SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
1
บทที่ 1
ความหมาย
1.1 ความหมายของยาเสพติด
ยาเสพติด หมายถึง สารหรือยาที่อาจเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติหรือจากการสังเคราะห์ซึ่งเมื่อบุคคลใดเสพ
หรือได้รับเข้าไปในร่างกายซ้าๆกันแล้วไม่ว่าจะโดยวิธีรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใดๆเกิดผลเป็นช่วง
ระยะๆหรือนานติดต่อกันก็ตามจะทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ
- เกิดอาการดื้อยาหรือต้านยาและเมื่อติดแล้วต้องการใช้สารนั้นในประมาณมากขึ้น
- เกิดอาการขาดยาถอนยาหรืออยากยาเมื่อใช้สารนั้นเท่าเดิมลดลงหรือหยุดใช้
- มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา
-สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลงเกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อื่น ตลอดจนสังคม และประเทศชาติ
รูปภาพที่ 1.1 รูปยาเสพติด
1.2สถิติผู้ติดสารเสพติด
ผู้ติดสารเสพติดที่มารับบริการในสถานบริการสาธารณสุข ในปี พ.ศ2540-2544 มีจานวนอัตราต่อแสน
ประชากรคือ 114.42, 99.72, 109.52, 127.67 และ 185.92 เฉลี่ยแล้วเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.79 โดย ในปี พ.ศ2541 มี
อัตราลดลงร้อยละ 12.85 แต่ในปี พ.ศ 2542-2544 มีอัตราเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 9.83, 16.57 และ 45.63 ผู้ติดสารเสพ
ติดใช้บริการเฉพาะทางด้านสุขภาพจิตและจิตเวชมีจานวนอัตราต่อแสนประชากร คือ 34.06, 36.22, 31.22, 37.26
และ 43.92 เฉลี่ยแล้วเพิ่มขึ้นร้อยละ7.44 ส่วนผู้ติดสารเสพติดใช้บริการในสถานบริการสาธารณสุขทั่วไป มี
จานวนอัตราต่อแสนประชากรคือ 80.36, 63.50, 78.70, 90.41 และ 142.00 เฉลี่ยแล้วเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.72 ซึ่งมี
2
อัตราการเพิ่มขึ้นมากกว่าหน่วยงานที่ให้บริการเฉพาะทางด้านสุขภาพจิตและจิตเวชซึ่งสาเหตุของการมารับบริการ
เพิ่มขึ้นอาจเนื่องมาจากช่วงระยะเวลาดังกล่าวมีปัญหา การระบาดของยาเสพติดในประเทศไทยเป็นจานวนมาก
รูปภาพที่ 1.2 รูปสถิติผู้ติดสารเสพติดในปีพ.ศ.2540-2544
1.3 ประเภทของสารเสพติด
จาแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทแบ่งเป็น ๔ ประเภท
1.ประเภทกดประสาทได้แก่ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับยาระงับประสาท ยากล่อมประสาท
เครื่องดื่มมึนเมาทุกชนิด รวมทั้งสารระเหยเช่น ทินเนอร์แล็กเกอร์ น้ามันเบนซิน กาว เป็นต้น มักพบว่าผู้เสพ
ติดมีร่างกายซูบซีด ผอมเหลืองอ่อนเพลีย ฟุ้งซ่าน อารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย
2.ประเภทกระตุ้นประสาทได้แก่ ยาบ้า ยาอี กระท่อม โคเคนมักพบว่าผู้เสพติดจะมีอาการ หงุดหงิด
กระวนกระวาย จิตสับสนหวาดระแวงบางครั้งมีอาการคลุ้มคลั่ง หรือทาในสิ่งที่คนปกติ ไม่กล้าทา เช่น ทา
ร้ายตนเองหรือฆ่าผู้อื่น เป็นต้น
3.ประเภทหลอนประสาทได้แก่แอลเอสดีและ เห็ดขี้ควายเป็นต้น ผู้เสพติดจะมีอาการประสาทหลอน
ฝันเฟื่องเห็นแสงสีวิจิตรพิสดาร หูแว่ว ได้ยินเสียงประหลาดหรือเห็นภาพหลอนที่น่าเกลียดน่ากลัว ควบคุม
ตนเองไม่ได้ในที่สุดมักป่วยเป็นโรคจิต
4.ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสานคือทั้งกระตุ้นกดและหลอนประสาทร่วมกันได้แก่ผู้เสพติดมักมี
อาการหวาดระแวง ความคิดสับสนเห็นภาพลวงตา หูแว่วควบคุมตนเองไม่ได้และป่วยเป็นโรคจิตได้
3
บทที่ 2
สาเหตุ
2.1 สาเหตุการติดยาเสพติด
1. จากการถูกชักชวน การถูกชักชวนนี้อาจจะเกิดจากเพื่อนสนิทที่กาลังติดยาอยู่และอยากจะให้
เพื่อนลองบ้าง ปัญหานี้มักจะเกิดกับเด็กที่มีปัญหาทางครอบครัวขาดความอบอุ่น ใจแตก เอาเพื่อนเป็นที่พึ่ง
นอกจากนี้ผู้ที่อยู่ในแหล่งที่มีการซื้อขายยาเสพติด ก็อาจจะได้รับการ ชักจูง คุณภาพของยาเสพติดว่าดีต่าง ๆ
นานา เช่น อาจจะบอกว่า เมื่อเสพแล้วจะทาให้ปลอด โปร่ง เหมาะแก่การเรียนการทางาน การชักจูงดังกล่าว
อาจจะเกิดขึ้นในขณะที่ผู้ถูกชักจูง กาลังมึนเมา สุราเที่ยวเตร่กัน จึงทาให้เกิดการติดยาได้
2. จากการอยากทดลอง อยากรู้อยากเห็น อยากจะรู้รสชาติ อยากสัมผัส โดยคิดว่าคงจะไม่ติดง่าย ๆ
แต่เมื่อ ทดลอง เสพเข้าไปแล้วมักจะติด เพราะยาเสพติดในปัจจุบัน เช่น เฮโรอีน จะติดง่ายมาก แม้เสพเพียง
ครั้งหรือสอง ครั้ง ก็จะติดแล้ว
3.จากการถูกหลอกลวง ยาเสพติดมีรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ผู้ถูกหลอกลวงไม่ทราบว่าสิ่งที่ ตนได้
กินเข้าไปนั้น เป็นยาเสพติดให้โทษร้ายแรง คิดว่าเป็นยาธรรมดาไม่มีพิษร้ายแรง อะไรตามที่ผู้หลอกลวง
แนะนาผลสุดท้าย กลายเป็นผู้ติดยาเสพติดไป
4. เหตุทางกาย ความเจ็บป่วยทางกาย เช่น ต้องถูกผ่าตัดหรือเป็นโรคปวดศีรษะ เป็นหืด เป็นโรค
ประสาทได้รับ ความทรมานทางกายมากผู้ป่วยต้องการบรรเทา พยายามช่วยตัวเองมานานแต่ก็ไม่หาย จึงหัน
เข้าหายาเสพติด จนติดยาในที่สุด
5. จากความคึกคะนอง บุคคลประเภทนี้คิดว่าตัวเองเป็นคนเก่งอยากลองซึ่งรู้แก่ใจว่ายาเสพติดให้
โทษเป็นสิ่งไม่ดีแต่ด้วยความที่คึกคะนองเป็นวัยรุ่นไม่เกรงกลัวอะไร ต้องการแสดง ความเด่นดังอวดเพื่อน
ว่าข้านี้คือพระเอก ขาดความยั้งคิดจึงเสพยา เสพติดและติดยาในที่สุด
6. จากสิ่งแวดล้อม เช่น สถานที่อยู่อาศัยแออัด เป็นแหล่งสลัม หรือเป็นแหล่งที่มีการเสพและค้ายา
เสพติด ภาวะทางเศรษฐกิจบีบคั้นจิตใจ เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลเหนือจิตใจผลักดันให้ผู้ที่อยู่ใน
สภาพแวดล้อมดังกล่าว บางคนหันมาพึ่งยาเสพติดโดยคิดว่าจะช่วยให้ตนเองหลุดพ้นจากสภาพต่างๆที่คับ
ข้องใจเหล่านั้น
4
รูปภาพที่ 2.1 รูปประกอบสาเหตุการติดยาเสพติด
2.2 การป้องกันยาเสพติด
2.2.1 การป้องกันในครอบครัว
ผู้ที่ติดสิ่งเสพติดส่วนใหญ่จะเกิดจากครอบครัวที่แตกแยกมีปัญหา ขาดความรักความอบอุ่น เกิด
ความว้าเหว่ ขาดที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ซึ่งเป็นเหตุให้เด็กๆหันไปพึ่งยาเสพติดแทน ดังนั้นพ่อแม่จึงควรให้
ความรักความอบอุ่น และพ่อแม่ก็ควรจะประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นที่ปรึกษาให้แก่ลูกๆได้ทาให้
ลูกไม่หันไปพึ่งพายาเสพติด
ป้องกันครอบครัวทาได้โดย
•สร้างความรักความอบอุ่นและความสัมพันธ์อันดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว
• รู้และปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง
•ดูแลสมาชิกในครอบครัวไม่ให้ข้องเกี่ยวกับยาเสพติด
• ให้กาลังใจและหาทางแก้ไข หากพบว่าสมาชิกในครอบครัวติดยาเสพติด
รูปภาพที่ 2.2 รูปประกอบการป้องกันครอบครัว
5
2.2.2การป้องกันชุมชน
การป้องกันชุมชนจากปัญหาสิ่งเสพติดทาได้หลายวิธีเช่น
1.การให้ความรู้โดยการอบรมแก่ทุกคนในชุมชนให้เห็นโทษหรืออันตรายจากสิ่งเสพติด
2. เสริมกิจกรรมยามว่างโดยการส่งเสริมอาชีพแก่ชุมชนยามว่าง เช่น การเย็บเสื้อผ้า การทารองเท้า เป็นต้น
3.ตั้งศูนย์รับแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับสิ่งเสพติดเมื่อพบว่ามีการซื้อขายหรือเสพสิ่งเสพติดภายในชุมชน
4. เข้าร่วมโครงการชุมชนปลอดสิ่งเสพติดต่างๆ ทั้งที่ทางราชการจัดขึ้น และชุมชนคิดริเริ่มขึ้นมาเอง
2.2.3 การป้องกันตนเอง
1.ไม่ทดลองเสพสิ่งที่รู้ว่ามีภัยเพราะอาจจะทาให้ติดได้ง่าย
2.เลือกคบเพื่อนที่ดีพยายามหลีกเลี่ยงเพื่อนที่ชอบชักจูงไปในทางเสื่อมเสีย
3. รู้จักใช้วิจารณญาณในการแก้ปัญหา แต่หากว่าไม่สามารถแก้ไขเองได้ ก็ควรจะปรึกษากับพ่อแม่หรือ
ญาติผู้ใหญ่ที่ไว้ใจได้
4.การสร้างทักษะชีวิตโดยเฉพาะทักษะการปฏิเสธเมื่อถูกเพื่อนชักชวนให้เสพสิ่งเสพติดต้องรู้จักปฏิเสธ
อย่างนุ่มนวล โดยการชี้แจงผลเสียของสิ่งเสพติดต่อการเรียนและอนาคต การรู้จักปฏิเสธอย่างจริงจังและ
จิตใจแน่วแน่จะทาให้เพื่อนเกรงใจไม่กล้าชวนอีก
ป้องกันตนเอง ทาได้โดย..
• ศึกษาหาความรู้ เพื่อให้รู้เท่าทันโทษพิษภัยของยาเสพติด
• ไม่ทดลองใช้ยาเสพติดทุกชนิดและปฏิเสธเมื่อถูกชักชวน
รูปภาพที่ 2.3 รูปประกอบการป้องกันตนเอง
6
บทที่ 3
ผลกระทบ
3.1 ผลกระทบต่อการบริหารจัดการภาครัฐ
1. คดียาเสพติดที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นภาระต่องานด้านกระบวนการยุติธรรมทั้งระบบตั้งแต่
ในระดับตารวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ และการคุมประพฤติ นาไปสู่การปรับปรุงกฎหมาย การขยายงาน
ขยายอัตรากาลังการขอผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น และการก่อสร้างสถานที่รองรับผู้ติดยาเสพติด ซึ่งส่งผลกระทบ
ต่อภาระค่าใช้จ่ายของรัฐที่เพิ่มสูง และทาให้การดาเนินคดีด้านอื่นๆ เกิดความล่าช้า
2. นอกจากนี้ ปัญหายาเสพติดได้ก่อให้เกิดการทุจริต คอรัปชั่น โดยเฉพาะการทุจริตต่อหน้าที่ การ
รับสินบน การกลั่นแกล้งรีดไถ แสวงหาผลประโยชน์จากผู้กระทาความผิดซึ่งทาให้ประชาชนและสังคมเกิด
ความไม่ศรัทธาและเชื่อมั่นในการทางานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
รูปภาพที่ 3.1 รูปภาพประกอบผลกระทบต่อการบริหารจัดการภาครัฐ
3.2 ผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชนและสังคม
1. ครอบครัวที่มีผู้ติดยา มักได้รับความเดือดร้อนจากผู้ติดยาในทุกด้าน นาไปสู่ความยุ่งยาก ขัดแย้ง
แตกแยก และสิ้นเปลืองในการแก้ปัญหา
2. ปัญหายาเสพติด ได้ก่อให้เกิดความหวาดระแวงจากประชาชน และสังคมในวงกว้างเนื่องจากเกรง
ว่าบุตรหลานจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดหรือถูกประทุษร้ายจากผู้เสพยาที่มีอาการผิดปกติทางจิต
7
3. ผู้ติดยามักก่อให้เกิดอาชญากรรมต่อเนื่อง ตั้งแต่การเข้าไปเกี่ยวข้องกับแหล่งอบายมุข การลักเล็ก
ขโมยน้อย การประทุษร้ายต่อชีวิตและทรัพย์สิน การพนันและอาชญากรรมต่างๆ
4. สาหรับผู้ค้าและหรือผู้เสพซึ่งเป็นหัวหน้าครอบครัว เมื่อถูกจับกุมและดาเนินการทางกฎหมาย จะ
ส่งผลกระทบให้สมาชิกภายในครอบครัวได้รับความเดือดร้อนในการดารงชีวิตทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนที่อยู่ภายใต้การปกครองจะต้องออกจากโรงเรียน ซึ่งเป็นการทาลายอนาคต
ของประเทศชาติ
รูปภาพที่3.2 รูปภาพประกอบผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชนและสังคม
3.3 ผลกระทบต่อความมั่นคงและชื่อเสียงของประเทศ
1. ผลสารวจของสานักวิจัยเอแบค ระหว่าง 1-4 พฤศจิกายน 2542 พบว่าประชาชนร้อยละ 31.7 เห็น
ว่ายาเสพติดเป็นปัญหาด้านความมั่นคงของประเทศโดยมีความสาคัญเป็นอันดับ2 รองจากปัญหาการลักลอบ
เข้าเมืองของชาวต่างชาติ สาเหตุเนื่องจากปัญหายาเสพติดได้ส่งผลต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและ
การเมือง ทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อบ้าน ซึ่งเป็น
ที่ตั้งของแหล่งผลิตยาเสพติด
2. การแพร่ระบาดของยาเสพติด จะก่อให้เกิดความเสื่อมเสียชื่อเสียงและเกียรติภูมิของประเทศไทย
ไม่เป็นที่ไว้วางใจของนานาชาติในด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ทาให้ไม่กล้าเข้ามาท่องเที่ยว
หรือลงทุนทางการค้า และธุรกิจต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทาให้ประเทศคู่แข่งฉวยโอกาสในการโจมตี
ประเทศไทย
8
3.4 ผลกระทบต่อตัวบุคคล
1. ยาเสพติดทุกชนิด จะมีผลกระทบโดยตรงต่อร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะด้านบุคลิกภาพและ
สุขภาพอนมัย กรณีผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดจะมีโอกาสติดและแพร่เชื้อเอดส์ถึงร้อยละ 50 นอกจากนี้ตัวยาบาง
ตัว เช่น แอมเฟตามีน หากมีการใช้อย่างต่อเนื่องในระยะยาวจะส่งผลกระทบต่อระบบจิตและประสาท
ส่วนกลาง และทาลายสมองโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนทาให้ผู้เสพมีความสับสน กังวลใจและนอน
ไม่หลับ รวมถึงพฤติกรรมความรุ่นแรงต่างๆ
2. ผู้ติดยาจะไม่ได้รับการยอมรับ และถูกจากัดสิทธิทางกฎหมายในการสมัครเป็นผู้แทนหรือสมาชิก
ทางการเมือง รวมทั้งการเข้ารับราชการ
3. ผู้ใช้สารเสพติดที่เป็นผู้ใช้แรงงาน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ขับขี่รถบรรทุกมักปฏิบัติงานด้วยความ
ประมาทก่อให้เกิดอุบัติเหตุ และอุบัติภัยที่นาไปสู่ความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สิน
9
บทที่ 4
บริเวณที่เสี่ยงของการใช้สารเสพติด
4.1 สถานที่ซื้อขายสิ่งเสพติด
รูปภาพที่ 4.1 รูปภาพประกอบบริเวณที่เสี่ยงของการใช้สารเสพติด
4.2 แหล่งชุมชนแออัด
รูปภาพที่4.2 รูปภาพประกอบบริเวณที่เสี่ยงของการใช้สารเสพติด
4.3 สถานที่แหล่งบันเทิง
รูปภาพที่4.3 รูปภาพประกอบบริเวณที่เสี่ยงของการใช้สารเสพติด
10
บทที่ 5
แนวทางการแก้ไขปัญหา
5.1 นโยบายของภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ "5 รั้วป้องกัน"
คือยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหายาเสพติดตามนโยบายรัฐบาลชุดปัจจุบันที่มุ่งสร้างกิจกรรม สร้าง
ภูมิคุ้มกัน สร้างกระบวนการทางานร่วมกันทั้งภาครัฐและประชาชนอย่างครบวงจรเพื่อป้องกันจุดอ่อนและ
สร้างเกราะป้องกันที่สกัดกั้นไม่ให้ยาเสพติดรุกล้าเข้ามา
รั้วชายแดน
ยาเสพติดส่วนใหญ่มีแหล่งผลิตมาจากตามแนวชายแดนประเทศเพื่อนบ้านภารกิจในการป้องกัน
ปัญหายาเสพติดจะมีกองบัญชาการกองทัพไทย กอ.รมน.กระทรวงมหาดไทย และสานักงานตารวจแห่งชาติ
เป็นหน่วยงานหลักในการสกัดกั้นและปลุกพลังชุมชนตามแนวชายแดนมาเป็นแนวร่วมสาคัญเพื่อป้องกันยา
เสพติดไม่ให้แทรกซึมเข้ามา
รูปภาพที่ 5.1 รูปภาพประกอบนโยบายของภาครัฐ
รั้วสังคม
เป้าหมายมุ่งเน้นไปที่เด็กและเยาวชน ภารกิจสาคัญคือ การจัดระเบียบสังคมแบบบูรณาการ ดาเนินการ
ขยายพื้นที่และกิจกรรมเชิงบวกแก่เยาวชนให้มากขึ้น อาทิ ลานกีฬา ลานดนตรี ลานกิจกรรมสร้างสรรค์ฯลฯ
เพื่อดึงเยาวชนออกมาให้ไกลจากยาเสพติด ภารกิจนี้ทุกกระทรวง ทบวง กรม โดยเฉพาะกระทรวงมหาดไทย
11
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานตารวจแห่งชาติ ล้วนมีบทบาทสาคัญในการสร้างรั้วส่วนนี้
รูปภาพที่ 5.2 รูปภาพประกอบนโยบายของภาครัฐ
รั้วโรงเรียน
การมีพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นที่มาของพฤติกรรมเสี่ยงเรื่องอื่นๆตามมาเช่น หนีเรียน
มั่วสุม ก้าวร้าว เสพยาเสพติด ฯลฯ การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชนจึงมุ่งเน้นไปที่สถานศึกษาทุก
ระดับภารกิจนี้มีกระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยหลักในการสารวจและจัดทาข้อมูลและค้นหาผู้เสพ/ผู้ค้า/
เยาวชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีครูเป็นกลไกสาคัญที่จะอบรมและปลูกฝัง รวมทั้งดูแลสอดส่องพฤติกรรมของเด็ก
และเยาวชนด้วยการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ในสถานศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนด้วยการจัดกิจกรรม
สร้างสรรค์ในสถานศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนเหล่านี้
รั้วครอบครัว
ครอบครัวที่เข้มแข็งย่อมส่งผลต่อพื้นฐานความเข้มแข็งของประเทศกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ เป็นหน่วยงานหลักที่จะเข้ามาส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนจัด
อบรมให้ความรู้ในการป้องกันยาเสพติด เพื่อทาให้ความเข้มแข็งของครอบครัวในชุมชน จัดอบรมให้ความรู้
ในการป้องกันยาเสพติดเพื่อทาให้ความเข้มแข็งของครอบครัวกลับคืนมาเป็นหน่วยทางสังคมที่มีความพร้อม
ในการดูแลสมาชิกในครอบครัวอย่างแท้จริง
รั้วชุมชน
หมู่บ้านและชุมชนที่เข้มแข็งย่อมช่วยในการแก้ปัญหายาเสพติดทาได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงมุ่ง
สร้างภูมิคุ้มกันให้ชุมชนด้วยการสนับสนุน การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาสังคมด้านต่างๆ
12
โดยกระทรวงมหาดไทย กอ.รมน. สานักงาน ป.ป.ส. มีบทบาทสาคัญที่จะประสานความร่วมมือกับกานัน
ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาชุมชน และ อสม.ในการสร้างรั้วให้กับชุมชนเพื่อป้องกันภัยยาเสพติด
รูปภาพที่5.3 รูปภาพประกอบนโยบายของภาครัฐ
13
บรรณานุกรม
Eduzones PR News.ยาเสพติด. http://www.chetupon.ac.th/Yasebtid/Pages/WhatisDrug1.html.2554.16
Mwits Oles. http://mwits237narcotic.blogspot.com/2013/06/blog-post_1053.html.2556.10
14
ภาคผนวก
ภาพการประชุมกลุ่ม
ภาพการนาเสนอและอภิปรายในชั้นเรียน
15
งานย่อย 4
งานย่อย 8
16
งานย่อย 8
งานย่อย 8
17
งานย่อย 8
งานย่อย 8
18
ข้อมูลผู้จัดทา
นายก้องภพ สุขแสงเดือนฉาย ม.5/2 เลขที่ 11
Facebook : Kongphop Suksaengdueanchai
นางสาวจรรยพร งามพริ้ง ม.5/2 เลขที่ 12
Facebook : จัส จัส.
19
นางสาวพรสิตา อินทรักษ์ ม.5/2 เลขที่ 18
Facebook : Pornsita Intharak
นางสาวอรปภา เกสรกาญจน์ ม.5/2 เลขที่ 22
Facebook : Praew'Aonpapar Kesonkan
นางสาวจิรัฐิกาล ศรีทันดร ม.5/2 เลขที่ 24
Facebook : ซีเปีย 'ยยยย

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
teerachon
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
supap6259
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
พัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่อง
Wann Rattiya
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
Krupol Phato
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่อง
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 

Viewers also liked

ใบงานเรื่องราคา
ใบงานเรื่องราคาใบงานเรื่องราคา
ใบงานเรื่องราคา
พัน พัน
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
ใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหิน
Orawan Sripho
 

Viewers also liked (10)

ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานเรื่องราคา
ใบงานเรื่องราคาใบงานเรื่องราคา
ใบงานเรื่องราคา
 
จังหวัดในประเทศไทย
จังหวัดในประเทศไทยจังหวัดในประเทศไทย
จังหวัดในประเทศไทย
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
คำซ้อน
คำซ้อนคำซ้อน
คำซ้อน
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหิน
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 

Similar to ยาเสพติด

ความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติดความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติด
จ๊ะจ๋า ขอทาน
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4
linnoi
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
chueng
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
ร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
Tuk Diving
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
Tuk Diving
 
ป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทย
ป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทยป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทย
ป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทย
iviza
 
สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติด
Aobinta In
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
Nooa Love
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
Nooa Love
 

Similar to ยาเสพติด (20)

ความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติดความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติด
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติด
 
ความรู้เกี่ยวยาเสพติด
ความรู้เกี่ยวยาเสพติดความรู้เกี่ยวยาเสพติด
ความรู้เกี่ยวยาเสพติด
 
ความรู้เกี่ยวยาเสพติด
ความรู้เกี่ยวยาเสพติดความรู้เกี่ยวยาเสพติด
ความรู้เกี่ยวยาเสพติด
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติดงดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
 
ป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทย
ป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทยป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทย
ป ญหายาเสพต ดในส_งคมไทย
 
สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติด
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 

ยาเสพติด

  • 1. 1 บทที่ 1 ความหมาย 1.1 ความหมายของยาเสพติด ยาเสพติด หมายถึง สารหรือยาที่อาจเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติหรือจากการสังเคราะห์ซึ่งเมื่อบุคคลใดเสพ หรือได้รับเข้าไปในร่างกายซ้าๆกันแล้วไม่ว่าจะโดยวิธีรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใดๆเกิดผลเป็นช่วง ระยะๆหรือนานติดต่อกันก็ตามจะทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ - เกิดอาการดื้อยาหรือต้านยาและเมื่อติดแล้วต้องการใช้สารนั้นในประมาณมากขึ้น - เกิดอาการขาดยาถอนยาหรืออยากยาเมื่อใช้สารนั้นเท่าเดิมลดลงหรือหยุดใช้ - มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา -สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลงเกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อื่น ตลอดจนสังคม และประเทศชาติ รูปภาพที่ 1.1 รูปยาเสพติด 1.2สถิติผู้ติดสารเสพติด ผู้ติดสารเสพติดที่มารับบริการในสถานบริการสาธารณสุข ในปี พ.ศ2540-2544 มีจานวนอัตราต่อแสน ประชากรคือ 114.42, 99.72, 109.52, 127.67 และ 185.92 เฉลี่ยแล้วเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.79 โดย ในปี พ.ศ2541 มี อัตราลดลงร้อยละ 12.85 แต่ในปี พ.ศ 2542-2544 มีอัตราเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 9.83, 16.57 และ 45.63 ผู้ติดสารเสพ ติดใช้บริการเฉพาะทางด้านสุขภาพจิตและจิตเวชมีจานวนอัตราต่อแสนประชากร คือ 34.06, 36.22, 31.22, 37.26 และ 43.92 เฉลี่ยแล้วเพิ่มขึ้นร้อยละ7.44 ส่วนผู้ติดสารเสพติดใช้บริการในสถานบริการสาธารณสุขทั่วไป มี จานวนอัตราต่อแสนประชากรคือ 80.36, 63.50, 78.70, 90.41 และ 142.00 เฉลี่ยแล้วเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.72 ซึ่งมี
  • 2. 2 อัตราการเพิ่มขึ้นมากกว่าหน่วยงานที่ให้บริการเฉพาะทางด้านสุขภาพจิตและจิตเวชซึ่งสาเหตุของการมารับบริการ เพิ่มขึ้นอาจเนื่องมาจากช่วงระยะเวลาดังกล่าวมีปัญหา การระบาดของยาเสพติดในประเทศไทยเป็นจานวนมาก รูปภาพที่ 1.2 รูปสถิติผู้ติดสารเสพติดในปีพ.ศ.2540-2544 1.3 ประเภทของสารเสพติด จาแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทแบ่งเป็น ๔ ประเภท 1.ประเภทกดประสาทได้แก่ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับยาระงับประสาท ยากล่อมประสาท เครื่องดื่มมึนเมาทุกชนิด รวมทั้งสารระเหยเช่น ทินเนอร์แล็กเกอร์ น้ามันเบนซิน กาว เป็นต้น มักพบว่าผู้เสพ ติดมีร่างกายซูบซีด ผอมเหลืองอ่อนเพลีย ฟุ้งซ่าน อารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย 2.ประเภทกระตุ้นประสาทได้แก่ ยาบ้า ยาอี กระท่อม โคเคนมักพบว่าผู้เสพติดจะมีอาการ หงุดหงิด กระวนกระวาย จิตสับสนหวาดระแวงบางครั้งมีอาการคลุ้มคลั่ง หรือทาในสิ่งที่คนปกติ ไม่กล้าทา เช่น ทา ร้ายตนเองหรือฆ่าผู้อื่น เป็นต้น 3.ประเภทหลอนประสาทได้แก่แอลเอสดีและ เห็ดขี้ควายเป็นต้น ผู้เสพติดจะมีอาการประสาทหลอน ฝันเฟื่องเห็นแสงสีวิจิตรพิสดาร หูแว่ว ได้ยินเสียงประหลาดหรือเห็นภาพหลอนที่น่าเกลียดน่ากลัว ควบคุม ตนเองไม่ได้ในที่สุดมักป่วยเป็นโรคจิต 4.ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสานคือทั้งกระตุ้นกดและหลอนประสาทร่วมกันได้แก่ผู้เสพติดมักมี อาการหวาดระแวง ความคิดสับสนเห็นภาพลวงตา หูแว่วควบคุมตนเองไม่ได้และป่วยเป็นโรคจิตได้
  • 3. 3 บทที่ 2 สาเหตุ 2.1 สาเหตุการติดยาเสพติด 1. จากการถูกชักชวน การถูกชักชวนนี้อาจจะเกิดจากเพื่อนสนิทที่กาลังติดยาอยู่และอยากจะให้ เพื่อนลองบ้าง ปัญหานี้มักจะเกิดกับเด็กที่มีปัญหาทางครอบครัวขาดความอบอุ่น ใจแตก เอาเพื่อนเป็นที่พึ่ง นอกจากนี้ผู้ที่อยู่ในแหล่งที่มีการซื้อขายยาเสพติด ก็อาจจะได้รับการ ชักจูง คุณภาพของยาเสพติดว่าดีต่าง ๆ นานา เช่น อาจจะบอกว่า เมื่อเสพแล้วจะทาให้ปลอด โปร่ง เหมาะแก่การเรียนการทางาน การชักจูงดังกล่าว อาจจะเกิดขึ้นในขณะที่ผู้ถูกชักจูง กาลังมึนเมา สุราเที่ยวเตร่กัน จึงทาให้เกิดการติดยาได้ 2. จากการอยากทดลอง อยากรู้อยากเห็น อยากจะรู้รสชาติ อยากสัมผัส โดยคิดว่าคงจะไม่ติดง่าย ๆ แต่เมื่อ ทดลอง เสพเข้าไปแล้วมักจะติด เพราะยาเสพติดในปัจจุบัน เช่น เฮโรอีน จะติดง่ายมาก แม้เสพเพียง ครั้งหรือสอง ครั้ง ก็จะติดแล้ว 3.จากการถูกหลอกลวง ยาเสพติดมีรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ผู้ถูกหลอกลวงไม่ทราบว่าสิ่งที่ ตนได้ กินเข้าไปนั้น เป็นยาเสพติดให้โทษร้ายแรง คิดว่าเป็นยาธรรมดาไม่มีพิษร้ายแรง อะไรตามที่ผู้หลอกลวง แนะนาผลสุดท้าย กลายเป็นผู้ติดยาเสพติดไป 4. เหตุทางกาย ความเจ็บป่วยทางกาย เช่น ต้องถูกผ่าตัดหรือเป็นโรคปวดศีรษะ เป็นหืด เป็นโรค ประสาทได้รับ ความทรมานทางกายมากผู้ป่วยต้องการบรรเทา พยายามช่วยตัวเองมานานแต่ก็ไม่หาย จึงหัน เข้าหายาเสพติด จนติดยาในที่สุด 5. จากความคึกคะนอง บุคคลประเภทนี้คิดว่าตัวเองเป็นคนเก่งอยากลองซึ่งรู้แก่ใจว่ายาเสพติดให้ โทษเป็นสิ่งไม่ดีแต่ด้วยความที่คึกคะนองเป็นวัยรุ่นไม่เกรงกลัวอะไร ต้องการแสดง ความเด่นดังอวดเพื่อน ว่าข้านี้คือพระเอก ขาดความยั้งคิดจึงเสพยา เสพติดและติดยาในที่สุด 6. จากสิ่งแวดล้อม เช่น สถานที่อยู่อาศัยแออัด เป็นแหล่งสลัม หรือเป็นแหล่งที่มีการเสพและค้ายา เสพติด ภาวะทางเศรษฐกิจบีบคั้นจิตใจ เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลเหนือจิตใจผลักดันให้ผู้ที่อยู่ใน สภาพแวดล้อมดังกล่าว บางคนหันมาพึ่งยาเสพติดโดยคิดว่าจะช่วยให้ตนเองหลุดพ้นจากสภาพต่างๆที่คับ ข้องใจเหล่านั้น
  • 4. 4 รูปภาพที่ 2.1 รูปประกอบสาเหตุการติดยาเสพติด 2.2 การป้องกันยาเสพติด 2.2.1 การป้องกันในครอบครัว ผู้ที่ติดสิ่งเสพติดส่วนใหญ่จะเกิดจากครอบครัวที่แตกแยกมีปัญหา ขาดความรักความอบอุ่น เกิด ความว้าเหว่ ขาดที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ซึ่งเป็นเหตุให้เด็กๆหันไปพึ่งยาเสพติดแทน ดังนั้นพ่อแม่จึงควรให้ ความรักความอบอุ่น และพ่อแม่ก็ควรจะประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นที่ปรึกษาให้แก่ลูกๆได้ทาให้ ลูกไม่หันไปพึ่งพายาเสพติด ป้องกันครอบครัวทาได้โดย •สร้างความรักความอบอุ่นและความสัมพันธ์อันดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว • รู้และปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง •ดูแลสมาชิกในครอบครัวไม่ให้ข้องเกี่ยวกับยาเสพติด • ให้กาลังใจและหาทางแก้ไข หากพบว่าสมาชิกในครอบครัวติดยาเสพติด รูปภาพที่ 2.2 รูปประกอบการป้องกันครอบครัว
  • 5. 5 2.2.2การป้องกันชุมชน การป้องกันชุมชนจากปัญหาสิ่งเสพติดทาได้หลายวิธีเช่น 1.การให้ความรู้โดยการอบรมแก่ทุกคนในชุมชนให้เห็นโทษหรืออันตรายจากสิ่งเสพติด 2. เสริมกิจกรรมยามว่างโดยการส่งเสริมอาชีพแก่ชุมชนยามว่าง เช่น การเย็บเสื้อผ้า การทารองเท้า เป็นต้น 3.ตั้งศูนย์รับแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับสิ่งเสพติดเมื่อพบว่ามีการซื้อขายหรือเสพสิ่งเสพติดภายในชุมชน 4. เข้าร่วมโครงการชุมชนปลอดสิ่งเสพติดต่างๆ ทั้งที่ทางราชการจัดขึ้น และชุมชนคิดริเริ่มขึ้นมาเอง 2.2.3 การป้องกันตนเอง 1.ไม่ทดลองเสพสิ่งที่รู้ว่ามีภัยเพราะอาจจะทาให้ติดได้ง่าย 2.เลือกคบเพื่อนที่ดีพยายามหลีกเลี่ยงเพื่อนที่ชอบชักจูงไปในทางเสื่อมเสีย 3. รู้จักใช้วิจารณญาณในการแก้ปัญหา แต่หากว่าไม่สามารถแก้ไขเองได้ ก็ควรจะปรึกษากับพ่อแม่หรือ ญาติผู้ใหญ่ที่ไว้ใจได้ 4.การสร้างทักษะชีวิตโดยเฉพาะทักษะการปฏิเสธเมื่อถูกเพื่อนชักชวนให้เสพสิ่งเสพติดต้องรู้จักปฏิเสธ อย่างนุ่มนวล โดยการชี้แจงผลเสียของสิ่งเสพติดต่อการเรียนและอนาคต การรู้จักปฏิเสธอย่างจริงจังและ จิตใจแน่วแน่จะทาให้เพื่อนเกรงใจไม่กล้าชวนอีก ป้องกันตนเอง ทาได้โดย.. • ศึกษาหาความรู้ เพื่อให้รู้เท่าทันโทษพิษภัยของยาเสพติด • ไม่ทดลองใช้ยาเสพติดทุกชนิดและปฏิเสธเมื่อถูกชักชวน รูปภาพที่ 2.3 รูปประกอบการป้องกันตนเอง
  • 6. 6 บทที่ 3 ผลกระทบ 3.1 ผลกระทบต่อการบริหารจัดการภาครัฐ 1. คดียาเสพติดที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นภาระต่องานด้านกระบวนการยุติธรรมทั้งระบบตั้งแต่ ในระดับตารวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ และการคุมประพฤติ นาไปสู่การปรับปรุงกฎหมาย การขยายงาน ขยายอัตรากาลังการขอผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น และการก่อสร้างสถานที่รองรับผู้ติดยาเสพติด ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อภาระค่าใช้จ่ายของรัฐที่เพิ่มสูง และทาให้การดาเนินคดีด้านอื่นๆ เกิดความล่าช้า 2. นอกจากนี้ ปัญหายาเสพติดได้ก่อให้เกิดการทุจริต คอรัปชั่น โดยเฉพาะการทุจริตต่อหน้าที่ การ รับสินบน การกลั่นแกล้งรีดไถ แสวงหาผลประโยชน์จากผู้กระทาความผิดซึ่งทาให้ประชาชนและสังคมเกิด ความไม่ศรัทธาและเชื่อมั่นในการทางานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ รูปภาพที่ 3.1 รูปภาพประกอบผลกระทบต่อการบริหารจัดการภาครัฐ 3.2 ผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชนและสังคม 1. ครอบครัวที่มีผู้ติดยา มักได้รับความเดือดร้อนจากผู้ติดยาในทุกด้าน นาไปสู่ความยุ่งยาก ขัดแย้ง แตกแยก และสิ้นเปลืองในการแก้ปัญหา 2. ปัญหายาเสพติด ได้ก่อให้เกิดความหวาดระแวงจากประชาชน และสังคมในวงกว้างเนื่องจากเกรง ว่าบุตรหลานจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดหรือถูกประทุษร้ายจากผู้เสพยาที่มีอาการผิดปกติทางจิต
  • 7. 7 3. ผู้ติดยามักก่อให้เกิดอาชญากรรมต่อเนื่อง ตั้งแต่การเข้าไปเกี่ยวข้องกับแหล่งอบายมุข การลักเล็ก ขโมยน้อย การประทุษร้ายต่อชีวิตและทรัพย์สิน การพนันและอาชญากรรมต่างๆ 4. สาหรับผู้ค้าและหรือผู้เสพซึ่งเป็นหัวหน้าครอบครัว เมื่อถูกจับกุมและดาเนินการทางกฎหมาย จะ ส่งผลกระทบให้สมาชิกภายในครอบครัวได้รับความเดือดร้อนในการดารงชีวิตทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนที่อยู่ภายใต้การปกครองจะต้องออกจากโรงเรียน ซึ่งเป็นการทาลายอนาคต ของประเทศชาติ รูปภาพที่3.2 รูปภาพประกอบผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชนและสังคม 3.3 ผลกระทบต่อความมั่นคงและชื่อเสียงของประเทศ 1. ผลสารวจของสานักวิจัยเอแบค ระหว่าง 1-4 พฤศจิกายน 2542 พบว่าประชาชนร้อยละ 31.7 เห็น ว่ายาเสพติดเป็นปัญหาด้านความมั่นคงของประเทศโดยมีความสาคัญเป็นอันดับ2 รองจากปัญหาการลักลอบ เข้าเมืองของชาวต่างชาติ สาเหตุเนื่องจากปัญหายาเสพติดได้ส่งผลต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและ การเมือง ทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อบ้าน ซึ่งเป็น ที่ตั้งของแหล่งผลิตยาเสพติด 2. การแพร่ระบาดของยาเสพติด จะก่อให้เกิดความเสื่อมเสียชื่อเสียงและเกียรติภูมิของประเทศไทย ไม่เป็นที่ไว้วางใจของนานาชาติในด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ทาให้ไม่กล้าเข้ามาท่องเที่ยว หรือลงทุนทางการค้า และธุรกิจต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทาให้ประเทศคู่แข่งฉวยโอกาสในการโจมตี ประเทศไทย
  • 8. 8 3.4 ผลกระทบต่อตัวบุคคล 1. ยาเสพติดทุกชนิด จะมีผลกระทบโดยตรงต่อร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะด้านบุคลิกภาพและ สุขภาพอนมัย กรณีผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดจะมีโอกาสติดและแพร่เชื้อเอดส์ถึงร้อยละ 50 นอกจากนี้ตัวยาบาง ตัว เช่น แอมเฟตามีน หากมีการใช้อย่างต่อเนื่องในระยะยาวจะส่งผลกระทบต่อระบบจิตและประสาท ส่วนกลาง และทาลายสมองโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนทาให้ผู้เสพมีความสับสน กังวลใจและนอน ไม่หลับ รวมถึงพฤติกรรมความรุ่นแรงต่างๆ 2. ผู้ติดยาจะไม่ได้รับการยอมรับ และถูกจากัดสิทธิทางกฎหมายในการสมัครเป็นผู้แทนหรือสมาชิก ทางการเมือง รวมทั้งการเข้ารับราชการ 3. ผู้ใช้สารเสพติดที่เป็นผู้ใช้แรงงาน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ขับขี่รถบรรทุกมักปฏิบัติงานด้วยความ ประมาทก่อให้เกิดอุบัติเหตุ และอุบัติภัยที่นาไปสู่ความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สิน
  • 9. 9 บทที่ 4 บริเวณที่เสี่ยงของการใช้สารเสพติด 4.1 สถานที่ซื้อขายสิ่งเสพติด รูปภาพที่ 4.1 รูปภาพประกอบบริเวณที่เสี่ยงของการใช้สารเสพติด 4.2 แหล่งชุมชนแออัด รูปภาพที่4.2 รูปภาพประกอบบริเวณที่เสี่ยงของการใช้สารเสพติด 4.3 สถานที่แหล่งบันเทิง รูปภาพที่4.3 รูปภาพประกอบบริเวณที่เสี่ยงของการใช้สารเสพติด
  • 10. 10 บทที่ 5 แนวทางการแก้ไขปัญหา 5.1 นโยบายของภาครัฐ ยุทธศาสตร์ "5 รั้วป้องกัน" คือยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหายาเสพติดตามนโยบายรัฐบาลชุดปัจจุบันที่มุ่งสร้างกิจกรรม สร้าง ภูมิคุ้มกัน สร้างกระบวนการทางานร่วมกันทั้งภาครัฐและประชาชนอย่างครบวงจรเพื่อป้องกันจุดอ่อนและ สร้างเกราะป้องกันที่สกัดกั้นไม่ให้ยาเสพติดรุกล้าเข้ามา รั้วชายแดน ยาเสพติดส่วนใหญ่มีแหล่งผลิตมาจากตามแนวชายแดนประเทศเพื่อนบ้านภารกิจในการป้องกัน ปัญหายาเสพติดจะมีกองบัญชาการกองทัพไทย กอ.รมน.กระทรวงมหาดไทย และสานักงานตารวจแห่งชาติ เป็นหน่วยงานหลักในการสกัดกั้นและปลุกพลังชุมชนตามแนวชายแดนมาเป็นแนวร่วมสาคัญเพื่อป้องกันยา เสพติดไม่ให้แทรกซึมเข้ามา รูปภาพที่ 5.1 รูปภาพประกอบนโยบายของภาครัฐ รั้วสังคม เป้าหมายมุ่งเน้นไปที่เด็กและเยาวชน ภารกิจสาคัญคือ การจัดระเบียบสังคมแบบบูรณาการ ดาเนินการ ขยายพื้นที่และกิจกรรมเชิงบวกแก่เยาวชนให้มากขึ้น อาทิ ลานกีฬา ลานดนตรี ลานกิจกรรมสร้างสรรค์ฯลฯ เพื่อดึงเยาวชนออกมาให้ไกลจากยาเสพติด ภารกิจนี้ทุกกระทรวง ทบวง กรม โดยเฉพาะกระทรวงมหาดไทย
  • 11. 11 กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานตารวจแห่งชาติ ล้วนมีบทบาทสาคัญในการสร้างรั้วส่วนนี้ รูปภาพที่ 5.2 รูปภาพประกอบนโยบายของภาครัฐ รั้วโรงเรียน การมีพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นที่มาของพฤติกรรมเสี่ยงเรื่องอื่นๆตามมาเช่น หนีเรียน มั่วสุม ก้าวร้าว เสพยาเสพติด ฯลฯ การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชนจึงมุ่งเน้นไปที่สถานศึกษาทุก ระดับภารกิจนี้มีกระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยหลักในการสารวจและจัดทาข้อมูลและค้นหาผู้เสพ/ผู้ค้า/ เยาวชนกลุ่มเสี่ยง โดยมีครูเป็นกลไกสาคัญที่จะอบรมและปลูกฝัง รวมทั้งดูแลสอดส่องพฤติกรรมของเด็ก และเยาวชนด้วยการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ในสถานศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนด้วยการจัดกิจกรรม สร้างสรรค์ในสถานศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนเหล่านี้ รั้วครอบครัว ครอบครัวที่เข้มแข็งย่อมส่งผลต่อพื้นฐานความเข้มแข็งของประเทศกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ เป็นหน่วยงานหลักที่จะเข้ามาส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนจัด อบรมให้ความรู้ในการป้องกันยาเสพติด เพื่อทาให้ความเข้มแข็งของครอบครัวในชุมชน จัดอบรมให้ความรู้ ในการป้องกันยาเสพติดเพื่อทาให้ความเข้มแข็งของครอบครัวกลับคืนมาเป็นหน่วยทางสังคมที่มีความพร้อม ในการดูแลสมาชิกในครอบครัวอย่างแท้จริง รั้วชุมชน หมู่บ้านและชุมชนที่เข้มแข็งย่อมช่วยในการแก้ปัญหายาเสพติดทาได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงมุ่ง สร้างภูมิคุ้มกันให้ชุมชนด้วยการสนับสนุน การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาสังคมด้านต่างๆ
  • 12. 12 โดยกระทรวงมหาดไทย กอ.รมน. สานักงาน ป.ป.ส. มีบทบาทสาคัญที่จะประสานความร่วมมือกับกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาชุมชน และ อสม.ในการสร้างรั้วให้กับชุมชนเพื่อป้องกันภัยยาเสพติด รูปภาพที่5.3 รูปภาพประกอบนโยบายของภาครัฐ
  • 13. 13 บรรณานุกรม Eduzones PR News.ยาเสพติด. http://www.chetupon.ac.th/Yasebtid/Pages/WhatisDrug1.html.2554.16 Mwits Oles. http://mwits237narcotic.blogspot.com/2013/06/blog-post_1053.html.2556.10
  • 18. 18 ข้อมูลผู้จัดทา นายก้องภพ สุขแสงเดือนฉาย ม.5/2 เลขที่ 11 Facebook : Kongphop Suksaengdueanchai นางสาวจรรยพร งามพริ้ง ม.5/2 เลขที่ 12 Facebook : จัส จัส.
  • 19. 19 นางสาวพรสิตา อินทรักษ์ ม.5/2 เลขที่ 18 Facebook : Pornsita Intharak นางสาวอรปภา เกสรกาญจน์ ม.5/2 เลขที่ 22 Facebook : Praew'Aonpapar Kesonkan นางสาวจิรัฐิกาล ศรีทันดร ม.5/2 เลขที่ 24 Facebook : ซีเปีย 'ยยยย