Diese Präsentation wurde erfolgreich gemeldet.
Die SlideShare-Präsentation wird heruntergeladen. ×

การบริหารจิตและเจริญปัญญา

Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Wird geladen in …3
×

Hier ansehen

1 von 21 Anzeige

Weitere Verwandte Inhalte

Diashows für Sie (20)

Andere mochten auch (20)

Anzeige

Ähnlich wie การบริหารจิตและเจริญปัญญา (20)

Weitere von พัน พัน (20)

Anzeige

การบริหารจิตและเจริญปัญญา

  1. 1. 1. ความหมายของการบริหารจิต 2. วิธีการบริหารจิตตามหลักสติปัฏฐาน 4 3. วิธีการบริหารจิตแบบอานาปานสติ 4. การเจริญปัญญา 5. การพัฒนาปัญญาด้ วยวิธีคดแบบโยนิโสมนสิ การ ิ 6. ประโยชน์ ของการบริหารจิตและเจริญปัญญา 7. เว็บไซต์ เกียวกับการบริหารจิตและเจริญปัญญา ่
  2. 2. การบริหารจิต คือ การฝึ กฝนอบรมจิตใจให้ดี งาม นุ่มนวล อ่อนโยน มีความหนักแน่นมันคง ่ แข็งแกร่ งและมีความผ่อนคลายสงบสุ ข การ บริ หารจิตในทางพุทธศาสนามี 2 อย่าง 1.สมถกรรมฐานหรือสมาธิภาวนา คือการฝึ ก จิตให้เกิดความสงบ เรี ยกว่า สมาธิ 2.วิปัสสนากรรมฐาน คือการฝึ กอบรมจิตให้เกิด ปัญญา เป็ นความรู ้แจ้งเห็นจริ งตามสภาพที่เป็ นจริ ง
  3. 3. การบริ ห ารจิ ต ตามหลัก พระพุ ท ธศาสนามี วิ ธี ปฏิบติมากถึง 40 วิธี แต่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ั ให้ฝึกปฏิบติการบริ หารจิตตามหลักสติปัฏฐาน 4 ั สติปัฏฐาน แปลว่า ที่ต้ งของสติ หมายถึง การตั้ง ั สติกาหนดพิจารณาสิ่ งทั้งหลายให้รู้เห็นตามความเป็ น จริ ง มี 4 อย่าง คือ
  4. 4. 1.กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน หมายถึง การตั้งสติกาหนดรู ้อย่างเท่าทันใน เรื่ องของกายและอิริยาบถของร่ างกาย ได้แก่ ยืน เดิน นัง นอน และอื่น ๆ ่ 2.เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน หมายถึง กาหนดพิจารณาเวทนาให้รู้เห็น จริ งว่า เป็ นแต่เพียงเวทนา คือ ทุกข์ หรื อเฉย ๆ ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ๆ การตั้งสติ
  5. 5. 3.จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน หมายถึง การตั้งสติ กาหนดพิจารณาจิต ว่าจิตในขณะนั้น ๆ เป็ นอย่างไร ่ ก็รู้ตามที่มนเป็ นอยูในขณะนั้น ๆ ั 4.ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน หมายถึง การตั้งสติ กาหนดรู ้ทนสิ่ ง ปรากฏการณ์ หรื ออารมณ์ ที่เกิดกับ ั จิ ตว่าเป็ นกุศล อกุศล หรื อที่ เป็ นกลาง ๆ ว่าอาศัย เหตุปัจจัยเกิ ดขึ้น เมื่อเหตุปัจจัยดับไป สิ่ งต่าง ๆ ก็ ดับไปด้วย ไม่มีสิ่งใดมีตวตนที่แท้จริ ง ั
  6. 6. กล่าวเฉพาะการตั้งสติกาหนดพิจารณากายในอิริยาบถนัง โดยการ ่ กาหนดลมหายใจเข้า-ออก ที่เรี ยกว่า อานาปานสติ มีข้นตอนการปฏิบติดงนี้ ั ั ั ขั้นเตรียมการ 1.เลือกสถานที่ที่เหมาะสม เช่น สถานที่ปลอดโปร่ งไม่มีเสี ยงรบกวน 2.เลือกเวลาที่เหมาะสม เช่น ตอนเช้า ก่อนนอน เวลาที่ใช้ไม่ควรนานเกินไป 3.สมาทานศีล เป็ นการแสดงเจตนาเพื่อทาใจให้บริ สุทธิ์ 4.นมัสการและสวดมนต์สรรเสริ ญคุณพระรัตนตรัย 5.ตัดความกังวลต่างๆ ออกไป
  7. 7. ขั้นตอนปฏิบัติ 1.นังท่าสมาธิ คือ เท้าขวาทับเท้าซ้าย มือขวา ่ วางทับมือซ้าย ตั้งตัวตรง ดารงสติมน ั่ 2.หลับตาหรื อลืมตาก็ได้ อย่างไหนได้ผลดี ก็ปฏิบติอย่างนั้น ั 3.กาหนดรู ้ลมหายใจเข้า-ออก ลมหายใจ กระทบตรงไหนก็รู้ชดเจนให้กาหนดตรงจุดนั้น ั
  8. 8. ขั้นตอนปฏิบัติ (ต่ อ) 4. เมื่อหายใจเข้า ก็ให้จิตกาหนดว่า เข้า เมื่อหายใจออก ก็กาหนดว่า ออก การกาหนดลมหายใจ อาจภาวนาในใจว่า พุท (เวลาหายใจเข้า) และ โธ (เวลาหายใจออก) หรื อใช้วิธีนบเลข โดยหายใจเข้าและออกแล้วนับ หนึ่ง นับ ั ไปเรื่ อย ๆ จนถึง สิบ แล้วเริ่ มนับหนึ่งใหม่ หรื ออาจจะกาหนดลมหายใจจาก อาการยุบ – พองของหน้าท้อง โดยเมื่อหายใจเข้า ก็กาหนดว่า พองหนอ เมื่อ หายใจออกก็กาหนดว่า ยบหนอ ุ
  9. 9. ขั้นตอนปฏิบัติ (ต่ อ) 5.ปฏิบติไปเรื่ อยๆ จนได้เวลาพอควรแก่ ั ร่ างกาย จึงออกจากการปฏิบติ ั 6.แผ่เมตตาให้ตนเองและสรรพสัตว์ท้ งหลาย ั นักเรี ยนควรเลือกวิธีปฏิบติการบริ หารจิตให้ ั เหมาะสมกับตน ในระยะแรก ๆ จิตอาจจะฟุ้ งซ่าน ต้องใช้ความเพียรพยายาม หมันฝึ ก ปฏิบติบ่อย ๆ ั ่ จิตจึงจะค่อยสงบตามลาดับ
  10. 10. ความหมายของปัญญา ปัญญา แปลว่า ความรอบรู ้ในสิ่ งที่ควรรู ้ โดยในทางพระพุทธศาสนาจะเน้นไปที่การ รอบรู ้ถึงอุบายวิธีที่จะละเว้นความชัวหันมา ่ ประพฤติความดี จนมีความบริ สุทธิ์ท้ งกาย ั วาจา ใจ
  11. 11. เหตุเกิดปัญญา ปัญญาจะเกิดขึ้นได้ตองมีการกระทาให้ ้ เกิดขึ้น ซึ่งเหตุที่จะให้เกิดปัญญานั้นมี 3 ประการ ด้วยกันคือ 1. สุ ตมยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการฟัง 2. จินตามยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการ คิดค้น 3. ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดจากการ ฝึ กฝน และลงมือปฏิบติดวยตนเอง ั ้
  12. 12. โยนิโสมนสิ การ คือ การกระทาไว้ในใจโดย อุบายอันแยบคาย ได้แก่ การใช้ความคิดอย่างถูก วิ ธี การมองเห็ น สิ่ งต่ า ง ๆ แล้ ว น ามาพิ นิ จ พิจารณาค้นคว้าสื บหาเหตุผลในสิ่ งนั้นให้ตลอด สาย หรื อบางทีก็นาไปแยกแยะทาการวิเคราะห์ ด้วยความคิดย่างมีระเบียบ จนสามารถเข้าใจและ เห็นแจ้งประจักษ์ในสิ่ งนั้น ๆ ตามความเป็ นจริ ง ซึ่ งโยนิ โสมนสิ ก ารนั้น มี 10 วิธี ดัง นี้
  13. 13. 1.คิดแบบแยกแยะส่ วนประกอบ หรื อการ กระจายเนื้อหา เป็ นการคิดที่มุ่งให้มองและให้รู้จก ั สิ่ งทั้งหลายตามสภาวะของมันเอง ในทางธรรม ใช้ พิจารณาเพื่อให้เห็นความไม่มีแก่นสารหรื อความ ไม่เป็ นตัวเป็ นตนที่แท้จริ งของสิ่ งหลาย
  14. 14. 2.คิดแบบคุณโทษและทางออก เป็ นการมอง สิ่ งทั้งหลายตามความเป็ นจริ งอีกแบบหนึ่ ง ซึ่ ง ่ เน้นการยอมรับความจริ งตามที่สิ่งนั้นเป็ นอยูทุก แง่ทุกด้าน ทั้งด้านดีและด้านเสี ย 3.คิดแบบสื บสาวเหตุปัจจัย คือ การพิจารณา ปั ญหา หาหนทางแก้ไ ข ด้ว ยการค้น หาสาเหตุ และปัจจัยต่างๆ ที่สมพันธ์ส่งผลสื บทอดกันมา ั
  15. 15. 4.คิดแบบอรรถสั มพันธ์ (คิดหลักการกับความ มุ่ ง หมาย) คื อ พิ จ ารณาให้เ ข้า ใจความสั ม พัน ธ์ ระหว่างหลักการกับความมุ่งหมาย ก่ อนที่จะทา การตามหลักการอย่างใดอย่างหนึ่ ง เพื่อให้ได้ผล ตรงตามความมุ่งหมาย 5.คิดแบบแก้ปัญหา(วิธีคิดแบบอริ ยสัจ) เรี ยก ่ ตามโวหารทางธรรมได้วา วิธีคิดแห่งความดับ ทุกข์
  16. 16. 6. คิดแบบรู้เท่ าทันธรรมดา (คิดแบบสามัญ ลักษณ์) คือมองอย่างรู ้เท่าทันความเป็ นไปของ สิ่ งทั้งหลายว่า ย่อมเกิดขึ้นและดับไปตามเหตุ และปัจจัย ไม่มีสิ่งใดจีรังยังยืน ่ 7. คิดแบบคุณค่ าแท้ -คุณค่าเทียม การคิด พิจารณาเกี่ยวกับการใช้สอยบริ โภค ว่าสิ่ งใด จาเป็ นหรื อไม่จาเป็ นในการดาเนินชีวิต
  17. 17. 8. คิดแบบปลุกเร้ าคุณธรรม หรื อ คิดแบบ สร้างสรรค์ มีความสาคัญที่ทาให้เกิดความคิดและ การกระทาที่ดีงามเป็ นประโยชน์ในขณะนั้นๆ 9. คิดแบบเป็ นอยู่ในขณะปั จจุบัน หรื อคิด แบบมีปัจจุบนธรรมเป็ นอารมณ์ คือ การคิ ดที่สติ ั ่ ั ระลึกรู ้อยูกบสิ่ งที่กาลังเกิดขึ้น กาลังเป็ นไปอยู่
  18. 18. 10. วิธีคิดแบบวิภัชชวาท เป็ นการมองสิ่ ง ต่าง ๆ โดยเเยกเเยะออกให้เห็ นเเต่ละเเง่เเต่ละ ด้านให้ครบทุกด้าน ไม่ใช่ จบเอาบางเเง่ ข้ ึนมา ั วินิจฉัยตีคลุมลงไปอย่างนั้นทั้งหมด
  19. 19. 1. ประโยชน์ ที่เป็ นจุดหมายหรืออุดมคติทางศาสนา ประโยชน์ที่เป็ นความมุ่งหมาย แท้จริ งของสมาธิ ตามหลักพระพุทธศาสนา คือเป็ นส่ วนสาคัญอย่างหนึ่ งแห่ งการปฏิบติ ั เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายสู งสุ ด อันได้แก่ ความหลุดพ้นจากกิเลสและทุกข์ท้ งปวง ั 2. ประโยชน์ ในด้ านการสร้ างความสามารถพิเศษเหนือสามัญวิสัย ที่เป็ นผลสาเร็ จ อย่างสู งในทางจิ ตหรื อ เรี ยกสั้น ๆ ว่า ประโยชน์ในด้านอภิ ญญา ได้แ ก่ การใช้ส มาธิ ระดับฌานสมาบัติเป็ นฐาน ทาให้เกิดฤทธิ์ และอภิญญาขั้นโลกียอย่างอื่น คือ หูทิพย์ ตา ์ ทิพย์ ทายใจคนอื่นได้ ระลึกชาติได้
  20. 20. 3. ประโยชน์ ในด้ านสุ ขภาพจิตและการพัฒนาบุคลิกภาพ เช่น ทาให้เป็ นผูมีจิตใจ ้ และมีบุคลิกลักษณะที่เข้มแข็ง หนักแน่น มันคง สงบ เยือกเย็น สุ ภาพนุ่มนวล สดชื่น ่ ผ่องใส กระฉับกระเฉง กระปรี้ กระเปร่ า เบิกบาน งามสง่า มีเมตตากรุ ณา มองดูรู้จก ั ตนเองและผูอื่นตามความเป็ นจริ ง ้ 4. ประโยชน์ ในชีวตประจาวัน เช่น ใช้ช่วยทาให้จิตใจผ่อนคลาย หายเครี ยด เกิด ิ ความสงบ เป็ นเครื่ องเสริ มประสิ ทธิ ภาพในการทางาน การเล่าเรี ยน และการทากิจทุก ่ ั อย่าง เพราะจิตที่เป็ นสมาธิ แน่วแน่อยูกบสิ่ งที่กาลังกระทา ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่วอกแวก ไม่ เลื่อนลอย ย่อมช่วยให้เรี ยน ให้คิด ให้ทางานได้ผลดี และช่วยเสริ มสุ ขภาพกายและใช้ รักษาโรคได้

×