SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 22
1
พื้นฐาน Java กับการใช้ Edit Plus
2
รายละเอียดของไดเรกทอรี
bin เป็นไดเรกทอรีที่เก็บโปรแกรมที่ใช้คอมไพล์ หรือโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการ
คอมไพล์และการทดสอบโปรแกรมภาษา Java
demo เป็นตัวอย่างโปรแกรมภาษา Java และ Source Code
include เก็บไฟล์ header ในภาษา C ใช้ในกรณีผู้เขียนโปรแกรมต้องการเพิ่ม
การใช้งาน header ภาษา C ในโปรแกรมภาษา Java
jre เก็บคอมโพเนนต์ที่ใช้สาหรับการรันโปรแกรม Java ซึ่งรวมงึง Java Virtual
Machine คลาส และ package Libraries ต่าง ๆ ที่จาเป็นในการทางาน
ของคอมไพเลอร์
Lib เก็บคลาสและ package เพิ่มเติมอื่น ๆ ของ Java
3
ตัวอย่างโปรแกรม
public class Hello
{
public static void main(String[] args)
{
System.out.println("Hello World!");
}
}
4
การเรียกใช้ java compiler
5
การ run โปรแกรม java
6
Java Servlet API :- ชุดที่รวบรวมกลุ่มคลาสที่สนับสนุน การทางานที่
เกิดขึ้นบนเซิร์ฟเวอร์เป็นส่วนใหญ่ โดยให้เซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์สื่อสารกันด้วยโปรโตคอล
HTTP (Hyper Text Transfer Protocol)
Windows, Unix, Linux
Browser
Java Servlet
เว็บเซิร์ฟเวอร์
คำร้องขอ
ข้อมูลใน
รูปแบบ HTML
7
Java Server Page : JSP
• เป็นรูปแบบการทางานในฝั่งเซิร์ฟเวอร์เหมือนกับจาวา เซิร์ฟเล็ต แต่ผู้สร้าง
สามารงเขียนคาสั่งเจเอสพีลงในไฟล์เว็บได้โดยตรง ผิดกับจาวาเซิร์ฟเล็ต ซึ่งผู้สร้างต้อง
เขียนคาสั่งจาวาในแบบเซิร์ฟเล็ต แล้วคอมไพล์เป็นเซิร์ฟเล็ตไว้ใช้งาน
<HTML>
<HEAD>
<TITLE> Heading </TITLE>
</HEAD>
<BODY>
<% out.println("Hello Java Server Page");%>
</BODY>
</HTML>
8
Java 3D API
:- รูปแบบ API หนึ่งที่งูกใช้งานสาหรับการใช้งานเกี่ยวข้องระบบสามมิติ โดย
สามารงช่วยให้โปรแกรมเมอร์สร้างภาพหรือสภาวะแวดล้อมแบบสามมิติได้ด้วย
ภาษาจาวา
Java RMI API
:- ชุดสาหรับให้โปรแกรมเมอร์นามาใช้งาน เพื่อวัตงุประสงค์ในการสร้างโปรแกรมที่มี
การติดต่อสื่อสารกัน
9
JavaBeans
:- ส่วนประกอบซอฟต์แวร์หรือชิ้นส่วนคอมโพเนนต์ เป็นรูปแบบของความสามารงใน
การนามาใช้ใหม่ (Reuseable) โดยวิธีใช้งาน คือ การนาเอาคอมโพเนนต์
ดังกล่าวมาประกอบกันขึ้นเป็นซอฟต์แวร์ (สาหรับจาวาความหมายรวมงึง
แอพพลิเคชั่นและแอปเพล็ต) ทาให้ซอฟต์แวร์สามารงสร้างขึ้นได้ง่ายและรวดเร็ว
กว่าเดิมมาก
Java Swing
:- ชุด API เพื่อสนับสนุนการกาหนดอินเตอร์เฟส ซึ่งประกอบด้วยคอมโพเนนต์ต่าง
ๆ มากมายให้เลือกใช้ เช่น JTextBox, JButton, JPanel, JRadio
เป็นต้น
10
JDBC Data Access
:- ชุด API ที่โปรแกรมเมอร์ภาษาจาวาสามารงสร้างแอพพลิเคชั่นหรือแอปเพล็ตเพื่อ
ติดต่อกับฐานข้อมูลด้วย JDBC Driver เพื่อเข้าไปงึงระบบฐานข้อมูลเชิง
สัมพันธ์จากผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย เช่น Oracle, SQL Server,
Informix, DB2, mySQL โดยใช้คาสั่ง SQL ซึ่งเป็นคาสั่งที่ทุกระบบ
ฐานข้อมูลสนับสนุน
11
ข้อกาหนดเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม
• แต่ละประโยคต้องจบด้วยเครื่องหมาย ; เสมอ
• สัญลักษณ์อื่นที่ใช้แยกข้อความหรือคาสั่งอีก เช่น
 ( ) ใช้สาหรับแยกลาดับในการประมวลผล
 { } ใช้สาหรับแยกชุดคาสั่ง หรือรวมชุดคาสั่งเป็นบล็อก
 , ให้ความต่อเนื่องในการทางาน เช่น การกาหนด ตัวแปรที่มีประเภท
ข้อมูลแบบเดียวกัน
 . ใช้ในการแยก package กับ class หรือ object กับ
method
12
• หลักเกณฑ์การตั้งชื่อต่าง ๆ เช่น ชื่อ class, ชื่อ data, ชื่อ method และชื่อตัวแปร
 ประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข และสัญลักษณ์ _ หรือ $ เช่น age,
int2float, _name$ เป็นต้น
 ความยาวไม่ควรเกิน 65535 ตัวอักษร
 ไม่ควรใช้ตัวเลขเป็นตัวแรก เช่น 101database, 2name
 ไม่ควรใช้ช่องว่าง (spaces) หรือ . (periods)
 ตัวอักษรตัวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่งือว่าต่างกัน เช่น Count, count และ CoUnT
งือว่าเป็นคนละชื่อ
 ต้องไม่ตรงกับคาศัพท์สงวน (Key Word) ในภาษาจาวา
 ชื่อ class ควรขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ ส่วนที่เหลือเป็นตัวเล็ก
 ชื่อ data หรือตัวแปรควรเป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด
 ชื่อค่าคงที่ควรเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด
 ชื่อ method คาแรกควรเป็นตัวเล็กทั้งหมด คางัดไปตัวแรกควรเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ที่เหลือจึง
เป็นตัวเล็ก เช่น setCount, testFirst เป็นต้น
13
คาศัพท์สงวน (Key Word) ในภาษาจาวา
abstract boolean break byte case
catch char class const continue
default do double else extends
final finally float for goto
if implements import instanceof int
interface long native new package
private protected public return short
static super switch synchronized this
throw throws transient try void
volatile while
14
• การเขียนหมายเหตุ (Comment) สามารงทาได้ 3 รูปแบบ คือ
//single line comment
/* multiple line comments
…*/
/** This is a javadoc comment*/
• โปรแกรมที่สร้างจากจาวาต้องสามารงสร้างได้อย่างน้อยหนึ่งคลาสโดยมีรูปแบบโครงสร้างดังนี้
[<access_specifier>] class <class_name>
{ //data members
//methods }
 access_specifier :- ระดับการเข้างึงข้อมูล เช่น public และ private
 public หมายงึง ระดับการเข้างึงข้อมูลที่ไม่มีข้อจากัดใดๆ
 private หมายงึง ระดับการเข้างึงข้อมูลสาหรับการใช้งานในคลาส
 ในหนึ่งโปรแกรมต้องมีเพียงหนึ่งคลาสที่มีชื่อเดียวกับโปรแกรมและต้องเป็นชนิด public เสมอ
15
• data members เป็นส่วนประกอบหนึ่งของคลาส ใช้สาหรับกาหนดชื่อและ
ชนิดของตัวแปรที่ใช้สาหรับเก็บข้อมูล โดยมีรูปแบบดังนี้
[<access_specifier>] [<modifier>] <datatype> <variable_name>
modifier เป็นการกาหนดคุณลักษณะพิเศษในการใช้งาน
ตัวแปรและ method เช่น static และ final
static หาก Data ใดนาหน้าด้วยคาศัพท์สงวน static แล้ว Data นั้น
จะงูกโหลดลงในหน่วยความจาและพร้อมใช้งานทันที เมื่อมีการอ้างงึงตาม
ข้อกาหนดของระดับการเข้างึง (Accessibility)
final หาก Data ใดนาหน้าด้วยคาศัพท์สงวน final แล้ว
Data นั้นใช้สาหรับเก็บข้อมูลค่าคงที่ (Constant) ซึ่งไม่สามารงเปลี่ยนค่า
ได้
16
• methods มีรูปแบบดังนี้
[<access_specifier>] [<modifier>] < return_type >
<method_name> ([argument_list])
{ //Statements }
return_type :- ชนิดของข้อมูลที่งูกส่งคืนหลังสิ้นสุดการทางานของ method
argument_list :- ช่องทางในการผ่านข้อมูลเพื่อส่งให้ method ใช้ในการ
ทางาน
Statement :- คาสั่งควบคุมการทางานของนิพจน์ เพื่อกาหนดหลักการและวิธีการ
ประมวลผลภายใน method
ในหนึ่งโปรแกรมจะต้องมี Method ที่ชื่อ main เสมอ โดย Method main
จะเป็น Method แรกที่โปรแกรมเรียกใช้ ซึ่งในหนึ่งโปรแกรมจะต้องมีเพียง 1 main
Method เท่านั้น ซึ่งจะต้องมีค่า Accessibility เป็น static เสมอ และ
เนื่องจากไม่มีการส่งค่ากลับ จึงใช้ Accessibility void ร่วมด้วยเสมอ
17
• ท้ายชื่อของ Method ต้องตามด้วยเครื่องหมาย ( ) หากไม่มีการส่ง
ค่าพารามิเตอร์ใดไปด้วย หากมีการส่งค่า จะต้องอยู่ในรูปแบบใดแบบหนึ่งเสมอ เช่น
(String args[ ]) หรือ (String[ ] args)
• การแสดงผลทางจอภาพสามารงทาด้วย method ที่ ชื่อว่า println
ซึ่งอยู่ใน System.out โดยคาสั่งนี้ต้องการข้อมูลที่เป็น String เพื่อนาไป
แสดงบนจอภาพ แต่ทั้งนี้อาจส่งข้อมูลที่เป็น Integer ร่วมด้วยได้โดยใช้
เครื่องหมาย + ข้อมูลทั้งหมดจะงูกแปลงเป็น String โดยอัตโนมัติ
18
ตัวอย่างการเขียน Java Applet
import java.applet.*;
import java.awt.Graphics;
public class hello2 extends Applet
{
public void paint(Graphics g)
{
g.drawString("Hello World!",20,60);
}
}
<HTML>
<HEAD>
<TITLE>Heading</TITLE>
</HEAD>
<BODY>
<applet code="hello2.class" width=200 height=100></applet>
</BODY>
</HTML>
19
การเรียกใช้ java applet
20
• โปรแกรมที่เขียนแบบ Applet ต้องมีการเพิ่มคลาสต่าง ๆ โดยเฉพาะ java.applet.* และ
java.awt.Graphics
• Package หรือ Java Class Library เป็นที่เก็บรวบรวม Class ต่าง ๆ แต่ละ
Package จะงูกเก็บแยกไว้ในแต่ละ Directory และแต่ละ Package จะเก็บ Class
ต่าง ๆ แยกไว้ในแต่ละ Directory เช่นเดียวกัน ในแต่ละ Class จะมี methods ให้
เลือกนามาใช้ให้เหมาะกับงานที่ต้องการโดยไม่ต้องเขียนขึ้นมาเอง
• Class ใน Package หนึ่งสามารงเรียกใช้ Class อื่นใน Package เดียวกันได้ แต่จะ
เรียกใช้ Class ที่อยู่ต่าง Package กันได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับการกาหนดค่า Accessible
ข้อกาหนดเพิ่มเติมในการเขียน Java Applet
21
• การเรียกใช้ Package สามารงทาได้ด้วยคาสั่ง import ซึ่งต้องวางไว้ตอนแรกสุดของ
โปรแกรมเสมอ เพื่อให้ Compiler นา Package ต่าง ๆ ที่อ้างงึงมาเชื่อมโยงเข้ากับ
โปรแกรม ก่อนที่จะมาเรียกใช้ methods ต่าง ๆ ภายในโปรแกรม
• โปรแกรม Applet ต้องเขียนในรูป
public class hello2 extends Applet
ซึ่งเป็นการสืบทอดคุณสมบัติของคลาส Applet
• การแสดงข้อมูลบนจอภาพ ต้องใช้คาสั่ง drawString ซึ่งเป็น method ของคลาส
Graphics
22
ตัวอย่าง Standard Package ในภาษา Java
Package Class ที่เป็ นส่วนประกอบ
java.applet Class ที่จำเป็นต่อกำรสร ้ำง Applet
java.awt Class ทีใช ้ประโยชน์ในกำรสร ้ำง GUI
java.io Class สำหรับปฏิบัติงำนด ้ำน I/O
java.lang Class พื้นฐำนของ Java ไม่ต ้อง import
java.net Class ที่ใช ้ติดต่อกับเครือข่ำย ใช ้ควบคู่กับ java.io
java.util Class ที่เป็น Utility เช่น กำรเข ้ำรหัส กำรถอดรหัส
java.awt.images Class ที่ใช ้ในกำรสร ้ำงและทำงำนกับรูปภำพ
java.swing Class ที่ใช ้สร ้ำง Swing ช่วยให ้ทำงำนง่ำยกว่ำ java.awt

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นApinyaphorn
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1Ja Phenpitcha
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมพื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมabhichatdotcom
 
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++Ooy's Patchaya
 

Was ist angesagt? (17)

1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
Python programmingggg
Python programminggggPython programmingggg
Python programmingggg
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 
Python Course #1
Python Course #1Python Course #1
Python Course #1
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้น
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
 
Php beginner
Php beginnerPhp beginner
Php beginner
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมพื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
 
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
Learn 2
Learn 2Learn 2
Learn 2
 
12
1212
12
 

Ähnlich wie Lab Computer Programming 1

Ähnlich wie Lab Computer Programming 1 (20)

Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C Programming
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
66
6666
66
 
Java intro
Java introJava intro
Java intro
 
c# part1.pptx
c# part1.pptxc# part1.pptx
c# part1.pptx
 
02 basic
02 basic02 basic
02 basic
 
Ppt Moodle
Ppt MoodlePpt Moodle
Ppt Moodle
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
 
Ass1 1
Ass1 1Ass1 1
Ass1 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Computer Programming 1
Computer Programming 1Computer Programming 1
Computer Programming 1
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้น
 
Java-Chapter 01 Introduction to Java Programming
Java-Chapter 01 Introduction to Java ProgrammingJava-Chapter 01 Introduction to Java Programming
Java-Chapter 01 Introduction to Java Programming
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 

Mehr von Saranyu Srisrontong

Mehr von Saranyu Srisrontong (12)

Computer Programming 4
Computer Programming 4Computer Programming 4
Computer Programming 4
 
Computer Programming 3
Computer Programming 3 Computer Programming 3
Computer Programming 3
 
Computer Programming 2.2
Computer Programming 2.2Computer Programming 2.2
Computer Programming 2.2
 
Computer Programming 2.1
Computer Programming 2.1Computer Programming 2.1
Computer Programming 2.1
 
Ac current46
Ac current46Ac current46
Ac current46
 
electric potential
electric potentialelectric potential
electric potential
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
Physics2 1
 
Intellec.pro for final exam
Intellec.pro for final examIntellec.pro for final exam
Intellec.pro for final exam
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
 
Network fundamental
Network fundamentalNetwork fundamental
Network fundamental
 
Computer systemarchitecture
Computer systemarchitectureComputer systemarchitecture
Computer systemarchitecture
 

Lab Computer Programming 1

  • 2. 2 รายละเอียดของไดเรกทอรี bin เป็นไดเรกทอรีที่เก็บโปรแกรมที่ใช้คอมไพล์ หรือโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการ คอมไพล์และการทดสอบโปรแกรมภาษา Java demo เป็นตัวอย่างโปรแกรมภาษา Java และ Source Code include เก็บไฟล์ header ในภาษา C ใช้ในกรณีผู้เขียนโปรแกรมต้องการเพิ่ม การใช้งาน header ภาษา C ในโปรแกรมภาษา Java jre เก็บคอมโพเนนต์ที่ใช้สาหรับการรันโปรแกรม Java ซึ่งรวมงึง Java Virtual Machine คลาส และ package Libraries ต่าง ๆ ที่จาเป็นในการทางาน ของคอมไพเลอร์ Lib เก็บคลาสและ package เพิ่มเติมอื่น ๆ ของ Java
  • 3. 3 ตัวอย่างโปรแกรม public class Hello { public static void main(String[] args) { System.out.println("Hello World!"); } }
  • 6. 6 Java Servlet API :- ชุดที่รวบรวมกลุ่มคลาสที่สนับสนุน การทางานที่ เกิดขึ้นบนเซิร์ฟเวอร์เป็นส่วนใหญ่ โดยให้เซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์สื่อสารกันด้วยโปรโตคอล HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) Windows, Unix, Linux Browser Java Servlet เว็บเซิร์ฟเวอร์ คำร้องขอ ข้อมูลใน รูปแบบ HTML
  • 7. 7 Java Server Page : JSP • เป็นรูปแบบการทางานในฝั่งเซิร์ฟเวอร์เหมือนกับจาวา เซิร์ฟเล็ต แต่ผู้สร้าง สามารงเขียนคาสั่งเจเอสพีลงในไฟล์เว็บได้โดยตรง ผิดกับจาวาเซิร์ฟเล็ต ซึ่งผู้สร้างต้อง เขียนคาสั่งจาวาในแบบเซิร์ฟเล็ต แล้วคอมไพล์เป็นเซิร์ฟเล็ตไว้ใช้งาน <HTML> <HEAD> <TITLE> Heading </TITLE> </HEAD> <BODY> <% out.println("Hello Java Server Page");%> </BODY> </HTML>
  • 8. 8 Java 3D API :- รูปแบบ API หนึ่งที่งูกใช้งานสาหรับการใช้งานเกี่ยวข้องระบบสามมิติ โดย สามารงช่วยให้โปรแกรมเมอร์สร้างภาพหรือสภาวะแวดล้อมแบบสามมิติได้ด้วย ภาษาจาวา Java RMI API :- ชุดสาหรับให้โปรแกรมเมอร์นามาใช้งาน เพื่อวัตงุประสงค์ในการสร้างโปรแกรมที่มี การติดต่อสื่อสารกัน
  • 9. 9 JavaBeans :- ส่วนประกอบซอฟต์แวร์หรือชิ้นส่วนคอมโพเนนต์ เป็นรูปแบบของความสามารงใน การนามาใช้ใหม่ (Reuseable) โดยวิธีใช้งาน คือ การนาเอาคอมโพเนนต์ ดังกล่าวมาประกอบกันขึ้นเป็นซอฟต์แวร์ (สาหรับจาวาความหมายรวมงึง แอพพลิเคชั่นและแอปเพล็ต) ทาให้ซอฟต์แวร์สามารงสร้างขึ้นได้ง่ายและรวดเร็ว กว่าเดิมมาก Java Swing :- ชุด API เพื่อสนับสนุนการกาหนดอินเตอร์เฟส ซึ่งประกอบด้วยคอมโพเนนต์ต่าง ๆ มากมายให้เลือกใช้ เช่น JTextBox, JButton, JPanel, JRadio เป็นต้น
  • 10. 10 JDBC Data Access :- ชุด API ที่โปรแกรมเมอร์ภาษาจาวาสามารงสร้างแอพพลิเคชั่นหรือแอปเพล็ตเพื่อ ติดต่อกับฐานข้อมูลด้วย JDBC Driver เพื่อเข้าไปงึงระบบฐานข้อมูลเชิง สัมพันธ์จากผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย เช่น Oracle, SQL Server, Informix, DB2, mySQL โดยใช้คาสั่ง SQL ซึ่งเป็นคาสั่งที่ทุกระบบ ฐานข้อมูลสนับสนุน
  • 11. 11 ข้อกาหนดเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม • แต่ละประโยคต้องจบด้วยเครื่องหมาย ; เสมอ • สัญลักษณ์อื่นที่ใช้แยกข้อความหรือคาสั่งอีก เช่น  ( ) ใช้สาหรับแยกลาดับในการประมวลผล  { } ใช้สาหรับแยกชุดคาสั่ง หรือรวมชุดคาสั่งเป็นบล็อก  , ให้ความต่อเนื่องในการทางาน เช่น การกาหนด ตัวแปรที่มีประเภท ข้อมูลแบบเดียวกัน  . ใช้ในการแยก package กับ class หรือ object กับ method
  • 12. 12 • หลักเกณฑ์การตั้งชื่อต่าง ๆ เช่น ชื่อ class, ชื่อ data, ชื่อ method และชื่อตัวแปร  ประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข และสัญลักษณ์ _ หรือ $ เช่น age, int2float, _name$ เป็นต้น  ความยาวไม่ควรเกิน 65535 ตัวอักษร  ไม่ควรใช้ตัวเลขเป็นตัวแรก เช่น 101database, 2name  ไม่ควรใช้ช่องว่าง (spaces) หรือ . (periods)  ตัวอักษรตัวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่งือว่าต่างกัน เช่น Count, count และ CoUnT งือว่าเป็นคนละชื่อ  ต้องไม่ตรงกับคาศัพท์สงวน (Key Word) ในภาษาจาวา  ชื่อ class ควรขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ ส่วนที่เหลือเป็นตัวเล็ก  ชื่อ data หรือตัวแปรควรเป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด  ชื่อค่าคงที่ควรเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด  ชื่อ method คาแรกควรเป็นตัวเล็กทั้งหมด คางัดไปตัวแรกควรเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ที่เหลือจึง เป็นตัวเล็ก เช่น setCount, testFirst เป็นต้น
  • 13. 13 คาศัพท์สงวน (Key Word) ในภาษาจาวา abstract boolean break byte case catch char class const continue default do double else extends final finally float for goto if implements import instanceof int interface long native new package private protected public return short static super switch synchronized this throw throws transient try void volatile while
  • 14. 14 • การเขียนหมายเหตุ (Comment) สามารงทาได้ 3 รูปแบบ คือ //single line comment /* multiple line comments …*/ /** This is a javadoc comment*/ • โปรแกรมที่สร้างจากจาวาต้องสามารงสร้างได้อย่างน้อยหนึ่งคลาสโดยมีรูปแบบโครงสร้างดังนี้ [<access_specifier>] class <class_name> { //data members //methods }  access_specifier :- ระดับการเข้างึงข้อมูล เช่น public และ private  public หมายงึง ระดับการเข้างึงข้อมูลที่ไม่มีข้อจากัดใดๆ  private หมายงึง ระดับการเข้างึงข้อมูลสาหรับการใช้งานในคลาส  ในหนึ่งโปรแกรมต้องมีเพียงหนึ่งคลาสที่มีชื่อเดียวกับโปรแกรมและต้องเป็นชนิด public เสมอ
  • 15. 15 • data members เป็นส่วนประกอบหนึ่งของคลาส ใช้สาหรับกาหนดชื่อและ ชนิดของตัวแปรที่ใช้สาหรับเก็บข้อมูล โดยมีรูปแบบดังนี้ [<access_specifier>] [<modifier>] <datatype> <variable_name> modifier เป็นการกาหนดคุณลักษณะพิเศษในการใช้งาน ตัวแปรและ method เช่น static และ final static หาก Data ใดนาหน้าด้วยคาศัพท์สงวน static แล้ว Data นั้น จะงูกโหลดลงในหน่วยความจาและพร้อมใช้งานทันที เมื่อมีการอ้างงึงตาม ข้อกาหนดของระดับการเข้างึง (Accessibility) final หาก Data ใดนาหน้าด้วยคาศัพท์สงวน final แล้ว Data นั้นใช้สาหรับเก็บข้อมูลค่าคงที่ (Constant) ซึ่งไม่สามารงเปลี่ยนค่า ได้
  • 16. 16 • methods มีรูปแบบดังนี้ [<access_specifier>] [<modifier>] < return_type > <method_name> ([argument_list]) { //Statements } return_type :- ชนิดของข้อมูลที่งูกส่งคืนหลังสิ้นสุดการทางานของ method argument_list :- ช่องทางในการผ่านข้อมูลเพื่อส่งให้ method ใช้ในการ ทางาน Statement :- คาสั่งควบคุมการทางานของนิพจน์ เพื่อกาหนดหลักการและวิธีการ ประมวลผลภายใน method ในหนึ่งโปรแกรมจะต้องมี Method ที่ชื่อ main เสมอ โดย Method main จะเป็น Method แรกที่โปรแกรมเรียกใช้ ซึ่งในหนึ่งโปรแกรมจะต้องมีเพียง 1 main Method เท่านั้น ซึ่งจะต้องมีค่า Accessibility เป็น static เสมอ และ เนื่องจากไม่มีการส่งค่ากลับ จึงใช้ Accessibility void ร่วมด้วยเสมอ
  • 17. 17 • ท้ายชื่อของ Method ต้องตามด้วยเครื่องหมาย ( ) หากไม่มีการส่ง ค่าพารามิเตอร์ใดไปด้วย หากมีการส่งค่า จะต้องอยู่ในรูปแบบใดแบบหนึ่งเสมอ เช่น (String args[ ]) หรือ (String[ ] args) • การแสดงผลทางจอภาพสามารงทาด้วย method ที่ ชื่อว่า println ซึ่งอยู่ใน System.out โดยคาสั่งนี้ต้องการข้อมูลที่เป็น String เพื่อนาไป แสดงบนจอภาพ แต่ทั้งนี้อาจส่งข้อมูลที่เป็น Integer ร่วมด้วยได้โดยใช้ เครื่องหมาย + ข้อมูลทั้งหมดจะงูกแปลงเป็น String โดยอัตโนมัติ
  • 18. 18 ตัวอย่างการเขียน Java Applet import java.applet.*; import java.awt.Graphics; public class hello2 extends Applet { public void paint(Graphics g) { g.drawString("Hello World!",20,60); } } <HTML> <HEAD> <TITLE>Heading</TITLE> </HEAD> <BODY> <applet code="hello2.class" width=200 height=100></applet> </BODY> </HTML>
  • 20. 20 • โปรแกรมที่เขียนแบบ Applet ต้องมีการเพิ่มคลาสต่าง ๆ โดยเฉพาะ java.applet.* และ java.awt.Graphics • Package หรือ Java Class Library เป็นที่เก็บรวบรวม Class ต่าง ๆ แต่ละ Package จะงูกเก็บแยกไว้ในแต่ละ Directory และแต่ละ Package จะเก็บ Class ต่าง ๆ แยกไว้ในแต่ละ Directory เช่นเดียวกัน ในแต่ละ Class จะมี methods ให้ เลือกนามาใช้ให้เหมาะกับงานที่ต้องการโดยไม่ต้องเขียนขึ้นมาเอง • Class ใน Package หนึ่งสามารงเรียกใช้ Class อื่นใน Package เดียวกันได้ แต่จะ เรียกใช้ Class ที่อยู่ต่าง Package กันได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับการกาหนดค่า Accessible ข้อกาหนดเพิ่มเติมในการเขียน Java Applet
  • 21. 21 • การเรียกใช้ Package สามารงทาได้ด้วยคาสั่ง import ซึ่งต้องวางไว้ตอนแรกสุดของ โปรแกรมเสมอ เพื่อให้ Compiler นา Package ต่าง ๆ ที่อ้างงึงมาเชื่อมโยงเข้ากับ โปรแกรม ก่อนที่จะมาเรียกใช้ methods ต่าง ๆ ภายในโปรแกรม • โปรแกรม Applet ต้องเขียนในรูป public class hello2 extends Applet ซึ่งเป็นการสืบทอดคุณสมบัติของคลาส Applet • การแสดงข้อมูลบนจอภาพ ต้องใช้คาสั่ง drawString ซึ่งเป็น method ของคลาส Graphics
  • 22. 22 ตัวอย่าง Standard Package ในภาษา Java Package Class ที่เป็ นส่วนประกอบ java.applet Class ที่จำเป็นต่อกำรสร ้ำง Applet java.awt Class ทีใช ้ประโยชน์ในกำรสร ้ำง GUI java.io Class สำหรับปฏิบัติงำนด ้ำน I/O java.lang Class พื้นฐำนของ Java ไม่ต ้อง import java.net Class ที่ใช ้ติดต่อกับเครือข่ำย ใช ้ควบคู่กับ java.io java.util Class ที่เป็น Utility เช่น กำรเข ้ำรหัส กำรถอดรหัส java.awt.images Class ที่ใช ้ในกำรสร ้ำงและทำงำนกับรูปภำพ java.swing Class ที่ใช ้สร ้ำง Swing ช่วยให ้ทำงำนง่ำยกว่ำ java.awt