SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
ความรู้ด้านแผนที่เบื้องต้น
โดย
ดร.สฤษดิ์ ติยะวงศ์สุวรรณ
และ
ชฎาพร แหลมทอง
วัตถุประสงค์
1) มีความเข้าใจความหมายและสัญลักษณ์ของแผนที่
2) มีความเข้าใจเรื่องมาตราส่วนและสัดส่วน
แผนที่
คือ อะไร ?
สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน
ทาไมต้องมี
แผนที่ ?
สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน
ในชีวิตจริง เราคุ้นเคยกับแผนที่มากกว่าที่คิด: ในยุค Smart Phone
หาสถานที่จาก Internet > Google Map
Facebook : Check In
Line : Share Location
สิ่งเหล่านี้เกี่ยวข้องกับแผนที่ทั้งหมด >>> ระบุตาแหน่งสถานที่
สื่อสารเพื่อเข้าใจตรงกัน
เพื่อการวางแผนและจัดการเรื่องต่าง ๆ
แผนที่ หมายถึง
สัญลักษณ์หรือตัวหนังสือ
ที่แสดงบนอุปกรณ์สื่อสาร
อาทิ กระดาษ ระบบออนไลน์
เพื่อแสดงตาแหน่งสิ่งต่าง ๆ
ของพื้นโลก
มีการระบุพิกัดและย่อสัดส่วน
สามารถวัดระยะทางได้
แหล่งภาพ: รัศมี สุวรรณวีระกาธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนที่ภูมิประเทศ [ออนไลน์].
แหล่งที่มา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].
แผนที่
มีความสาคัญและประโยชน์อย่างไร ?
สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน
การเดินทางและการท่องเที่ยว
แผนที่
มีความสาคัญและประโยชน์
ด้านอื่น ๆ อีกอย่างไร ?
สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน
แผนที่
เกี่ยวข้องกับการจัดการผังเมือง
อย่างไร ?
สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน
ด้านการวางแผนพัฒนา คานวณงบประมาณ ฯลฯ
การวิเคราะห์สถานะเพื่อการวางแผน
การวิเคราะห์สถานะเพื่อการวางผัง
โครงการพัฒนาผังการใช้ประโยชน์ที่ดินรอบสถานีระบบรางขนส่งมวลชนเมืองขอนแก่น
การจาแนกชนิดของแผนที่
- แผนที่แบบแบนราบ
- แผนที่ภูมิประเทศ
- แผนที่ภาพถ่าย
- แผนที่แบบแบนราบ
แสดงพื้นผิวแนวราบ
ไม่สามารถบอกระดับ
ความสูง-ต่า ของสภาพ
ภูมิประเทศได้
แสดงเพียงตาแหน่ง
- แผนที่ภูมิประเทศ
แหล่งภาพ: รัศมี สุวรรณวีระกาธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนที่ภูมิประเทศ [ออนไลน์].
แหล่งที่มา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].
แสดงความสูง-ต่าของภูมิประเทศ
แสดงตาแหน่งสถานีบางกรณี ส่วนใหญ่เป็นแผนที่ทางทหาร
- แผนที่ภาพถ่าย
แผนที่สร้างจากภาพถ่าย
ทางอากาศ
มีสัญลักษณ์เพิ่มเติม
ตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ
สัญลักษณ์ของแผนที่
จุด (Point)
เส้น (Line)
พื้นที่ปิดล้อม (Polygon)
สัญลักษณ์ของแผนที่
จุด (Point)
มักแสดงตาแหน่งที่ตั้งพื้นที่เป้าหมาย อาทิ สถานที่ราชการ โรงพยาบาล ฯลฯ
สัญลักษณ์ของแผนที่
เส้น (Line)
มักแสดงตาแหน่งที่ตั้งสิ่งที่มีแนวยาว อาทิ ถนน แม่น้า ทางรถไฟ ฯลฯ
สัญลักษณ์ของแผนที่
พื้นที่ปิดล้อม (Polygon)
มักแสดงตาแหน่งที่ตั้งขอบเขตพื้นที่ อาทิ ขอบเขตการปกครอง แปลงที่ดิน บึง ฯลฯ
มาตราส่วนของแผนที่
คืออะไร ?
สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน
มาตราส่วนของแผนที่
อัตราส่วนเปรียบเทียบระหว่างระยะทางในแผนที่
กับระยะทางในภูมิประเทศจริง
มาตราส่วนของแผนที่
ตัวอย่าง
ระยะทางบนแผนที่ 1 ซ.ม.
จะมีค่าเท่ากับระยะทางจริงพื้นโลก 1 ก.ม. (100,000 ซ.ม.)
ดังนั้น
มาตราส่วนของแผนที่ คือ
1 : 100,000
แหล่งภาพ: รัศมี สุวรรณวีระกาธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนที่ภูมิประเทศ [ออนไลน์].
แหล่งที่มา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].
แหล่งภาพ: รัศมี สุวรรณวีระกาธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนที่ภูมิประเทศ [ออนไลน์].
แหล่งที่มา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].
แบบฝึกปฏิบัติ
ระยะทางในแผนที่ 2.5 ซ.ม. >>> ระยะทางจริงพื้นโลก 500 เมตร
แหล่งภาพ: รัศมี สุวรรณวีระกาธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนที่ภูมิประเทศ [ออนไลน์].
แหล่งที่มา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].
แผนที่นี้มาตราส่วนเท่าใด ?
สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน ?
แล้วเฉลย !!!
ให้นักศึกษาคานวณ ในช่วง
เวลา 5 นาที
แบบฝึกปฏิบัติ
ระยะทางในแผนที่ 2.5 ซ.ม. >>> ระยะทางจริงพื้นโลก 500 เมตร
แหล่งภาพ: รัศมี สุวรรณวีระกาธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนที่ภูมิประเทศ [ออนไลน์].
แหล่งที่มา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].
2.5 ซ.ม. / 500 ม.
2.5 ซ.ม. / 50,000 ซ.ม.
1 ซ.ม. / 20,000 ซ.ม.
1 / 20,000
แบบฝึกปฏิบัติ
ในมาตราส่วน 1 : 50,000
ระยะทางบนแผนที่วัดได้ 1 ซ.ม. จะมีค่าจริงพื้นโลกเท่าใด
ให้นักศึกษาคานวณ ในช่วง
เวลา 5 นาที
สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน ?
แล้วเฉลย !!!
แบบฝึกปฏิบัติ
ในมาตราส่วน 1 : 50,000
ระยะทางบนแผนที่วัดได้ 1 ซ.ม. จะมีค่าจริงพื้นโลกเท่าใด
1 ซ.ม. / 50,000 ซ.ม.
1 ซ.ม. / 0.5 ก.ม.
1 ซ.ม. / 500 ม.
สัดส่วนย่อ-ขยาย แผนที่
แผนที่ต้นฉบับ
ภาพใดเป็นภาพย่อที่ถูกต้อง
ส่วนภาพที่ไม่ถูกต้องไม่ถูกอย่างไร จงอธิบาย ?
1
2
3
เอกสารอ้างอิง
รัศมี สุวรรณวีระกาธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนที่ภูมิ
ประเทศ [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:
http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].

More Related Content

More from Sarit Tiyawongsuwan

Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfSarit Tiyawongsuwan
 
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...Sarit Tiyawongsuwan
 
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์Sarit Tiyawongsuwan
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยSarit Tiyawongsuwan
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics EvaluationSarit Tiyawongsuwan
 

More from Sarit Tiyawongsuwan (20)

Urban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdfUrban-Transport Planning_20221208.pdf
Urban-Transport Planning_20221208.pdf
 
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
 
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
06-07 กฎหมายว่าด้วยจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่.pdf
 
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
04-05 พรบ การจัดสรรที่ดิน.pdf
 
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
03 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย.pdf
 
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
02 ภาพรวมและลำดับศักดิ์กฎหมาย 20191113.pdf
 
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
 
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการพัฒนาเมืองและพื้นที่รอบสถานีขนส่งม...
 
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะคู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
คู่มือการใช้แอพพลิเคชันธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
ระบบขยะเหลือศูนย์และถังธนาคารขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
 
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
01 กลไกระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE CHIANG RAI ZERO WASTE
CHIANG RAI ZERO WASTE
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis06 Questionnaire Analysis
06 Questionnaire Analysis
 
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
05 Questionnaire for Aesthetics Evaluation
 

Introduction to reading map