัตโนมัติ โปรแกรมประมวลผลคาที่ดีควรจะมีระบบอัตโนมัติที่จะช่วยให้ผูใช้สามารถ ทางานกับเอกสารได้อย่าง สะดวกสบายมากขึ้น เช่น การตรวจสอบคาผิดอัตโนมัติ (Spell) การ จัดรูปแบบอัตโนมัติ (Auto Format) การแก้ไขอัตโนมัติ (Auto Correct) มีระบบใส่ข้อความ อัตโนมัติ ตรวจสอบการสะกดคาผิดได้ทั้งภาษาไทย และอังกฤษ เป็นต้น 2.3 การใช้ข้อมูลร่วมกันกับโปรแกรมอื่น ๆ ได้ โปรแกรมประมวลผลคาที่ดี ควรจะมีความสามารถในการนางานที่สร้างด้วย โปรแกรมอื่น ๆ มาใช้งาน ร่วมกับโปรแกรมได้เช่น การแทรกภาพ อักษรศิลป์ สัญลักษณ์ ผัง องค์กร กราฟ ฯลฯ เป็นต้น นอกจากนี้ ควรมีความสามารถในการดึงเอกสารจากโปรแกรม Word Processing อื่น ๆ มาใช้งานในโปรแกรมได้ 2.4 เรียนรู้การใช้งานได้ง่าย การเรียนรู้วิธีการใช้งานโปรแกรม ไม่ควรจะต้องใช้เวลานานเกินไปสาหรับการ เรียนรู้ ควรมีบทเรียนช่วย สอน หรือสาธิต (Demo) เกี่ยวกับขั้นตอนต่าง ๆ ในการใช้งานของ โปรแกรม เพื่อให้สามารถเรียนรู้การใช้ งานโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว 2.5 มีระบบการค้นหา และแทนที่คา โปรแกรมประมวลผลคาที่ดี ควรจะระบบการค้นหา และการแทนที่คา เพื่อให้ผู้ใช้สามารถที่จะทาการค้นหา คา เพื่อการแก้ไข หรือทาการแทนที่ได้สะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้น 2.6 จัดรูปแบบเอกสารได้สะดวก โปรแกรมประมวลผลคาที่ดี ควรจะมีเครื่องมือที่ช่วยให้การจัดรูปแบบของเอกสารได้สะดวก และรวดเร็ว ซึ่งควรจะมีความสามารถที่จะจัดรูปแบบได้รวดเร็ว มีขั้นตอนในการ จัดรูปแบบที่ไม่ยุ่งยาก
  • 19. 14 2.7 กาหนดรูปแบบตัวอักษรได้หลายแบบ หลายขนาด โปรแกรมประมวลผลคาที่ดี ควรจะมีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลงและกาหนดรูปแบบของตัวอักษร และ ขนาดของตัวอักษรได้หลายรูปแบบ รวมทั้งตัวอักษรพิเศษต่างๆที่ ไม่มีบนแป้ นพิมพ์ด้วย 3. ประโยชน์ของโปรแกรมประมวลผลคา 3.1 การจัดเก็บเอกสาร การจัดเก็บเอกสารที่พิมพ์ขึ้นด้วยกระดาษนั้น อาจจะสูญหายหรือฉีกขาดได้ง่าย แต่ การจัดเก็บเอกสารในรูป ของไฟล์ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น ข้อมูลต่าง ๆ จะอยู่ครบถ้วนตราบเท่าที่สื่อ ที่ใช้ในการเก็บบันทึกข้อมูล เช่น ดิสก์เก็ต ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี ฯลฯ อยู่ในสภาพที่ดีและสมบูรณ์ 3.2 การค้นหาและการเรียกใช้ข้อมูล โปรแกรมประมวลผลคาจะมีความสามารถในการค้นหาข้อความหรือคาที่เรา ต้องการได้อย่างรวดเร็ว และ ยังสามารถค้นหาข้อความหรือคา แล้วแทนที่ด้วยข้อความหรือคาใหม่ ได้โดยอัตโนมัติ ตลอดจนการเรียกใช้ แฟ้มข้อมูลก็ทาได้โดยง่ายและสะดวก เพียงแต่ทราบชื่อไฟล์ และตาแหน่งที่จัดเก็บก็สามารถเรียกใช้ไฟล์ได้ โดยสะดวกรวดเร็วไม่ยุ่งยากเหมือนกับการค้นหา และเรียกใช้เอกสารธรรมดา ซึ่งช่วยให้ประหยัดเวลาและ ค่าใช้จ่าย 3.3 การทาสาเนา การทาสาเนาเอกสารด้วยเครื่องพิมพ์ดีดจะต้องใช้กระดาษคาร์บอน และสามารถ ทาสาเนาได้เพียงครั้งละ 3- 4 แผ่นเท่านั้น ในขณะที่การทาสาเนาด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถทา ได้อย่างไม่จากัดและทุกสาเนามี ความชัดเจนเท่าเทียมกัน 3.4 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร การพิมพ์เอกสารด้วยเครื่องพิมพ์ดีด มักจะมีการพิมพ์ผิดอยู่เสมอ ๆ ทาให้เสียเวลา ในการแก้ไขเอกสาร ซึ่ง เป็นเรื่องที่ค่อนข้างยุ่งยาก นอกจากนี้เอกสารที่พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีดก็ไม่ สวยงามเท่าที่ควร และจะปรากฏ ร่องรอยของการแก้ไขขูดลบ แต่ถ้าใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการ พิมพ์เอกสาร ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้จะหมด ไป ซึ่งช่วยให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย
  • 20. 15 3.5 การจัดรูปแบบเอกสาร โปรแกรมประมวลผลคามีความสามารถในการจัดทารูปแบบเอกสารได้อย่างดี และ มีประสิทธิภาพ เช่น การกั้นระยะหน้าและหลัง การใส่ข้อความหัวกระดาษและท้ายกระดาษ การจัด เอกสารหลายคอลัมน์ การจัดรูปแบบอัตโนมัติ ฯลฯ ช่วยให้เกิดความสะดวกในการทางานเหนือกว่า การ ทางานแบบเอกสารธรรมดา 4. มีอะไรใหม่ใน Microsoft Office Word 2007 Microsoft Office Word 2007 จะช่วยคุณสร้างเอกสารที่ดูเป็นมืออาชีพโดยการจัดชุด เครื่องมือแบบ ครอบคลุมสาหรับการสร้างและการจัดรูปแบบเอกสารของคุณไว้ในส่วนติดต่อใหม่ ความสามารถในการ ตรวจทาน การใส่ข้อคิดเห็น และการเปรียบเทียบอย่างละเอียดจะช่วยให้คุณ 4.1 สร้างเอกสารที่ดูเป็นมืออาชีพ Office Word 2007 ได้จัดเตรียมเครื่องมือการแก้ไขและการทบทวนไว้สาหรับการ สร้างเอกสารที่สละสลวย ได้ง่ายดายกว่าที่เคย 4.2 ใช้เวลาในการเขียนมากขึ้น แต่ใช้เวลาในการจัดรูปแบบน้อยลง ส่วนติดต่อที่คา นึงถึงผลลัพธ์ใหม่นี้จะเสนอเครื่องมือให้คุณในเวลาที่คุณ จาเป็นต้องใช้ด้วยรูปแบบที่ชัดเจน และมีระเบียบ ช่วยประหยัดเวลาและใช้ความสามารถที่ทรง ประสิทธิภาพของ Word ได้อย่างเต็มที่ด้วยการ เลือกจากแกลเลอรีลักษณะ รูปแบบตาราง รูปแบบ รายการ ลักษณะพิเศษทางกราฟิก และอื่นๆ ที่กาหนดไว้ ล่วงหน้าWord ช่วยขจัดการคาดเดาเมื่อคุณนาการจัดรูปแบบมาใช้ในเอกสารของคุณ แกล เลอรีของตัวเลือก การจัดรูปแบบจะแสดงตัวอย่างเสมือนจริงของการจัดรูปแบบในเอกสารของคุณ ก่อนที่คุณจะทาการ ตัดสินใจ 4.3 เพิ่มองค์ประกอบที่จัดรูปแบบไว้แล้วด้วยการคลิกเพียงสองสามครั้ง Office Word 2007 ได้นาแบบ เอกสารสาเร็จรูปมาใช้สาหรับการเพิ่มเนื้อหาที่ จัดรูปแบบไว้แล้วลงในเอกสารของคุณเมื่อคุณกาลังทางาน บนเอกสารจากชนิดแม่แบบที่เฉพาะเจาะจง เช่น รายงาน คุณ สามารถเลือกจากแกลเลอรีหน้าปก ข้อความที่ ดึงออกมา รวมทั้งหัวกระดาษและท้ายกระดาษที่ จัดรูปแบบไว้แล้วเพื่อทาให้เอกสารของคุณดูสละสลวยขึ้น ได้ ถ้าคุณต้องการกาหนดเนื้อหาที่จัดรูปแบบไว้แล้วเอง หรือถ้าองค์กรของคุณใช้ เนื้อหาบางส่วนที่เหมือนกัน เป็นประจา เช่น ข้อความคาชี้แจงทางกฎหมายหรือข้อมูลที่ติดต่อของ ลูกค้า คุณสามารถสร้างแบบเอกสาร สาเร็จรูปของคุณเองซึ่งคุณเลือกจากแกลเลอรีด้วยการคลิกครั้ง เดียว
  • 21. 16 4.4 สื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วยกราฟิกที่ให้ผลกระทบสูง คุณลักษณะแผนภูมิและไดอะแกรมแบบใหม่จะรวมรูปร่างแบบสามมิติ ความ โปร่งใส เงาที่ตกกระทบ และ ลักษณะพิเศษอื่นๆ ไว้ 4.5 นาลักษณะหน้าตาใหม่ไปใช้กับเอกสารของคุณทันที เมื่อบริษัทของคุณปรับปรุงภาพลักษณ์ของบริษัท คุณสามารถปฏิบัติตามได้ทันที ในเอกสารของคุณ ด้วย การใช้ 'ลักษณะด่วน' และ 'ชุดรูปแบบเอกสาร' คุณสามารถเปลี่ยนแปลง 4.6 หลีกเลี่ยงการสะกดผิดได้อย่างง่ายดาย ต่อไปนี้เป็นคุณลักษณะใหม่บางอย่างของตัวตรวจสอบการสะกด ตัวตรวจสอบการสะกดได้รับการปรับปรุงให้มีความสอดคล้องกันมากขึ้นตลอด ทั้งโปรแกรม 2007 Microsoft Office system ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีดังต่อไปนี้ ในขณะนี้ตัวเลือกของตัวตรวจสอบการสะกดหลายตัวจะเป็นแบบส่วนกลาง ถ้า คุณเปลี่ยนตัวเลือกตัวใดตัว หนึ่งในโปรแกรม Office หนึ่ง ตัวเลือกดังกล่าวก็จะได้รับการ เปลี่ยนแปลงสาหรับโปรแกรม Office ที่เหลือ ทั้งหมดเช่นกัน สาหรับข้อมูลเพิ่มเติม ให้ดูที่ เปลี่ยน วิธีการทางานของการตรวจสอบการสะกดและ ไวยากรณ์นอกเหนือจากการใช้พจนานุกรมแบบกาหนดเองร่วมกันแล้ว โปรแกรมทั้งหมด ยังสามารถจัดการ พจนานุกรมเหล่านี้ได้โดยใช้กล่องโต้ตอบเดียวกัน สาหรับข้อมูลเพิ่มเติม ให้ดูที่ ใช้พจนานุกรมแบบกาหนด เองเพื่อเพิ่มคาลงในตัวตรวจสอบการสะกดตัวตรวจสอบการสะกดใน 2007 Microsoft Office system มี พจนานุกรมภาษา ฝรั่งเศสฉบับหลักการปฏิรูป ซึ่งใน Microsoft Office 2003 พจนานุกรมฉบับนี้จะเป็น Add-in ซึ่ง ต้องทาการติดตั้งเพิ่มเติมแยกต่างหาก สาหรับข้อมูลเพิ่มเติม ให้ดูที่ เปลี่ยนวิธีการทางานของการ ตรวจสอบการสะกดและไวยากรณ์ พจนานุกรมแยกคาที่ไม่ต้องการจะถูกสร้างขึ้นโดยอัตโนมัติสาหรับภาษาหนึ่งใน ครั้งแรกที่มีการใช้ภาษา ดังกล่าว พจนานุกรมแยกคาที่ไม่ต้องการช่วยให้คุณสามารถสั่งให้ตัว ตรวจสอบการสะกดตั้งค่าสถานะคาที่ คุณไม่ต้องการใช้ พจนานุกรมดังกล่าวนี้มีประโยชน์ในการ ช่วยหลีกเลี่ยงคาที่ไม่สุภาพหรือไม่ตรงกับแนว ทางการเขียนของคุณ สาหรับข้อมูลเพิ่มเติม ให้ดูที่ ใช้พจนานุกรมแยกคาที่ไม่ต้องการเพื่อกาหนดการสะกด ที่คุณต้องการสาหรับคาตัวตรวจสอบการสะกดสามารถค้นหาและตั้งค่าสถานะการสะกดผิดตามบริบท บางอย่างได้คุณเคยพิมพ์ผิดในลักษณะที่คล้ายคลึงกับตัวอย่างต่อไปนี้หรือไม่ I will see you their. ใน Office Word 2007 คุณสามารถเปิดใช้งานตัวเลือก ใช้การสะกดตามปริบท เพื่อขอความ ช่วยเหลือในการ ค้นหาและแก้ไขข้อผิดพลาดในลักษณะนี้ได้ตัวเลือกนี้จะพร้อมใช้งานขณะ ตรวจสอบการสะกดของ
  • 22. 17 เอกสารในภาษาอังกฤษ เยอรมัน หรือสเปน สาหรับข้อมูลเพิ่มเติม ให้ดูที่ เลือกวิธีการทางานของการ ตรวจสอบการสะกดและไวยากรณ์คุณสามารถปิดใช้งานการตรวจสอบการสะกดและไวยากรณ์สาหรับ เอกสารหนึ่ง ฉบับหรือสาหรับเอกสารทั้งหมดที่คุณสร้างขึ้น 4.7 ใช้เอกสารร่วมกันอย่างเป็นความลับ เมื่อคุณส่งแบบร่างของเอกสารให้กับผู้ร่วมงานของคุณเพื่อให้ป้ อนข้อมูล Office Word 2007 จะช่วยคุณ รวบรวมและจัดการการตรวจทานแก้ไขและข้อคิดเห็นของผู้ร่วมงาน เหล่านั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อ คุณพร้อมที่จะประกาศเอกสาร Office Word 2007 ทาให้คุณ มั่นใจได้ว่าการตรวจทานแก้ไขและคาแนะนาที่ ยังไม่ได้รับการแก้ไขนั้นไม่ได้ซ่อนอยู่ในเอกสารที่ ประกาศ 4.8 เปรียบเทียบเอกสารสองรุ่นอย่างเร็ว Office Word 2007 ทาให้การค้นหาสิ่งที่เปลี่ยนแปลงในเอกสารง่าย ขึ้น เมื่อคุณ เปรียบเทียบและรวมเอกสาร คุณสามารถดูเอกสารทั้งสองรุ่น พร้อมด้วยข้อความที่ถูกลบ แทรก และเอาออกซึ่งถูกทาเครื่องอย่างชัดเจนในเอกสารรุ่นที่สาม 4.9 ค้นหาและการเอาข้อมูล Metadata ที่ซ่อนอยู่และข้อมูลส่วนตัวในเอกสารออก ก่อนที่คุณจะใช้เอกสาร ของคุณร่วมกับผู้อื่น คุณสามารถใช้ตัวตรวจสอบเอกสาร ในการตรวจสอบเอกสารเพื่อหาข้อมูล Metadata ที่ซ่อนอยู่ ข้อมูลส่วนตัว หรือเนื้อหาที่อาจจะถูก บันทึกอยู่ในเอกสาร ตัวตรวจสอบเอกสารสามารถค้นหา และเอาข้อมูล เช่น ข้อคิดเห็น รุ่น การ เปลี่ยนแปลงที่ติดตาม คาอธิบายประกอบที่เป็นหมึก คุณสมบัติ เอกสาร ข้อมูลเซิร์ฟเวอร์การจัดการ เอกสาร ข้อความที่ซ่อนอยู่ ข้อมูล XML แบบกาหนดเอง และข้อมูลใน หัวกระดาษและท้ายกระดาษ ออกจากเอกสารได้ ตัวตรวจสอบเอกสารสามารถช่วยให้คุณมั่นใจได้ว่า เอกสารที่คุณใช้ร่วมกับผู้อื่น ไม่มีข้อมูลส่วนตัวใดๆ ซ่อนอยู่หรือเนื้อหาใดๆ ที่องค์กรของคุณไม่ต้องการให้ มีการแจกจ่ายออกไป ซ่อนอยู่ นอกจากนี้ องค์กรของคุณยังสามารถกาหนดตัวตรวจสอบเอกสารเองเพื่อเพิ่ม การ ตรวจสอบหาเนื้อหาที่ซ่อนอยู่ชนิดอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ 4.10 การเพิ่มลายเซ็นดิจิทัลหรือบรรทัดลายเซ็นลงในเอกสารของคุณ คุณสามารถช่วยให้เกิดความมั่นใจในเรื่องความน่าเชื่อถือ ความสมบูรณ์ และ แหล่งที่มาของเอกสารของคุณ ด้วยการเพิ่มลายเซ็นดิจิทัลลงในเอกสาร ใน Office Word 2007 คุณ สามารถเพิ่มลายเซ็นดิจิทัลซึ่งไม่ สามารถมองเห็นได้ลงในเอกสาร หรือคุณสามารถแทรกบรรทัด ลายเซ็นของ Microsoft Office เพื่อจับรูป แทนลายเซ็นที่มองเห็นได้พร้อมกับลายเซ็นดิจิทัลความสามารถในการจับลายเซ็นดิจิทัลโดยใช้บรรทัด ลายเซ็นในเอกสาร Office ช่วยให้องค์กรต่างๆ สามารถใช้กระบวนการการเซ็นชื่อโดยไม่ใช้กระดาษสาหรับ
  • 23. 18 เอกสาร เช่น สัญญาหรือข้อตกลงอื่นๆ ข้อแตกต่างจากลายเซ็นบนกระดาษก็คือ ลายเซ็นดิจิทัลจะจัดให้มี บันทึก ของสิ่งที่ได้มีการเซ็นอย่างถูกต้องชัดเจนและยังช่วยให้สามารถตรวจสอบลายเซ็นได้ในอนาคต 4.11 การแปลงเอกสาร Word ของคุณเป็น PDF หรือ XPS Office Word 2007 สนับสนุนการส่งออกแฟ้มของคุณในรูปแบบต่อไปนี้ Portable Document Format (PDF) PDF เป็นรูปแบบแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ที่มีเค้า โครงตายตัวซึ่งจะรักษาการ จัดรูปแบบของเอกสารเอาไว้และยอมให้มีการใช้แฟ้มร่วมกันได้รูปแบบ PDF ช่วยให้มั่นใจได้ว่าขณะที่มี การแสดงแฟ้มในแบบออนไลน์หรือพิมพ์แฟ้ม แฟ้มจะ ยังคงรักษารูปแบบตามที่คุณสร้างขึ้นทุกประการ และข้อมูลในแฟ้มจะไม่สามารถถูกเปลี่ยนแปลง ได้อย่างง่ายดาย รูปแบบ PDF ยังมีประโยชน์สาหรับเอกสาร ที่จะถูกทาสาเนาออกมาโดยใช้วิธีการ พิมพ์เชิงพาณิชย์ XML Paper Specification (XPS) XPS เป็นรูปแบบแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งจะ รักษาการจัดรูปแบบของเอกสาร เอาไว้และเปิดใช้งานการใช้แฟ้มร่วมกันได้ รูปแบบ XPS ช่วยให้ มั่นใจได้ว่าขณะที่มีการแสดงแฟ้มในแบบ ออนไลน์หรือพิมพ์แฟ้ม แฟ้ มจะยังคงรักษารูปแบบตามที่ คุณสร้างขึ้นทุกประการ และข้อมูลในแฟ้มจะไม่ สามารถถูกเปลี่ยนแปลงได้อย่างง่ายดาย 4.12 ตรวจพบเอกสารที่มีแมโครฝังตัวโดยทันที Office Word 2007 จะใช้รูปแบบแฟ้มที่แยกกัน (.docm) สาหรับเอกสารที่เปิดใช้งานแมโคร เพื่อให้คุณ สามารถบอกได้ทันทีว่าแฟ้มมีความสามารถในการเรียกใช้งานแมโครที่ฝังตัว หรือไม่ 4.13 ป้ องกันการเปลี่ยนแปลงกับเอกสารขั้นสุดท้าย ก่อนที่คุณจะใช้เอกสารที่เป็นขั้นสุดท้ายร่วมกับผู้อื่น คุณสามารถใช้คาสั่ง กาหนดให้เป็นขั้นสุดท้าย เพื่อทา ให้เอกสารเป็นแบบอ่านอย่างเดียวและสื่อสารกับผู้อื่นว่าคุณกาลัง ใช้เอกสารขั้นสุดท้ายร่วมกับพวกเขา ขณะ เอกสารถูกกาหนดให้เป็น "ขั้นสุดท้าย" การพิมพ์คาสั่ง แก้ไข และเครื่องหมายการพิสูจน์อักษรจะถูกปิดใช้ งาน และผู้ที่ดูเอกสารจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลง แก้ไขเอกสารโดยไม่ได้ตั้งใจได้คาสั่ง กาหนดให้เป็นขั้น สุดท้าย ไม่ใช่คุณลักษณะความปลอดภัย ใครก็ตามสามารถแก้ไขเอกสารที่ถูกกาหนดให้เป็นขั้นสุดท้ายได้ ด้วยการปิด กาหนดให้เป็นขั้น สุดท้าย
  • 24. 19 4.14 การทาสิ่งอื่นนอกเหนือจากเอกสาร ในยุคปัจจุบันที่คอมพิวเตอร์และแฟ้มมีความเชื่อมโยงระหว่างกันมากกว่าครั้ง ไหนๆ จะเป็นประโยชน์อย่าง ยิ่งหากบันทึกเอกสารไว้ในแฟ้มซึ่งมีขนาดเล็กกระทัดรัด มั่นคง แข็งแรง และสนับสนุนแพลตฟอร์มได้ หลากหลายชนิด เพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าว ระบบ Microsoft Office ได้ประสบความสาเร็จอีกขั้น หนึ่งในวิวัฒนาการของการสนับสนุน XML โดย รูปแบบแฟ้มที่ใช้ XML ใหม่จะช่วยให้แฟ้ม Office Word 2007 มีขนาดเล็กลง มั่นคงแข็งแรงมากขึ้น และประสานกับระบบข้อมูลและแหล่งข้อมูลภายนอกได้ดียิ่งขึ้น 4.15 ลดขนาดแฟ้มและปรับปรุงการกู้คืนความเสียหาย รูปแบบ Word XML ใหม่เป็นรูปแบบแฟ้มที่ถูกบีบอัดเป็นส่วนๆ ซึ่งช่วยให้ สามารถลดขนาดแฟ้มลงได้อย่าง น่าทึ่ง และยังช่วยทาให้มั่นใจว่าจะสามารถกู้คืนแฟ้มที่ถูกทาลาย และเสียหายได้โดยง่าย 4.16 การเชื่อมต่อเอกสารของคุณกับข้อมูลทางธุรกิจ ในธุรกิจของคุณ คุณจาเป็นต้องสร้างเอกสารเพื่อที่จะสื่อสารข้อมูลทางธุรกิจที่ สาคัญ คุณสามารถ ประหยัดเวลาและลดความเสี่ยงในการเกิดข้อผิดพลาดได้ด้วยการทาให้ กระบวนการสื่อสารนี้เป็นไปโดย อัตโนมัติ การสร้างเอกสารสมาร์ทแบบไดนามิกซึ่งสามารถ ปรับปรุงตัวเองได้ด้วยการใช้ตัวควบคุมเอกสาร ใหม่และการผูกข้อมูลเพื่อเชื่อมต่อกับระบบที่ ทางานอยู่ส่วนหลัง (Back-end) ของคุณ (จันทร์สว่าง, 19 กุมภาพัน 2557)
  • 25. 20 ตาราง การใช้แป้ นพิมพ์ เพื่อเลื่อนหน้าเอกสารหรือตาแหน่งพิมพ์ ตารางที่ 1ตาราง การใช้แป้ นพิมพ์ เพื่อเลื่อนหน้าเอกสารหรือตาแหน่งพิมพ์ แป้ นพิมพ์ หน้าที่ กดแป้น Home กดแป้น End กดแป้น Ctrl + Home กดแป้น Ctrl + End กดแป้น Page Up กดแป้น Page Down กดแป้น Ctrl + Page Up กดแป้น Ctrl + Page Down Iให้ตาแหน่งพิมพ์วิ่งไปต้นบรรทัดเอกสารนั้น Iให้ตาแหน่งพิมพ์วิ่งไปท้ายบรรทัดเอกสารนั้น Iให้ตาแหน่งพิมพ์วิ่งไปต้นเอกสารนั้น Iให้ตาแหน่งพิมพ์วิ่งไปท้ายเอกสารนั้น Iเลื่อนไปดูเอกสารทีละหน้าจอทางด้านบน Iเลื่อนไปดูเอกสารทีละหน้าจอทางด้านล่าง Iเลื่อนไปดูเอกสารทีละหน้าเอกสารทาง ด้านบน Iเลื่อนไปดูเอกสารทีละหน้าเอกสารทาง ด้านล่าง
  • 26. 21 บรรณานุกรม ครูชัชเจน. (วันอังคารที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2557). หลักการทางานของคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ กรุงเทพฯ. นายปวรณัฏฐ์ จันทร์สว่าง. (19 กุมภาพัน 2557). พื้นฐานการใช้โปรแกรม Microsoft Word. กรุงเทพฯ: นาย อานาจ งามตา.