SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โครงการ GIVE TO YOU
จัดทาโดย
น.ส.กาญจนา ถึกจรูญ เลขที่ 21
น.ส.ขวัญจิรา โพธิ์ล้อม เลขที่ 28
น.ส.จิดาภา บารุงวงศ์ เลขที่ 29
น.ส.ณัฐฐา ศรีอินทร์ เลขที่ 30
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
วิชา IS3 (I30903)
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
คานา
รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS3 (I30903) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมีจุดประสงค์
เพื่อศึกษาความรู้และการช่วยเหลือสังคม เพื่อประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งรายงานเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการรับ
บริจาคสิ่งของที่ไม่ได้ใช้แล้วจากบุคคลทั่วๆไปและการทาริสแบรนด์มาจาหน่ายเพื่อจะได้นาเงินส่วนที่ได้
กาไรมาซื้อของให้กับเด็กๆที่ โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก มูลนิธิเด็ก ต.วังด้ง อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
ทั้งนี้ ผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน นักเรียน และ นักศึกษา ที่กาลังหาข้อมูล
เรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญภาพ
บทที่ 1
โครงการ GIVE TO YOU
1.1หลักการและเหตุผล
ความเจริญก้าวหน้าในยุคปัจจุบันนั้นไปเร็วมาก จนทาให้สังคมในตอนนี้และค่านิยมผิดๆ ทาแค่สิ่งที่
ชอบและไม่คานึงถึงความถูกต้อง เห็นแต่ความสุขส่วนตัวไม่เคยเห็นใจผู้อื่น ทาให้สังคมในปัจจุบันเสื่อม
โทรมอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นเราจึงต้องปลูกฝังความมีจิตสานึกให้กับบุคคล เพื่อให้ทุกคนคอยช่วยเหลือ เห็น
ใจกันและมีความรับผิดชอบต่อสังคมมากกว่าตนเอง จึงอยากให้ทุกคนนึกถึงคาว่า “จิตสาธารณะ” คือให้เห็น
ใจคอยช่วยเหลือกัน เพื่อให้ผู้คนได้ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสาธารณะให้มากกว่าตนเอง ถ้าเรา
ปลูกฝังให้ทุกคนมีความตระหนักต่อคาว่า “จิตสาธารณะ” ให้มากๆ ทุกคนก็จะได้มีความสุขอย่างแน่นอน
ในขณะที่คนหลายๆคนยังใช้ชีวิตแบบมีความสุขแต่ยังมีเด็กกลุ่มหนึ่งที่ขาดแคลนสิ่งของเครื่องใช้
อุปกรณ์การเรียนเครื่องเขียนต่างๆ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดที่จะทาริสแบรนด์เพื่อนาเงินไปช่วยเหลือน้องๆ
แบ่งปันของที่มีประโยชน์แต่ไม่ได้ใช้แล้วไปให้น้องๆกลุ่มนี้
1.2.การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1.2.1.ความพอประมาณ คือ การรับบริจาคสิ่งของที่มีประโยชน์ ที่ไม่ได้ใช้แล้วไปให้แก่โรงเรียน
หมู่บ้านเด็ก
1.2.2.ความมีเหตุผล คือ การนาของที่รับบริจาค และของที่ซื้อจากการที่ได้จากกาไรที่ขายริสแบรนด์ ไป
บริจาคให้กับโรงเรียนหมู่บ้านเด็ก ที่ขาดแคลนจริง ๆ ไม่นาเงินไปใช้จ่ายอย่างไม่ถูกต้อง
1.2.3.ความมีภูมิคุ้มกัน คือ การวางแผนค่าใช้จ่ายในการได้กาไรจากการขายริสแบรนด์ว่าได้มากน้อย
เพียงใด ของที่จะบริจาคเพียงพอกับจานวนเด็กในโรงเรียนหรือไม่
1.2.4.เงื่อนไขความรู้ คือ การนาของที่มีประโยชน์ไปบริจาคแก่โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก เช่น เสื้อผ้าหรือผ้า
ห่มที่ช่วยบรรเทาอาการหนาวได้ หรืออาจจะเป็นสื่อการเรียนรู้ที่จะได้ช่วยพัฒนาแก่เด็กในโรงเรียน
1.2.5.เงื่อนไขคุณธรรม คือ มีความซื่อสัตย์กับตนเองโดยการนากาไรที่ได้จากการขายริสแบรนด์ไปทา
คุณประโยชน์แก่โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก
1.3.วัตถุประสงค์ของโครงการ
1.3.1.เพื่อนาเงินที่ได้จากการขายริสแบรนด์มาบริจาคให้แก่โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก
1.3.2.เพื่อเปิดโอกาสให้คนที่อยากช่วยเหลือได้มีส่วนร่วมกับโครงการของเรา
1.4.สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก มูลนิธิเด็ก ต.วังด้ง อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
1.5.ระยะเวลาในการดาเนินงาน
เดือนพฤษภาคม - กันยายน 2557
1.6ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.8.1.ทาให้เด็กๆที่โรงเรียนหมู่บ้านเด็กได้มีของเล่นดีๆได้เล่นกันอย่างสนุกสนาน
1.8.2.ทาให้เด็กๆที่โรงเรียนหมู่บ้านเด็กได้มีสื่อการเรียนรู้ใหม่ๆ
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 จิตสาธารณะ
จิตสาธารณะ หมายถึง ความรู้สึกตระหนักของบุคคลถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม ทาให้เกิดความรู้สึกที่
ปรารถนาจะร่วมและมีส่วนช่วยเหลือสังคม โดยรับรู้ถึงสิทธิควบคู่ไปกับหน้าที่และความรับผิดชอบ สานึก
ถึงพลังของตนว่าสามารถร่วมแก้ไขปัญหาได้ และลงมือกระทาเพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่างๆ
โดยการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกันกับคนในสังคมเพราะการอยู่ร่วมกันในสังคมทุกวันนี้ จาเป็นอย่างยิ่ง
ที่จะต้องอาศัยความมีน้าใจไมตรีการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การช่วยเหลือเกื้อกูลกันโดยไม่หวังผลตอบแทน การ
ดารงชีวิตในสังคมที่มีการช่วยเหลือกันถึงแม้ว่าเรื่องราวหรือเหตุการณ์นั้นไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับเรา หรือ
เราไม่ได้เดือดร้อนด้วย แต่ก็เต็มใจที่จะแบ่งปันให้การช่วยเหลือเอื้ออาทรกัน นั่นคือ การแสดงความมีจิต
สาธารณะนั่นเอง
การที่มนุษย์ในสังคมจะแสดงออกซึ่งการมีจิตสาธารณะนั้นเป็นเรื่องที่ยาก หากไม่ได้รับการเลี้ยงดูมา
แบบส่งเสริมหรือเอื้อต่อการเกิดพฤติกรรมการมีจิตสาธารณะ สังคมก็จะเป็นไปแบบเห็นแก่ตัว คือ ตัวใคร
ตัวมัน ไม่สนใจสังคมรอบข้างคิดแต่ประโยชน์แห่งตนเท่านั้น ชุมชนอ่อนแอ ขาดการพัฒนา เพราะต่างคน
ต่างอยู่ สภาพชุมชนมีสภาพเช่นไรก็ยังคงเช่นนั้น ไม่เกิดการพัฒนา และยิ่งนานไปก็มีแต่เสื่อมทรุดลง
อาชญากรรมในชุมชนอยู่ในระดับสูง ขาดศูนย์รวมจิตใจ ขาดผู้นาที่นาไปสู่การแก้ปัญหา เพราะคนในชุมชน
มองปัญหาของตัวเองเป็นเรื่องใหญ่ ขาดคนอาสานาการพัฒนา เพราะกลัวเสียทรัพย์ กลัวเสียเวลา หรือกลัว
เป็นที่ครหาจากบุคคลอื่น ดังนั้น การศึกษาแนวทางและความสาคัญของการมีจิตสาธารณะเพื่อให้เกิดใน
จิตสานึกของเด็กและเยาวชนนั้นเป็นเรื่องสาคัญที่เราควรกระทา เพื่อสังคมที่น่าอยู่ต่อไป ทั้งนี้เพราะเด็ก
ช่วงแรกเกิดจนถึงก่อน 10 ขวบ เป็นช่วงที่เด็กมีความไวต่อการรับการปลูกฝัง และส่งเสริมจริยธรรมเป็น
อย่างยิ่ง เพราะเด็กยังเป็น “ไม้อ่อนที่ดัดง่าย” ฉะนั้นการปฏิบัติต่อเด็กอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการด้านสังคม
และด้านจิตใจของเด็กจะเป็นการป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อที่จะได้เป็นพลเมืองที่ดีของสังคม ก่อให้เกิด
ความเข้มแข็งของสังคม จะส่งผลให้ การเมือง เศรษฐกิจ ศีลธรรมในสังคมนั้นดีขึ้น
2.2 จิตสาธารณะเพื่อส่วนรวม
โดยการกระทาตนเอง ต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเอง เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบและเกิดความเสียหาย
ต่อส่วนรวม
มีบทบาทต่อสังคมในการรักษาประโยชน์ของส่วนรวม เพื่อแก้ปัญหา สร้างสรรค์สังคม ซึ่งถือว่าเป็น
ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2.3 ความรับผิดชอบต่อตนเอง
จิตสานึกในความรับผิดชอบต่อตนเอง นับว่าเป็นพื้นฐานต่อความรับผิดชอบ ต่อสังคม ตัวอย่างความ
รับผิดชอบ ต่อตนเองดังนี้
1. ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนหาความรู้
2. รู้จักการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพให้แข็งแรงสมบรูณ์
3. มีความประหยัดรู้จักความพอดี
4. ประพฤติตัวให้เหมาะสม ละเว้นการกระทาที่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสีย
5. ทางานที่รับมอบหมายให้สาเร็จ
6. มีความรับผิดชอบ ตรงเวลา สามารถพึ่งพาตนเองได้
2.4 ความรับผิดชอบต่อสังคม
เป็นการช่วยเหลือสังคม ไม่ทาให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือดร้อนได้รับความ เสียหายเช่น
1. มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว เช่น เชื่อฟังพ่อแม่ ช่วยเหลืองานบ้าน ไม่ทาให้พ่อแม่เสียใจ
2. มีความรับผิดชอบต่อโรงเรียน ครูอาจารย์ เช่น ตั้งใจเล่าเรียน เชื่อฟังคาสั่งสอนของครูอาจารย์
ปฏิบัติตามกฎระเบียบวินัยของโรงเรียน ช่วยรักษาทรัพย์สมบัติของโรงเรียน
3. มีความรับผิดชอบต่อบุคคลอื่นเช่นให้ความช่วยเหลือให้คาแนะนาไม่เอาเปรียบเคารพสิทธิซึ่งกันและ
กัน
4. มีความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง เช่น ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม ปฏิบัติตามกฎหมาย รักษา
สมบัติของส่วนรวม ให้ความร่วมมือต่อสังคมในฐานะพลเมืองดี ให้ความช่วยเหลือ
2.5 แนวทางการสร้างจิตสาธารณะ
การสร้างจิตสาธารณะ เป็นความรับผิดชอบในตนเอง แม้ว่าจะได้รับการอบรมสั่งสอนถ้าใจตนเองไม่
ยอมรับ จิตสาธารณะก็ไม่เกิด ฉะนั้นคาว่า "ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน" จึงมีความสาคัญส่วนหนึ่งในการสร้างจิต
สาธารณะ
ถ้าตนเองไม่เห็นความสาคัญแล้วคงไม่มีใครบังคับได้
นอกจากใจของตนเองแล้ว แนวทางที่สาคัญในการจิตสาธารณะยังมีอีกหลายประการถ้าปฏิบัติได้ก็จะ
เป็น
2.6 ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
1. สร้างวินัยในตนเอง ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในระบบประชาธิปไตย รู้ถึงขอบเขตของสิทธิ เสรีภาพ
หน้าที่ ความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม
2. ให้ความสาคัญต่อสิ่งแวดล้อม ตระหนักเสมอว่าตนเอง คือส่วนหนึงของสังคมต้องมีความรับผิดชอบ
ในการรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นเรื่องของส่วนรวม ทั้งต่อประเทศชาติ และโลกใบนี้
3. ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสังคม ให้ถือว่าเป็นปัญหาของตนเอง เช่นกันอย่าง
หลีกเลี่ยง ไม่ได้ ต้องช่วยกันแก้ไข เช่น ช่วยกันดาเนินการให้โรงงานอุตสาหกรรมสร้างบ่อพักน้าทิ้งก่อน
ปล่อยลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ
4. ยึดหลักธรรมในการดาเนินชีวิต เพราะหลักธรรมหรือคาสั่งสอนในทุกศาสนาที่นับถือ สอนให้คน
ทาความดีทั้งสิ้น ถ้าปฏิบัติได้จะทาให้ตนเองมีความสุข นอกจานี้ยังก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมด้วย
ทาให้เราสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
2.7 ข้อแตกต่างระหว่างการให้กับการบริจาค
การให้หรือภาษาพระเรียกว่าทาน ทาน แปลว่า การให้ คานี้มันบอกความหมายตรงกับคาแปลคือ
อะไรอย่างนั้นหรือ มันหมายถึงการให้แบบเจาะจงลงไปว่าการให้จะให้ใครยกตัวอย่างเช่น การให้ของแก่
ใคร เป็นต้นการให้นี้อาจเป็นเพราะรักใคร่หรือไม่ก็หวังสิ่งตอบแทนก็ได้ อย่างเช่น การให้ของแก่พ่อแม่ ก็
เพราะหวังให้พ่อแม่ดีใจประทับใจ เป็นต้น นี้เป็นการให้โดยหวังสิ่งตอบแทน หรือจะเรียกได้ว่าการให้
นั้น เป็นการให้แบบเจาะจงไว้ว่าจะให้ใครแล้วนั้นเป็นความหมายของคาว่า การให้ มันเป็นความหมาย
ตรงๆกับคาแปลอยู่แล้ว ส่วนคาว่า บริจาค แปลว่า การเสียสละ หรือ การสละสิ่งของ คานี้มันให้
ความหมายกับคาแปล่อยู่แล้ว คือการสละสิ่งของโดยแม่หวังสิ่งตอบแทนมันเป็นอีกขั้นหนึ่งของการให้ทาน
อาจเรียกได้ว่ามันเป็นขั้นที่สูงกว่าการให้เพราะการบริจาคมันมีความหมายลึกซึ้งกว่าการให้ที่เรียกว่าทาน
2.8 ตัวอย่างริสแบรนด์
รูปที่ 2.8.1 ตัวอย่างริสแบรนด์
รูปที่ 2.8.2 ตัวอย่างริสแบรนด์
รูปที่ 2.8.3 ตัวอย่างริสแบรนด์
รูปที่ 2.8.4 ตัวอย่างริสแบรนด์
2.9 โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก มูลนิธิเด็ก ต.วังด้ง อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
รูปที่ 2.9.1 โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก
รูปที่ 2.9.2 เด็กๆที่โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก
บทที่ 3
วิธีการดาเนินการ
3.1 วัสดุอุปกรณ์
3.2 วิธีการดาเนินการ
3.2.1.ปรึกษาหาหัวข้อในการทาโครงงานของคนในกลุ่ม
3.2.2.หาข้อมูลเลือกสถานที่ที่จะลงมือปฏิบัติ
3.2.3.ทาริสแบรนด์เพื่อนามาขายพร้อมกับรับบริจาคสิ่งของที่ไม่ได้ใช้แล้ว
3.2.4.นากาไรที่ได้จากการขายริสแบรนด์มาซื้อของใช้ที่จาเป็นสาหรับเด็กๆ
3.2.5.ติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อสอบถามสถานที่และวัน-เวลา
3.2.6.ดูแลและติดตามผล
3.2.7.สรุปโครงการ
3.2.8.จัดทาเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ข้อมูล

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie โครงการ Give-to-you-1-3

โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างPz'Peem Kanyakamon
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรักkessara61977
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิงนันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิงpiyard
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3Noppakhun Suebloei
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003peter dontoom
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันพัน พัน
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรักพัน พัน
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003Thidarat Termphon
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
กิจกรรมกลุ่ม "พริกขี้หนู"
กิจกรรมกลุ่ม "พริกขี้หนู"กิจกรรมกลุ่ม "พริกขี้หนู"
กิจกรรมกลุ่ม "พริกขี้หนู"DaNuphol JonGariyakul
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาAoun หมูอ้วน
 
Young Influencer Pathumthani
Young Influencer PathumthaniYoung Influencer Pathumthani
Young Influencer PathumthaniInfluencer TH
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 

Ähnlich wie โครงการ Give-to-you-1-3 (20)

โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิงนันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
 
Is3sharinglove
Is3sharingloveIs3sharinglove
Is3sharinglove
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
กิจกรรมกลุ่ม "พริกขี้หนู"
กิจกรรมกลุ่ม "พริกขี้หนู"กิจกรรมกลุ่ม "พริกขี้หนู"
กิจกรรมกลุ่ม "พริกขี้หนู"
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
 
Young Influencer Pathumthani
Young Influencer PathumthaniYoung Influencer Pathumthani
Young Influencer Pathumthani
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 

Mehr von พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Mehr von พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

โครงการ Give-to-you-1-3

  • 1. โครงการ GIVE TO YOU จัดทาโดย น.ส.กาญจนา ถึกจรูญ เลขที่ 21 น.ส.ขวัญจิรา โพธิ์ล้อม เลขที่ 28 น.ส.จิดาภา บารุงวงศ์ เลขที่ 29 น.ส.ณัฐฐา ศรีอินทร์ เลขที่ 30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา วิชา IS3 (I30903) โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS3 (I30903) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้และการช่วยเหลือสังคม เพื่อประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งรายงานเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการรับ บริจาคสิ่งของที่ไม่ได้ใช้แล้วจากบุคคลทั่วๆไปและการทาริสแบรนด์มาจาหน่ายเพื่อจะได้นาเงินส่วนที่ได้ กาไรมาซื้อของให้กับเด็กๆที่ โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก มูลนิธิเด็ก ต.วังด้ง อ.เมือง จ.กาญจนบุรี ทั้งนี้ ผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน นักเรียน และ นักศึกษา ที่กาลังหาข้อมูล เรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
  • 6. บทที่ 1 โครงการ GIVE TO YOU 1.1หลักการและเหตุผล ความเจริญก้าวหน้าในยุคปัจจุบันนั้นไปเร็วมาก จนทาให้สังคมในตอนนี้และค่านิยมผิดๆ ทาแค่สิ่งที่ ชอบและไม่คานึงถึงความถูกต้อง เห็นแต่ความสุขส่วนตัวไม่เคยเห็นใจผู้อื่น ทาให้สังคมในปัจจุบันเสื่อม โทรมอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นเราจึงต้องปลูกฝังความมีจิตสานึกให้กับบุคคล เพื่อให้ทุกคนคอยช่วยเหลือ เห็น ใจกันและมีความรับผิดชอบต่อสังคมมากกว่าตนเอง จึงอยากให้ทุกคนนึกถึงคาว่า “จิตสาธารณะ” คือให้เห็น ใจคอยช่วยเหลือกัน เพื่อให้ผู้คนได้ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสาธารณะให้มากกว่าตนเอง ถ้าเรา ปลูกฝังให้ทุกคนมีความตระหนักต่อคาว่า “จิตสาธารณะ” ให้มากๆ ทุกคนก็จะได้มีความสุขอย่างแน่นอน ในขณะที่คนหลายๆคนยังใช้ชีวิตแบบมีความสุขแต่ยังมีเด็กกลุ่มหนึ่งที่ขาดแคลนสิ่งของเครื่องใช้ อุปกรณ์การเรียนเครื่องเขียนต่างๆ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดที่จะทาริสแบรนด์เพื่อนาเงินไปช่วยเหลือน้องๆ แบ่งปันของที่มีประโยชน์แต่ไม่ได้ใช้แล้วไปให้น้องๆกลุ่มนี้ 1.2.การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1.2.1.ความพอประมาณ คือ การรับบริจาคสิ่งของที่มีประโยชน์ ที่ไม่ได้ใช้แล้วไปให้แก่โรงเรียน หมู่บ้านเด็ก 1.2.2.ความมีเหตุผล คือ การนาของที่รับบริจาค และของที่ซื้อจากการที่ได้จากกาไรที่ขายริสแบรนด์ ไป บริจาคให้กับโรงเรียนหมู่บ้านเด็ก ที่ขาดแคลนจริง ๆ ไม่นาเงินไปใช้จ่ายอย่างไม่ถูกต้อง 1.2.3.ความมีภูมิคุ้มกัน คือ การวางแผนค่าใช้จ่ายในการได้กาไรจากการขายริสแบรนด์ว่าได้มากน้อย เพียงใด ของที่จะบริจาคเพียงพอกับจานวนเด็กในโรงเรียนหรือไม่ 1.2.4.เงื่อนไขความรู้ คือ การนาของที่มีประโยชน์ไปบริจาคแก่โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก เช่น เสื้อผ้าหรือผ้า ห่มที่ช่วยบรรเทาอาการหนาวได้ หรืออาจจะเป็นสื่อการเรียนรู้ที่จะได้ช่วยพัฒนาแก่เด็กในโรงเรียน 1.2.5.เงื่อนไขคุณธรรม คือ มีความซื่อสัตย์กับตนเองโดยการนากาไรที่ได้จากการขายริสแบรนด์ไปทา คุณประโยชน์แก่โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก
  • 7. 1.3.วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.3.1.เพื่อนาเงินที่ได้จากการขายริสแบรนด์มาบริจาคให้แก่โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก 1.3.2.เพื่อเปิดโอกาสให้คนที่อยากช่วยเหลือได้มีส่วนร่วมกับโครงการของเรา 1.4.สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก มูลนิธิเด็ก ต.วังด้ง อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 1.5.ระยะเวลาในการดาเนินงาน เดือนพฤษภาคม - กันยายน 2557 1.6ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.8.1.ทาให้เด็กๆที่โรงเรียนหมู่บ้านเด็กได้มีของเล่นดีๆได้เล่นกันอย่างสนุกสนาน 1.8.2.ทาให้เด็กๆที่โรงเรียนหมู่บ้านเด็กได้มีสื่อการเรียนรู้ใหม่ๆ
  • 8. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 จิตสาธารณะ จิตสาธารณะ หมายถึง ความรู้สึกตระหนักของบุคคลถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม ทาให้เกิดความรู้สึกที่ ปรารถนาจะร่วมและมีส่วนช่วยเหลือสังคม โดยรับรู้ถึงสิทธิควบคู่ไปกับหน้าที่และความรับผิดชอบ สานึก ถึงพลังของตนว่าสามารถร่วมแก้ไขปัญหาได้ และลงมือกระทาเพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่างๆ โดยการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกันกับคนในสังคมเพราะการอยู่ร่วมกันในสังคมทุกวันนี้ จาเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องอาศัยความมีน้าใจไมตรีการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การช่วยเหลือเกื้อกูลกันโดยไม่หวังผลตอบแทน การ ดารงชีวิตในสังคมที่มีการช่วยเหลือกันถึงแม้ว่าเรื่องราวหรือเหตุการณ์นั้นไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับเรา หรือ เราไม่ได้เดือดร้อนด้วย แต่ก็เต็มใจที่จะแบ่งปันให้การช่วยเหลือเอื้ออาทรกัน นั่นคือ การแสดงความมีจิต สาธารณะนั่นเอง การที่มนุษย์ในสังคมจะแสดงออกซึ่งการมีจิตสาธารณะนั้นเป็นเรื่องที่ยาก หากไม่ได้รับการเลี้ยงดูมา แบบส่งเสริมหรือเอื้อต่อการเกิดพฤติกรรมการมีจิตสาธารณะ สังคมก็จะเป็นไปแบบเห็นแก่ตัว คือ ตัวใคร ตัวมัน ไม่สนใจสังคมรอบข้างคิดแต่ประโยชน์แห่งตนเท่านั้น ชุมชนอ่อนแอ ขาดการพัฒนา เพราะต่างคน ต่างอยู่ สภาพชุมชนมีสภาพเช่นไรก็ยังคงเช่นนั้น ไม่เกิดการพัฒนา และยิ่งนานไปก็มีแต่เสื่อมทรุดลง อาชญากรรมในชุมชนอยู่ในระดับสูง ขาดศูนย์รวมจิตใจ ขาดผู้นาที่นาไปสู่การแก้ปัญหา เพราะคนในชุมชน มองปัญหาของตัวเองเป็นเรื่องใหญ่ ขาดคนอาสานาการพัฒนา เพราะกลัวเสียทรัพย์ กลัวเสียเวลา หรือกลัว เป็นที่ครหาจากบุคคลอื่น ดังนั้น การศึกษาแนวทางและความสาคัญของการมีจิตสาธารณะเพื่อให้เกิดใน จิตสานึกของเด็กและเยาวชนนั้นเป็นเรื่องสาคัญที่เราควรกระทา เพื่อสังคมที่น่าอยู่ต่อไป ทั้งนี้เพราะเด็ก ช่วงแรกเกิดจนถึงก่อน 10 ขวบ เป็นช่วงที่เด็กมีความไวต่อการรับการปลูกฝัง และส่งเสริมจริยธรรมเป็น อย่างยิ่ง เพราะเด็กยังเป็น “ไม้อ่อนที่ดัดง่าย” ฉะนั้นการปฏิบัติต่อเด็กอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการด้านสังคม และด้านจิตใจของเด็กจะเป็นการป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อที่จะได้เป็นพลเมืองที่ดีของสังคม ก่อให้เกิด ความเข้มแข็งของสังคม จะส่งผลให้ การเมือง เศรษฐกิจ ศีลธรรมในสังคมนั้นดีขึ้น
  • 9. 2.2 จิตสาธารณะเพื่อส่วนรวม โดยการกระทาตนเอง ต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเอง เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบและเกิดความเสียหาย ต่อส่วนรวม มีบทบาทต่อสังคมในการรักษาประโยชน์ของส่วนรวม เพื่อแก้ปัญหา สร้างสรรค์สังคม ซึ่งถือว่าเป็น ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2.3 ความรับผิดชอบต่อตนเอง จิตสานึกในความรับผิดชอบต่อตนเอง นับว่าเป็นพื้นฐานต่อความรับผิดชอบ ต่อสังคม ตัวอย่างความ รับผิดชอบ ต่อตนเองดังนี้ 1. ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนหาความรู้ 2. รู้จักการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพให้แข็งแรงสมบรูณ์ 3. มีความประหยัดรู้จักความพอดี 4. ประพฤติตัวให้เหมาะสม ละเว้นการกระทาที่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสีย 5. ทางานที่รับมอบหมายให้สาเร็จ 6. มีความรับผิดชอบ ตรงเวลา สามารถพึ่งพาตนเองได้ 2.4 ความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นการช่วยเหลือสังคม ไม่ทาให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือดร้อนได้รับความ เสียหายเช่น 1. มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว เช่น เชื่อฟังพ่อแม่ ช่วยเหลืองานบ้าน ไม่ทาให้พ่อแม่เสียใจ 2. มีความรับผิดชอบต่อโรงเรียน ครูอาจารย์ เช่น ตั้งใจเล่าเรียน เชื่อฟังคาสั่งสอนของครูอาจารย์ ปฏิบัติตามกฎระเบียบวินัยของโรงเรียน ช่วยรักษาทรัพย์สมบัติของโรงเรียน 3. มีความรับผิดชอบต่อบุคคลอื่นเช่นให้ความช่วยเหลือให้คาแนะนาไม่เอาเปรียบเคารพสิทธิซึ่งกันและ กัน 4. มีความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง เช่น ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม ปฏิบัติตามกฎหมาย รักษา สมบัติของส่วนรวม ให้ความร่วมมือต่อสังคมในฐานะพลเมืองดี ให้ความช่วยเหลือ
  • 10. 2.5 แนวทางการสร้างจิตสาธารณะ การสร้างจิตสาธารณะ เป็นความรับผิดชอบในตนเอง แม้ว่าจะได้รับการอบรมสั่งสอนถ้าใจตนเองไม่ ยอมรับ จิตสาธารณะก็ไม่เกิด ฉะนั้นคาว่า "ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน" จึงมีความสาคัญส่วนหนึ่งในการสร้างจิต สาธารณะ ถ้าตนเองไม่เห็นความสาคัญแล้วคงไม่มีใครบังคับได้ นอกจากใจของตนเองแล้ว แนวทางที่สาคัญในการจิตสาธารณะยังมีอีกหลายประการถ้าปฏิบัติได้ก็จะ เป็น 2.6 ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 1. สร้างวินัยในตนเอง ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในระบบประชาธิปไตย รู้ถึงขอบเขตของสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม 2. ให้ความสาคัญต่อสิ่งแวดล้อม ตระหนักเสมอว่าตนเอง คือส่วนหนึงของสังคมต้องมีความรับผิดชอบ ในการรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นเรื่องของส่วนรวม ทั้งต่อประเทศชาติ และโลกใบนี้ 3. ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสังคม ให้ถือว่าเป็นปัญหาของตนเอง เช่นกันอย่าง หลีกเลี่ยง ไม่ได้ ต้องช่วยกันแก้ไข เช่น ช่วยกันดาเนินการให้โรงงานอุตสาหกรรมสร้างบ่อพักน้าทิ้งก่อน ปล่อยลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ 4. ยึดหลักธรรมในการดาเนินชีวิต เพราะหลักธรรมหรือคาสั่งสอนในทุกศาสนาที่นับถือ สอนให้คน ทาความดีทั้งสิ้น ถ้าปฏิบัติได้จะทาให้ตนเองมีความสุข นอกจานี้ยังก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมด้วย ทาให้เราสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 2.7 ข้อแตกต่างระหว่างการให้กับการบริจาค การให้หรือภาษาพระเรียกว่าทาน ทาน แปลว่า การให้ คานี้มันบอกความหมายตรงกับคาแปลคือ อะไรอย่างนั้นหรือ มันหมายถึงการให้แบบเจาะจงลงไปว่าการให้จะให้ใครยกตัวอย่างเช่น การให้ของแก่ ใคร เป็นต้นการให้นี้อาจเป็นเพราะรักใคร่หรือไม่ก็หวังสิ่งตอบแทนก็ได้ อย่างเช่น การให้ของแก่พ่อแม่ ก็ เพราะหวังให้พ่อแม่ดีใจประทับใจ เป็นต้น นี้เป็นการให้โดยหวังสิ่งตอบแทน หรือจะเรียกได้ว่าการให้ นั้น เป็นการให้แบบเจาะจงไว้ว่าจะให้ใครแล้วนั้นเป็นความหมายของคาว่า การให้ มันเป็นความหมาย ตรงๆกับคาแปลอยู่แล้ว ส่วนคาว่า บริจาค แปลว่า การเสียสละ หรือ การสละสิ่งของ คานี้มันให้ ความหมายกับคาแปล่อยู่แล้ว คือการสละสิ่งของโดยแม่หวังสิ่งตอบแทนมันเป็นอีกขั้นหนึ่งของการให้ทาน อาจเรียกได้ว่ามันเป็นขั้นที่สูงกว่าการให้เพราะการบริจาคมันมีความหมายลึกซึ้งกว่าการให้ที่เรียกว่าทาน
  • 11. 2.8 ตัวอย่างริสแบรนด์ รูปที่ 2.8.1 ตัวอย่างริสแบรนด์ รูปที่ 2.8.2 ตัวอย่างริสแบรนด์
  • 13. 2.9 โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก มูลนิธิเด็ก ต.วังด้ง อ.เมือง จ.กาญจนบุรี รูปที่ 2.9.1 โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก รูปที่ 2.9.2 เด็กๆที่โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก
  • 14. บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ 3.1 วัสดุอุปกรณ์ 3.2 วิธีการดาเนินการ 3.2.1.ปรึกษาหาหัวข้อในการทาโครงงานของคนในกลุ่ม 3.2.2.หาข้อมูลเลือกสถานที่ที่จะลงมือปฏิบัติ 3.2.3.ทาริสแบรนด์เพื่อนามาขายพร้อมกับรับบริจาคสิ่งของที่ไม่ได้ใช้แล้ว 3.2.4.นากาไรที่ได้จากการขายริสแบรนด์มาซื้อของใช้ที่จาเป็นสาหรับเด็กๆ 3.2.5.ติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อสอบถามสถานที่และวัน-เวลา 3.2.6.ดูแลและติดตามผล 3.2.7.สรุปโครงการ 3.2.8.จัดทาเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ข้อมูล