SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
587
แนวการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้
เพื่อสร้างคุณลักษณะ
ดี เก่ง มีสุข
๔หน่วยการเรียนรู้ที่
สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง วงจรไฟฟ้า
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้น ป.๔ - ๖
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
588
การวิเคราะห์แผนผังจากสาระการเรียนรู้
เรื่อง สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และเทคโนโลยี (วงจรไฟฟ้า)
ประหยัด ส่วนประกอบ
ของจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
การต่อวงจรไฟฟ้า
อย่างง่าย
การเกิด
แม่เหล็กไฟฟ้า
ประโยชน์
แบบอนุกรม
แบบขนาน
ตัวนำ�และฉนวน
ประหยัดอย่างปลอดภัย
การต่อหลอดไฟฟ้า
ปลอดภัย
การใช้ไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
การใช้ไฟฟ้า
สิ่งแวดล้อมและ
เทคโนโลยีดีด้วย
พระบารมีฯ
(วงจรไฟฟ้า)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
589
การวิเคราะห์แผนผังจากสาระการเรียนรู้
เรื่อง การใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัยและประหยัด
คำ�ขวัญสิ่งประดิษฐ์
อันตราย
ของไฟฟ้า
การใช้ไฟฟ้า
อย่างปลอดภัย
การนำ�ไป
ปฏิบัติในชีวิต
แนวทาง
ประหยัดไฟฟ้า
ประโยชน์
ของไฟฟ้า
การประหยัดไฟฟ้า
การอนุรักษ์ไฟฟ้า
วิธีการใช้ไฟฟ้า
อย่างปลอดภัย
สิ่งแวดล้อมและ
เทคโนโลยีดีด้วย
พระบารมีฯ
(ปลอดภัยต่อชีวิต
คิดอนุรักษ์)
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
590
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕.๑	 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำ�รงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงานปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป. ๖/๑	 ทดลองและอธิบายการต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
ป. ๖/๒	 ทดลองและอธิบายตัวนำ�ไฟฟ้า และฉนวนไฟฟ้า
ป. ๖/๓	 ทดลองและอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ป. ๖/๔	 ทดลองและอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าทั้งแบบอนุกรม และแบบขนาน และนำ�ความรู้ไปใช้
ป. ๖/๕	 ทดลองและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กระบบสายไฟที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านและนำ�ความรู้ไปใช้
ประโยชน์
๒.	กำ�หนดสาระสำ�คัญของการเรียนรู้
	 ๑.	 วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยเซลล์ไฟฟ้าสายไฟหลอดไฟหรืออุปกรณ์อื่นๆโดยใช้สวิตช์ปิดเปิดวงจร
	 ๒.	 วงจรปิดเป็นวงจรที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้ครบรอบ ส่วนวงจรเปิดเป็นวงจรที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน
	 ๓.	 การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม กระแสไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกส่วนของวงจรเท่ากัน
	 ๔.	 การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน กระแสไฟฟ้าจะแยกผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละตัว
	 ๕.	 ตัวนำ�ไฟฟ้ายอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ ส่วนฉนวนไฟฟ้าไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้โดยง่าย
	 ๖.	 กระแสไฟฟ้าในวงจรทำ�ให้เกิดสภาพแม่เหล็กและนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้
๓.	คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา
	 ๑.	 ให้ผู้เรียนเป็นคนดี โดยสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะด้านคุณธรรม ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบ ความ
ซื่อสัตย์
	 ๒.	 ให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง โดยให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ
	 	 –	 การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
	 	 –	 การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง วงจรไฟฟ้า ระยะเวลาในการสอน ๗ ชั่วโมงป.๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
591
	 	 –	 การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
	 	 –	 ตัวนำ�ไฟฟ้า และฉนวนไฟฟ้า
	 	 –	 แม่เหล็กไฟฟ้า
	 	 –	 การใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัยและประหยัด
	 ๓.	 ให้ผู้เรียนมีความสุข โดย
	 	 –	 เห็นคุณค่า และมีเจตนคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
	 	 –	 ภูมิใจในผลงานของตนเอง และชื่นชมผลงานของผู้อื่น
	 	 –	 มีความสนุกในการเรียนรู้ การทดลอง
๔.	การวางแผนการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ
คณิตศาสตร์
การคำ�นวณ
ค่ากระแสไฟฟ้า
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี(กอท.)
ประดิษฐ์ของเล่นจากไฟฟ้า
ภาษาไทย
–	 เขียนคำ�ขวัญ
–	 วาดภาพ
ภาษาอังกฤษ
คำ�ศัพท์เกี่ยวกับไฟฟ้า
สิ่งแวดล้อมและ
เทคโนโลยีดีด้วย
พระบารมีฯ
(วงจรไฟฟ้า)
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
592
๕.	การวางแผนการจัดการเรียนรู้
๘
๗
๖
๕ ๔
๓
๒
๑ครูให้นักเรียน
นำ�ไฟฉายมาถอดดูเพื่อให้
นักเรียนดูส่วนประกอบภายใน
ไฟฉายว่ามีอะไรบ้าง
ครูอธิบายเกี่ยวกับ
ส่วนประกอบของ
วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
–ให้นักเรียนเขียนสัญลักษณ์
ที่ใช้แทนอุปกรณ์ไฟฟ้า
นักเรียนปฏิบัติการ
ทดลอง
–	 การต่อวงจรไฟฟ้า
–	 ตัวนำ�และฉนวนไฟฟ้า
–	 การใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
	 และประหยัด
นักเรียนสรุปผล
ชการทดลอง
–	 นักเรียนทำ�ใบกิจกรรม
	 ตามที่ครูมอบหมาย
นักเรียนสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
โดยการประดิษฐ์ของเล่น
จากไฟฟ้า
	
นักเรียนเสนอผลงานของตนเอง
–	 ครูและนักเรียนร่วมกันแสดง
	 ความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ
ครูและนักเรียนประเมิน
ชิ้นงานนำ�ผลงานมาจัด
แสดงนิทรรศการ
แลกเปลี่ยนความรู้
	 ซึ่งกันและกัน
ให้นักเรียนศึกษาใบงานการต่อวงจร
แบบอนุกรมแบบขนาน
     –ตัวนำ� และฉนวนไฟฟ้า
                 –แม่เหล็กไฟฟ้า
                    –การใช้ไฟฟ้าอย่าง
                              ปลอดภัยและ
                                      ประหยัด
๖.	รายละเอียดของกิจกรรม
	 ๑.	 ครูให้นักเรียนนำ�ไฟฉายมาถอดดูเพื่อให้นักเรียนดูส่วนภายในไฟฉายมีอุปกรณ์ไฟฟ้าอะไรบ้าง
	 ๒.	 ครูสนทนาอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างง่าย และให้นักเรียนต่อวงจรไฟฟ้าให้ใบพัดติด
	 ๓.	 ให้นักเรียนเขียนสัญลักษณ์แทนอุปกรณ์ไฟฟ้า
	 ๔.	 ให้นักเรียนศึกษาใบงานการต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม แบบขนาน ตัวนำ�และฉนวนไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้า
การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย
	 ๕.	 นักเรียนปฏิบัติการทดลอง การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม แบบขนาน ตัวนำ�ไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า การใช้
ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย
สิ่งแวดล้อมและ
เทคโนโลยีดีด้วย
พระบารมีฯ
(วงจรไฟฟ้า)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
593
	 ๖.	 นักเรียนสร้างชิ้นงานตามความสนใจโดยการประดิษฐ์ของเล่นจากไฟฟ้า
	 ๗.	 นักเรียนเสนอผลงานของตนเอง ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ
	 ๘.	 ครูและนักเรียนประเมินชิ้นงาน นำ�ผลงานมาจัดนิทรรศการ แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน
๗.	สื่อการเรียนการสอน
	 ๑.	ถ่านไฟฉายพร้อมกระบะ size D	 ๒.	มอเตอร์
	 ๓.	ใบพัด	 ๔.	หลอดไฟ ๒.๕ V
	 ๕.	ฐานหลอดไฟ	 ๖.	ออดไฟฟ้า
	 ๗.	สายไฟฟ้า	 ๘.	สวิตช์
	 ๙.	ลวดทองแดงเบอร์ ๒๐
๘.	การประเมินตามสภาพจริง
กิจกรรม / พฤติกรรม / ผลงานที่ต้องประเมิน วิธีการ เครื่องมือ
๑.	 สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม การเข้ากลุ่มปฏิบัติกิจกรรม สังเกต แบบสังเกต
๒.	ตรวจผลงานเป็นกลุ่ม รายบุคคล ความถูกต้อง
	 ความสมบูรณ์ ความสะอาด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตรวจผลงาน การสัมภาษณ์
๓.	การนำ�เสนอผลงาน การรายงาน สังเกต
ผู้ประเมิน
–	 นักเรียนและเพื่อนนักเรียน
–	 ครู
–	 ผู้ปกครอง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
๙.	สรุปผลการเรียนการสอน
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
594
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๑
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ให้นักเรียนเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายโดยใช้สัญลักษณ์
ให้นักเรียนตอบคำ�ถามต่อไปนี้
	 	 จงบอกสัญลักษณ์ต่อไปนี้ใช้แทนอุปกรณ์ไฟฟ้าใด
	 	 	 แทน	 ....................................................................................................................
	 	 	 แทน	 ....................................................................................................................
	 	 	 แทน	 ....................................................................................................................
	 	 	 แทน	 ....................................................................................................................
	 	 วงจรไฟฟ้าเปิด หมายถึง..................................................................................................................................................................................................................
	 	 วงจรไฟฟ้าปิด หมายถึง...................................................................................................................................................................................................................
	 	 นักเรียนต่อวงจรแบบใดที่จะทำ�ให้มอเตอร์หยุดหรือออดเสียงดัง
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
595
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบอนุกรม
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๒
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ต่อวงจรไฟฟ้าตามแผนภาพวงจรไฟฟ้ารูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ เปิดสวิตช์ให้กระแสไฟฟ้าผ่านแล้วสังเกต
แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้า
	 ๑.	 แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าต่อตามรูปใด สว่างมากกว่ากัน
	 	 ..........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 หลอดไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ารูปใด มีกระแสไฟฟ้าผ่านมากกว่ากัน
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ทราบได้อย่างไร.....................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 ถ้าต้องการให้หลอดไฟฟ้าสว่างมากขึ้นกว่าที่ทดลองได้ จะมีวิธีทำ�ได้อย่างไรบ้าง
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
	 รูปที่ ๑	 รูปที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
596
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๓
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ต่อวงจรไฟฟ้าตามแผนภาพวงจรไฟฟ้ารูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ สังเกตแสงสว่างจากหลอดไฟฟ้า
	 ๑.	 แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าต่อตามรูปใด สว่างมากกว่ากัน	
	 	 ..........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 กระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟฟ้าซึ่งต่อตามวงจรไฟฟ้าในรูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ แตกต่างกันหรือไม่	
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 ทราบได้อย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
	 รูปที่ ๑	 รูปที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
597
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๔
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ต่อหลอดไฟฟ้าชนิดเดียวกันตามแผนภาพวงจรไฟฟ้ารูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ สังเกตแสงสว่างจากหลอดไฟฟ้า
	 ๑.	 แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงเมื่อต่อตามแผนภาพวงจรไฟฟ้ารูปที่๑และรูปที่๒แตกต่างกันหรือไม่อย่างไร
	 	 ..........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 กระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟฟ้าเมื่อต่อตามแผนภาพวงจรไฟฟ้าในรูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ แตกต่างกันหรือไม่
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ทราบได้อย่างไร.....................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 กระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงที่ต่อกันในวงจรไฟฟ้ารูปที่ ๒ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ทราบได้อย่างไร.....................................................................................................................................................................................................................................
	 ๔.	 จากรูปที่๒กดสวิตช์ต่อวงจรไฟฟ้าให้หลอดไฟฟ้าสว่างทั้งหมดเมื่อถอดหลอดไฟฟ้าออก๑ดวงผลจะเป็นอย่างไร
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
	 รูปที่ ๑	 รูปที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
598
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๕
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ต่อหลอดไฟฟ้าชนิดเดียวกันตามวงจรไฟฟ้ารูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ สังเกตแสงสว่างจากหลอดไฟฟ้า
	 ๑.	 แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงเมื่อต่อตามแผนภาพวงจรไฟฟ้ารูปที่๑และรูปที่๒แตกต่างกันหรือไม่อย่างไร
	 	 ..........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 กระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงเมื่อต่อวงจรไฟฟ้าในรูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ ต่างกันหรือไม่ อย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ทราบได้อย่างไร.....................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 จากรูปที่ ๒ กดสวิตช์ให้หลอดไฟฟ้าสว่างทั้งหมด เมื่อถอดหลอดไฟฟ้าออก ๑ ดวง ผลจะเป็นอย่างไร	
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๔.	 แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าเมื่อต่อแบบอนุกรม และเมื่อต่อแบบขนาน แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๕.	 ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟฟ้าซึ่งต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนานแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร	
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
	 รูปที่ ๑	 รูปที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
599
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๖
ใบกิจกรรม
	 เมื่อยังไม่นำ�สายไฟฟ้าพาดกับเข็มทิศ	 เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านสายไฟฟ้าที่วางทับเข็มทิศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
	 ๑.	 ต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย นำ�สายไฟฟ้าวางทับเข็มทิศ กดสวิตช์ให้ครบวงจร สังเกตการเปลี่ยนแปลง วาดรูปแสดง
ตำ�แหน่งเข็มทิศ
	 	 ๑.๑	 เข็มทิศมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร..............................................................................................................................................................
	 	 ๑.๒	สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร...................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 นำ�ลวดทองแดงที่เคลือบด้วยฉนวนพันอย่างเป็นระเบียบรอบตะปูแล้วต่อกับถ่านไฟฉาย๑,๒,๓ก้อนให้ครบวงจร
นำ�ปลายตะปูเข้าใกล้ลวดเสียบกระดาษ สังเกตและบันทึกผล
จำ�นวนถ่านไฟฉาย (ก้อน) จำ�นวนลวดเสียบกระดาษที่ดูดได้ (ตัว)
๑ ...............................................................................................................
๒ ...............................................................................................................
๓ ...............................................................................................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
600
	 ๓.	 เมื่อต่อลวดทองแดงครบวงจร ตะปูมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๔.	 เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าให้มีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดทองแดงมากขึ้น ผลเป็นอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๕.	 พันลวดทองแดงอย่างเป็นระเบียบรอบตะปู ๕ - ๑๐ รอบ แล้วต่อกับถ่านไฟฉายให้ครบวงจร นำ�เข้าใกล้ลวดเสียบ
กระดาษ สังเกตผล
	 ๖.	 พันลวดทองแดงอย่างเป็นระเบียบรอบตะปู๓๐รอบแล้วต่อกับถ่านไฟฉายให้ครบวงจรนำ�เข้าใกล้ลวดเสียบกระดาษ
สังเกตผลเปรียบเทียบกับครั้งแรก
	 ๗.	 จำ�นวนลวดเสียบกระดาษที่ตะปูดูดได้ เมื่อพันลวดทองแดงมากรอบกับน้อยรอบ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
		..........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๘.	 จำ�นวนรอบของขดลวดทองแดงที่พันรอบตะปูมีผลต่อการเป็นแม่เหล็กของตะปูหรือไม่ อย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
		..........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
601
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
เรื่อง อะไรนำ�ไฟฟ้าได้และอะไรไม่นำ�ไฟฟ้า
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๗
ใบกิจกรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
คำ�ชี้แจง	 ต่อวงจรไฟฟ้าดังรูป นำ�วัตถุที่ทำ�ด้วยสารต่างๆ ต่อระหว่าง
	 คลิปปากจระเข้ สังเกตและบันทึกผล
วัตถุ สารที่ใช้ทำ� หลอดไฟฟ้าสว่าง หลอดไฟฟ้าไม่สว่าง
.................................................................. .................................................................. .................................................................. ..................................................................
.................................................................. .................................................................. .................................................................. ..................................................................
.................................................................. .................................................................. .................................................................. ..................................................................
.................................................................. .................................................................. .................................................................. ..................................................................
.................................................................. .................................................................. .................................................................. ..................................................................
	 ๑.	 วัสดุที่ต่อในวงจรไฟฟ้าแล้วหลอดไฟฟ้าสว่าง คือ........................................................................................................................................................
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 วัสดุที่ต่อในวงจรไฟฟ้าแล้วหลอดไฟฟ้าไม่สว่าง คือ..................................................................................................................................................
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๓.	 วัสดุใดนำ�ไฟฟ้า......................................................................................................................................................................................................................................
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ทราบได้อย่างไร.....................................................................................................................................................................................................................................
	 ๔.	 วัสดุใดไม่นำ�ไฟฟ้า................................................................................................................................................................................................................................
	 	 ทราบได้อย่างไร.....................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
602
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๘
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาภาพที่ ๑ - ๘ แล้วบันทึกลงในแบบบันทึกข้างล่างนี้ว่า ไฟฟ้ามีประโยชน์
อย่างไร โดยเขียนเป็นข้อความสั้นๆ ที่เข้าใจง่าย
ภาพที่ ประโยชน์จากไฟฟ้า
๑ ........................................................................................................
๒ ........................................................................................................
๓ ........................................................................................................
๔ ........................................................................................................
๕ ........................................................................................................
๖ ........................................................................................................
๗ ........................................................................................................
๘ ........................................................................................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
w w w w w w w w
	 ๑	 ๒
	 ๓	 ๔
	 ๕	 ๖
	 ๗	 ๘
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
603
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๙
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาภาพที่๑-๖แล้วบันทึกลงในแบบบันทึกข้างล่างนี้ว่าไฟฟ้ามีอันตรายอย่างไร
โดยเขียนเป็นข้อความสั้นๆ ที่เข้าใจง่าย
ภาพที่ อันตรายที่เกิดจากการใช้ไฟฟ้า
๑
........................................................................................................
........................................................................................................
๒
........................................................................................................
........................................................................................................
๓
........................................................................................................
........................................................................................................
๔
........................................................................................................
........................................................................................................
๕
........................................................................................................
........................................................................................................
๖
........................................................................................................
........................................................................................................
w w w w w w w w
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
	 ๑	 ๒
	 ๓	 ๔
	 ๕	 ๖
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
604
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ
ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่.................................
แผ่นที่
๑๐
ใบกิจกรรม
คำ�ชี้แจง	 ให้นักเรียนศึกษาภาพที่ ๑ - ๓ แล้วตอบคำ�ถามข้างล่างนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
	 ๑.	 ภาพใดเป็นภาพที่แสดงถึงการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.	 ภาพใดเป็นภาพที่แสดงถึงการใช้ไฟฟ้าไม่ถูกวิธีและจะเกิดผลอย่างไร
		...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
	 ๑
	 ๒
	 ๓
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
605
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
วงจรไฟฟ้าเป็นเส้นทางที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้ครบรอบ ในวงจรไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านได้ครบวงจรเครื่องใช้
ไฟฟ้าจะทำ�งานได้เรียกว่า วงจรไฟฟ้าปิด แต่ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้าขาดจากกันจะทำ�ให้ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหล
ในวงจร เรียกว่า วงจรไฟฟ้าเปิดสำ�หรับสวิตช์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำ�หรับตัดวงจรไฟฟ้า
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
	 ๑.	 หลอดไฟฟ้าที่ใช้ทดลองมีหลายขนาดใช้กับแรงเคลื่อนไฟฟ้าต่างๆ แต่
ในการทดลองใช้หลอด 2.5 V ควรเลือกให้เหมาะสมกับเซลล์ไฟฟ้าซึ่ง
เซลล์ไฟฟ้า ๑ ก้อน มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 1.5 V ถ้าเลือกไม่เหมาะสมอาจ
ทำ�ให้ไส้หลอดขาดได้
	 ๒.	 การต่อมอเตอร์ ถ้าต่อสลับขั้วมอเตอร์จะหมุนคนละทาง
	 ๓.	 ออดไฟฟ้าต้องต่อให้ถูกขั้วคือขั้วบวก(สีแดง)กับขั้วบวกและขั้วลบ(สี
ดำ�) กับขั้วลบถ้าต่อผิดขั้วจะไม่มีเสียง
	 ๔.	 การต่อเซลล์ไฟฟ้าต้องต่อขั้วไปทางเดียวกันจะทำ�ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ารวม
มากขึ้น ถ้าต่อขั้วคนละด้านจะทำ�ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ารวมลดลงและแรง
เคลื่อนไฟฟ้าจะแปรผันโดยตรงกับกระแสไฟฟ้าโดยสังเกตได้จากความ
สว่างของหลอดไฟหรือจากแอมมิเตอร์
	 ๕.	 เซลล์ไฟฟ้าเมื่อต่อกันตั้งแต่ ๒ ก้อนขึ้นไป เรียกว่า แบตเตอรี่
	 ๖.	 การเปิดหรือปิดสวิตช์อาจทำ�ให้สับสนกับวงจรไฟฟ้าเปิดหรือวงจรไฟฟ้าปิด อาจใช้การกดสวิตช์แทนการ
เปิดสวิตช์
	 ๗.	 แอมมิเตอร์ที่ใช้ทดลองวัดกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด 1,000 mA ในการใช้ควรระมัดระวังเพราะอาจทำ�ให้
เครื่องวัดเสียหายได้
	 ๘.	 เมื่อนำ�สายไฟฟ้าต่อกับเซลล์ไฟฟ้าอิเล็กตรอนอิสระในเส้นลวดตัวนำ�ได้รับพลังงานไฟฟ้าทำ�ให้เคลื่อนที่ไป
อย่างมีทิศทางและต่อเนื่องกันการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระเหล่านี้ทำ�ให้เกิดกระแสไฟฟ้าซึ่งมีทิศทาง
ตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
แอมมิเตอร์
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
606
ข้อเสนอแนะ
	 ๑.	 ไม่ควรนำ�อุปกรณ์ไฟฟ้าที่นักเรียนทดลองไปใช้กับไฟฟ้าในบ้านอย่างเด็ดขาดเพราะจะทำ�ให้เกิดอันตรายถึง
ชีวิตได้
	 ๒.	 ถ้าไม่มีแอมมิเตอร์แบบนี้ อาจใช้แอมมิเตอร์ชนิดอื่นหรือมัลติมิเตอร์ก็ได้
ประเมินผล
–	ประเมินทักษะในการทำ�กิจกรรมและทักษะการสังเกตจากสภาพจริงในการทำ�กิจกรรม
–	ประเมินทักษะในการสรุปและอภิปรายผลจากการอภิปรายและการรายงานผลการทดลอง
–	ประเมินผลการนำ�ความรู้ไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ จากการตอบคำ�ถามของนักเรียน
การบูรณาการ
สามารถบูรณาการเข้ากับเรื่องสารและสมบัติของสารหัวข้อการนำ�ไฟฟ้า
ตัวอย่างผลการทดลอง
ตารางการต่อแบบอนุกรม ตารางการต่อแบบขนาน
วงจรไฟฟ้า ปริมาณกระแสไฟฟ้า (mA) วงจรไฟฟ้า ปริมาณกระแสไฟฟ้า (mA)
แบบที่ ๑ ๓๒๐ แบบทีี่ ๑ ๖๔๐
แบบที่ ๒ ๓๒๐ แบบที่ ๒ ๓๒๐
แบบที่ ๓ ๓๒๐ แบบที่ ๓ ๓๒๐
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมกระแสไฟฟ้าจะผ่านอุปกรณ์ทุกส่วนของวงจร
เท่ากัน สำ�หรับการต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานกระแสไฟฟ้าจะแยกผ่านอุปกรณ์แต่ละตัว
เมื่อเปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟจะเห็นว่าการต่อแบบขนานหลอดไฟจะสว่าง
มากกว่าแสดงว่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบขนานจะมากกว่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบ
อนุกรม
การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม เมื่อหลอดหนึ่งหลอดใดชำ�รุดจะทำ�ให้เป็นวงจรเปิดกระแสไฟฟ้าผ่านไม่ได้ ทำ�ให้
หลอดไฟดวงอื่นดับหมดการต่อหลอดไฟฟ้าที่ใช้ประดับต้นไม้หรือตามวัดจะใช้แบบอนุกรมเนืื่องจากต้องใช้หลอดไฟเล็กๆ
เป็นจำ�นวนมาก ทำ�ให้ความต้านทานรวมมากขึ้น สามารถใช้กับไฟบ้าน 220 V ได้
แต่ถ้าเป็นการต่อหลอดไฟแบบขนาน กระแสไฟฟ้าจะแยกผ่านหลอดไฟแต่ละดวงเมื่อหลอดใดชำ�รุด หลอดอื่น
ก็ยังติดอยู่จึงนำ�การต่อแบบนี้มาใช้ตามบ้านเรือน
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
607
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
ความสว่างของหลอดไฟแบบอนุกรมจะสว่างน้อยกว่าแบบขนานเพราะความต้านทาน(R)รวมจากการต่อแบบ
อนุกรมมากกว่าแบบขนานจาก
	 Rรวมแบบอนุกรม
	 =	 R1
+ R2
+ R3
	 	 	 1	 	 1	 	 1	 Rรวมแบบขนาน
	 =	 –––	+	–––	+	–––	 	 	 R1	 	
R1	 	
R1
	 	 	 1และกระแสไฟฟ้า (1) จะแปรผกผันกับความต้านทานจาก	 1 α	–––	 	 	 R
ดังนั้น กระแสไฟฟ้าจะมีค่าน้อยเมื่อความต้านทานมากและกระแสไฟฟ้าจะมีค่ามากเมื่อความต้านทานน้อย
ข้อเสนอแนะ
	 ๑.	 หลอดไฟขนาดเดียวกันอาจจะสว่างไม่เท่ากัน ทำ�ให้การทดลองผิดพลาดได้ และหลอดไฟที่ใช้ทดลองต้อง
ไม่นำ�ไปใช้กับไฟบ้านเพราะจะทำ�ให้เกิดอันตรายได้
	 ๒.	 อาจใช้หม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ตํ่าแทนเซลล์ไฟฟ้า แต่ต้องระวังอันตราย เนื่องจากต้องใช้กับไฟ ๒๒๐ โวลต์
การเตรียมล่วงหน้า
	 ๑.	 ตรวจสอบเซลล์ไฟฟ้า และหลอดไฟทุกครั้ง
	 ๒.	 ควรใช้สายไฟที่มีด้ามปากจระเข้ทั้ง ๒ ด้าน
ประเมินผล
–	ประเมินทักษะในการทำ�กิจกรรมและทักษะการสังเกตจากสภาพจริงในการทำ�กิจกรรม
–	ประเมินทักษะในการสรุปและอภิปรายและการรายงานผลการทดลอง
–	ประเมินผลการนำ�ความรู้ไปใช้อภิปรายปรากฏการณ์ต่างๆ จากการตอบคำ�ถามของนักเรียน
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
608
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง ตัวนำ�ไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า
ตัวอย่างผลการทดลอง
วัตถุ ตัวนำ�ไฟฟ้า ฉนวนไฟฟ้า วัตถุ ตัวนำ�ไฟฟ้า ฉนวนไฟฟ้า
ไม้บรรทัด ✓ ผ้า ✓
ลวดเสียบกระดาษ ✓ ยางลบ ✓
ตะปู ✓ เข็มเย็บผ้า ✓
ปากกาลูกลื่น ✓
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
ไส้ดินสอที่ดำ�มากๆหรือที่เรียกว่าแกรไฟต์จะเป็นตัวนำ�ไฟฟ้าและโลหะส่วนใหญ่ก็เป็นตัวนำ�ไฟฟ้าส่วนแก้วไม้
ยาง พลาสติก กระดาษ หนังสัตว์จะเป็นฉนวนไฟฟ้า
ในบางครั้งลวดเสียบกระดาษ หรือกระป๋่องนํ้าอัดลม เมื่อต่อเข้าในวงจรแล้วหลอดไฟไม่สว่าง เป็นเพราะสีที่
เคลือบไว้เป็นฉนวน ต้องขูดสีออกก่อน
สายไฟเมื่อใช้ไปนานๆอาจชำ�รุดเสียหายทำ�ให้พลาสติกที่หุ้มภายนอกฉีกขาดลวดทองแดงที่อยู่ภายในถ้าเกิดมา
สัมผัสกัน ทำ�ให้ไฟฟ้าลัดวงจรเกิดไฟช็อตเป็นสาเหตุให้เกิดไฟไหม้ได้
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
วัตถุใดได้รับการถ่ายเทอิเล็กตรอน แล้วอิเล็กตรอนถูกถ่ายเทสามารถเคลื่อนที่ในวัตถุนั้นได้ เรียกว่า ตัวนำ�ไฟฟ้า
แต่ถ้าวัตถุใดได้รับการถ่ายเทอิเล็กตรอนแล้วไม่เคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า
การเตรียมล่วงหน้า
เตรียมหาวัตถุที่เป็นตัวนำ�ไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า
ประเมินผล
–	 ประเมินทักษะในการทำ�กิจกรรมและทักษะการสังเกตจากสภาพจริงในการทำ�กิจกรรม
–	 ประเมินทักษะในการสรุปและอภิปรายผลจากการอภิปรายและการรายงานผลการทดลอง
–	 ประเมินผลการนำ�ความรู้ไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ จากการตอบคำ�ถามของนักเรียน
การบูรณาการ
บูรณาการเข้ากับเรื่องสารและสมบัติของสาร หัวข้อ ตัวนำ�ไฟฟ้าในสารละลาย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓
609
ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า
เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน
ลวดตัวนำ�ที่มีฉนวนหุ้ม เมื่อนำ�มาพันเป็นขดลวดวงกลมซ้อนกันเป็นรูปทรงกระบอก เรียกว่า โซเลนอยด์ เมื่อ
ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดจะมีเส้นแรงแม่เหล็กเกิดขึ้น โดยมีค่าสนามแม่เหล็กสูงสุดในบริเวณแกนกลาง ถ้าใส่แกน
เหล็กอ่อนไว้ภายในโซเลนอยด์แกนเหล็กอ่อนจะกลายเป็นแท่งแม่เหล็กและสนามแม่เหล็กจะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มจำ�นวน
เซลล์ไฟฟ้า
ค่าของสนามแม่เหล็กขึ้นอยู่กับค่าของกระแสไฟฟ้าจำ�นวนรอบของขดลวดและชนิดของสารแม่เหล็กที่เป็นแกน
แม่เหล็กไฟฟ้าใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง เช่น ออดไฟฟ้า สวิตช์รีเลย์ หลอดภาพในโทรทัศน์
ถ้าให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดสี่เหลี่ยมที่อยู่ในสนามแม่เหล็กจะมีแรงกระทำ�ต่อขดลวดทำ�ให้ขดลวดหมุนได้
ซึ่งเป็นหลักการของมอเตอร์ไฟฟ้าโดยนำ�ไปใช้ในเครื่องใช้ไฟฟ้าเช่นพัดลมเครื่องเป่าผมเครื่องปั่นนํ้าผลไม้และเครื่องดูดฝุ่น
ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู
ปัจจุบันนี้มีการใช้แม่เหล็กไฟฟ้าในงานด้านต่างๆ อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ควบคุมการทำ�งานของสวิตช์ตัดวงจร
แบบอัตโนมัติ สวิตช์รีเลย์และการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในหลอดภาพของโทรทัศน์
สวิตช์อัตโนมัติจะทำ�งานเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวด A มากกว่าค่าที่กำ�หนดไว้ ซึ่งจะทำ�ให้ A กลายเป็น
แม่เหล็กไฟฟ้าที่มีแรงดูดมากพอที่จะดูดแผ่นเหล็ก B ซึ่งเป็นการเปิดสวิตช์ ทำ�ให้วงจรไฟฟ้าขาด ดังรูป
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
610
สำ�หรับสวิตช์รีเลย์ใช้ในการปิดเปิดวงจรของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่อยู่ระยะไกลเมื่อกดสวิตช์ S จะทำ�ให้ขดลวด A
กลายเป็นแม่เหล็กไฟฟ้าดูดแผ่น B มาติดกับขั้วโลหะ C ทำ�ให้กระแสไฟฟ้าผ่านครบวงจร ดังรูป
นอกจากนี้แม่เหล็กไฟฟ้ายังสามารถนำ�ไปใช้บังคับการเคลื่อนที่อิเล็กตรอนในหลอดภาพของโทรทัศน์ได้โดย
สนามแม่เหล็กซึ่งเกิดจากขดลวดดังแสดงในรูปจะบังคับการเคลื่อนที่ของลำ�อิเล็กตรอนให้กวาดไปมาบนจอเป็นผลให้เรา
มองเห็นจอสภาพสว่าง
การเตรียมล่วงหน้า
หาวัตถุที่แม่เหล็กดูดได้
ประเมินผล
–	 ประเมินทักษะในการทำ�กิจกรรมและทักษะการสังเกตจากสภาพจริงในการทำ�กิจกรรม
–	 ประเมินทักษะในการสรุปและอภิปรายผลจากการอภิปรายและการรายงานผลการทดลอง
–	 ประเมินผลการนำ�ความรู้ไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ จากการตอบคำ�ถามของนักเรียน
w w w w w w w w

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมTa Lattapol
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 

Was ist angesagt? (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
หู
หูหู
หู
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 

Andere mochten auch

แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้สุทน ดอนไพร
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง ป.2+222+dltvscip2+P1 3...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง  ป.2+222+dltvscip2+P1 3...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง  ป.2+222+dltvscip2+P1 3...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง ป.2+222+dltvscip2+P1 3...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1pageใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบ
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบวงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบ
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบsayan11082534
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1njoyok
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pageใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05Prachoom Rangkasikorn
 
แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3
แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3
แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3niralai
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสPornsak Tongma
 
ภาษาอาเซียน
ภาษาอาเซียนภาษาอาเซียน
ภาษาอาเซียนkanidta vatanyoo
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 

Andere mochten auch (20)

วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง ป.2+222+dltvscip2+P1 3...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง  ป.2+222+dltvscip2+P1 3...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง  ป.2+222+dltvscip2+P1 3...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง ป.2+222+dltvscip2+P1 3...
 
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1pageใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
ใบความรู้+การต่อหลอดไฟแบบขนาน+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f06-1page
 
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบ
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบวงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบ
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ทดสอบ
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pageใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
 
แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3
แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3
แบบเรียนคณิตศาสตร์ยุวพุทธป.1 3
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
 
Thanks asean
Thanks aseanThanks asean
Thanks asean
 
ภาษาอาเซียน
ภาษาอาเซียนภาษาอาเซียน
ภาษาอาเซียน
 
ใบงาน ม.3.2
ใบงาน ม.3.2ใบงาน ม.3.2
ใบงาน ม.3.2
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 

Ähnlich wie ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u04-2

Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56krupornpana55
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอมLupin F'n
 
Slหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียนkrupornpana55
 
การ์ดปริศนา
การ์ดปริศนาการ์ดปริศนา
การ์ดปริศนาkroofon fon
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  แม่เหล็กไฟฟ้า  ป.2+222+dltv...ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  แม่เหล็กไฟฟ้า  ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า ป.2+222+dltv...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04Prachoom Rangkasikorn
 
Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1m3c11n01
 
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นWiranya_king
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พลังงานไฟฟ้ากับการคิดค่าไฟฟ้า_(2)-01072154.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พลังงานไฟฟ้ากับการคิดค่าไฟฟ้า_(2)-01072154.pdfสื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พลังงานไฟฟ้ากับการคิดค่าไฟฟ้า_(2)-01072154.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พลังงานไฟฟ้ากับการคิดค่าไฟฟ้า_(2)-01072154.pdfKruThobTft
 
3 สื่อกลางนำข้อมูล 2
3 สื่อกลางนำข้อมูล 23 สื่อกลางนำข้อมูล 2
3 สื่อกลางนำข้อมูล 2Sumet Ratprachum
 
แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์
แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์
แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์sutitam09
 
สมุดภาพไฟฟ้า
สมุดภาพไฟฟ้า สมุดภาพไฟฟ้า
สมุดภาพไฟฟ้า Rujaruk Sukhasame
 
สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์
สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์
สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์Rujaruk Sukhasame
 
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...Weerachat Martluplao
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 

Ähnlich wie ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u04-2 (20)

Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย  3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอม
 
Slหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
 
การ์ดปริศนา
การ์ดปริศนาการ์ดปริศนา
การ์ดปริศนา
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  แม่เหล็กไฟฟ้า  ป.2+222+dltv...ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  แม่เหล็กไฟฟ้า  ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า ป.2+222+dltv...
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04
 
Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1
 
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
 
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พลังงานไฟฟ้ากับการคิดค่าไฟฟ้า_(2)-01072154.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พลังงานไฟฟ้ากับการคิดค่าไฟฟ้า_(2)-01072154.pdfสื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พลังงานไฟฟ้ากับการคิดค่าไฟฟ้า_(2)-01072154.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พลังงานไฟฟ้ากับการคิดค่าไฟฟ้า_(2)-01072154.pdf
 
ไฟฟ้า1
ไฟฟ้า1ไฟฟ้า1
ไฟฟ้า1
 
ไฟฟ้า1
ไฟฟ้า1ไฟฟ้า1
ไฟฟ้า1
 
3 สื่อกลางนำข้อมูล 2
3 สื่อกลางนำข้อมูล 23 สื่อกลางนำข้อมูล 2
3 สื่อกลางนำข้อมูล 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์
แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์
แผนการจัดการเรียนรู้อิเล็ก4สมบูรณ์
 
สมุดภาพไฟฟ้า
สมุดภาพไฟฟ้า สมุดภาพไฟฟ้า
สมุดภาพไฟฟ้า
 
สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์
สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์
สมุดภาพไฟฟ้า พิชาพรรณ์
 
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 

Mehr von Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

Mehr von Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 u04-2

  • 1. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 587 แนวการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างคุณลักษณะ ดี เก่ง มีสุข ๔หน่วยการเรียนรู้ที่ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง วงจรไฟฟ้า สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ป.๔ - ๖
  • 2. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 588 การวิเคราะห์แผนผังจากสาระการเรียนรู้ เรื่อง สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และเทคโนโลยี (วงจรไฟฟ้า) ประหยัด ส่วนประกอบ ของจรไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย การต่อวงจรไฟฟ้า อย่างง่าย การเกิด แม่เหล็กไฟฟ้า ประโยชน์ แบบอนุกรม แบบขนาน ตัวนำ�และฉนวน ประหยัดอย่างปลอดภัย การต่อหลอดไฟฟ้า ปลอดภัย การใช้ไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้า การใช้ไฟฟ้า สิ่งแวดล้อมและ เทคโนโลยีดีด้วย พระบารมีฯ (วงจรไฟฟ้า)
  • 3. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 589 การวิเคราะห์แผนผังจากสาระการเรียนรู้ เรื่อง การใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัยและประหยัด คำ�ขวัญสิ่งประดิษฐ์ อันตราย ของไฟฟ้า การใช้ไฟฟ้า อย่างปลอดภัย การนำ�ไป ปฏิบัติในชีวิต แนวทาง ประหยัดไฟฟ้า ประโยชน์ ของไฟฟ้า การประหยัดไฟฟ้า การอนุรักษ์ไฟฟ้า วิธีการใช้ไฟฟ้า อย่างปลอดภัย สิ่งแวดล้อมและ เทคโนโลยีดีด้วย พระบารมีฯ (ปลอดภัยต่อชีวิต คิดอนุรักษ์)
  • 4. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 590 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว ๕.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำ�รงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงานปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๖/๑ ทดลองและอธิบายการต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ป. ๖/๒ ทดลองและอธิบายตัวนำ�ไฟฟ้า และฉนวนไฟฟ้า ป. ๖/๓ ทดลองและอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม และนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ป. ๖/๔ ทดลองและอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าทั้งแบบอนุกรม และแบบขนาน และนำ�ความรู้ไปใช้ ป. ๖/๕ ทดลองและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กระบบสายไฟที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านและนำ�ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ๒. กำ�หนดสาระสำ�คัญของการเรียนรู้ ๑. วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยเซลล์ไฟฟ้าสายไฟหลอดไฟหรืออุปกรณ์อื่นๆโดยใช้สวิตช์ปิดเปิดวงจร ๒. วงจรปิดเป็นวงจรที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้ครบรอบ ส่วนวงจรเปิดเป็นวงจรที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน ๓. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม กระแสไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกส่วนของวงจรเท่ากัน ๔. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน กระแสไฟฟ้าจะแยกผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละตัว ๕. ตัวนำ�ไฟฟ้ายอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ ส่วนฉนวนไฟฟ้าไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้โดยง่าย ๖. กระแสไฟฟ้าในวงจรทำ�ให้เกิดสภาพแม่เหล็กและนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ ๓. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา ๑. ให้ผู้เรียนเป็นคนดี โดยสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะด้านคุณธรรม ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบ ความ ซื่อสัตย์ ๒. ให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง โดยให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ – การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า – การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง วงจรไฟฟ้า ระยะเวลาในการสอน ๗ ชั่วโมงป.๖
  • 5. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 591 – การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน – ตัวนำ�ไฟฟ้า และฉนวนไฟฟ้า – แม่เหล็กไฟฟ้า – การใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัยและประหยัด ๓. ให้ผู้เรียนมีความสุข โดย – เห็นคุณค่า และมีเจตนคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ – ภูมิใจในผลงานของตนเอง และชื่นชมผลงานของผู้อื่น – มีความสนุกในการเรียนรู้ การทดลอง ๔. การวางแผนการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ คณิตศาสตร์ การคำ�นวณ ค่ากระแสไฟฟ้า การงานอาชีพ และเทคโนโลยี(กอท.) ประดิษฐ์ของเล่นจากไฟฟ้า ภาษาไทย – เขียนคำ�ขวัญ – วาดภาพ ภาษาอังกฤษ คำ�ศัพท์เกี่ยวกับไฟฟ้า สิ่งแวดล้อมและ เทคโนโลยีดีด้วย พระบารมีฯ (วงจรไฟฟ้า)
  • 6. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 592 ๕. การวางแผนการจัดการเรียนรู้ ๘ ๗ ๖ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ครูให้นักเรียน นำ�ไฟฉายมาถอดดูเพื่อให้ นักเรียนดูส่วนประกอบภายใน ไฟฉายว่ามีอะไรบ้าง ครูอธิบายเกี่ยวกับ ส่วนประกอบของ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย –ให้นักเรียนเขียนสัญลักษณ์ ที่ใช้แทนอุปกรณ์ไฟฟ้า นักเรียนปฏิบัติการ ทดลอง – การต่อวงจรไฟฟ้า – ตัวนำ�และฉนวนไฟฟ้า – การใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย และประหยัด นักเรียนสรุปผล ชการทดลอง – นักเรียนทำ�ใบกิจกรรม ตามที่ครูมอบหมาย นักเรียนสร้างชิ้นงานตามความสนใจ โดยการประดิษฐ์ของเล่น จากไฟฟ้า นักเรียนเสนอผลงานของตนเอง – ครูและนักเรียนร่วมกันแสดง ความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ ครูและนักเรียนประเมิน ชิ้นงานนำ�ผลงานมาจัด แสดงนิทรรศการ แลกเปลี่ยนความรู้ ซึ่งกันและกัน ให้นักเรียนศึกษาใบงานการต่อวงจร แบบอนุกรมแบบขนาน –ตัวนำ� และฉนวนไฟฟ้า –แม่เหล็กไฟฟ้า –การใช้ไฟฟ้าอย่าง ปลอดภัยและ ประหยัด ๖. รายละเอียดของกิจกรรม ๑. ครูให้นักเรียนนำ�ไฟฉายมาถอดดูเพื่อให้นักเรียนดูส่วนภายในไฟฉายมีอุปกรณ์ไฟฟ้าอะไรบ้าง ๒. ครูสนทนาอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างง่าย และให้นักเรียนต่อวงจรไฟฟ้าให้ใบพัดติด ๓. ให้นักเรียนเขียนสัญลักษณ์แทนอุปกรณ์ไฟฟ้า ๔. ให้นักเรียนศึกษาใบงานการต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม แบบขนาน ตัวนำ�และฉนวนไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้า การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย ๕. นักเรียนปฏิบัติการทดลอง การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม แบบขนาน ตัวนำ�ไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า การใช้ ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย สิ่งแวดล้อมและ เทคโนโลยีดีด้วย พระบารมีฯ (วงจรไฟฟ้า)
  • 7. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 593 ๖. นักเรียนสร้างชิ้นงานตามความสนใจโดยการประดิษฐ์ของเล่นจากไฟฟ้า ๗. นักเรียนเสนอผลงานของตนเอง ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ ๘. ครูและนักเรียนประเมินชิ้นงาน นำ�ผลงานมาจัดนิทรรศการ แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ๗. สื่อการเรียนการสอน ๑. ถ่านไฟฉายพร้อมกระบะ size D ๒. มอเตอร์ ๓. ใบพัด ๔. หลอดไฟ ๒.๕ V ๕. ฐานหลอดไฟ ๖. ออดไฟฟ้า ๗. สายไฟฟ้า ๘. สวิตช์ ๙. ลวดทองแดงเบอร์ ๒๐ ๘. การประเมินตามสภาพจริง กิจกรรม / พฤติกรรม / ผลงานที่ต้องประเมิน วิธีการ เครื่องมือ ๑. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม การเข้ากลุ่มปฏิบัติกิจกรรม สังเกต แบบสังเกต ๒. ตรวจผลงานเป็นกลุ่ม รายบุคคล ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ ความสะอาด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตรวจผลงาน การสัมภาษณ์ ๓. การนำ�เสนอผลงาน การรายงาน สังเกต ผู้ประเมิน – นักเรียนและเพื่อนนักเรียน – ครู – ผู้ปกครอง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ๙. สรุปผลการเรียนการสอน ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................ w w w w w w w w
  • 8. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 594 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๑ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายโดยใช้สัญลักษณ์ ให้นักเรียนตอบคำ�ถามต่อไปนี้ จงบอกสัญลักษณ์ต่อไปนี้ใช้แทนอุปกรณ์ไฟฟ้าใด แทน .................................................................................................................... แทน .................................................................................................................... แทน .................................................................................................................... แทน .................................................................................................................... วงจรไฟฟ้าเปิด หมายถึง.................................................................................................................................................................................................................. วงจรไฟฟ้าปิด หมายถึง................................................................................................................................................................................................................... นักเรียนต่อวงจรแบบใดที่จะทำ�ให้มอเตอร์หยุดหรือออดเสียงดัง ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w
  • 9. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 595 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบอนุกรม ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๒ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ต่อวงจรไฟฟ้าตามแผนภาพวงจรไฟฟ้ารูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ เปิดสวิตช์ให้กระแสไฟฟ้าผ่านแล้วสังเกต แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้า ๑. แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าต่อตามรูปใด สว่างมากกว่ากัน .......................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. หลอดไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ารูปใด มีกระแสไฟฟ้าผ่านมากกว่ากัน ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบได้อย่างไร..................................................................................................................................................................................................................................... ๓. ถ้าต้องการให้หลอดไฟฟ้าสว่างมากขึ้นกว่าที่ทดลองได้ จะมีวิธีทำ�ได้อย่างไรบ้าง ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w รูปที่ ๑ รูปที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
  • 10. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 596 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง การต่อถ่านไฟฉายแบบขนาน ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๓ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ต่อวงจรไฟฟ้าตามแผนภาพวงจรไฟฟ้ารูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ สังเกตแสงสว่างจากหลอดไฟฟ้า ๑. แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าต่อตามรูปใด สว่างมากกว่ากัน .......................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. กระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟฟ้าซึ่งต่อตามวงจรไฟฟ้าในรูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ แตกต่างกันหรือไม่ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. ทราบได้อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w รูปที่ ๑ รูปที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
  • 11. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 597 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๔ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ต่อหลอดไฟฟ้าชนิดเดียวกันตามแผนภาพวงจรไฟฟ้ารูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ สังเกตแสงสว่างจากหลอดไฟฟ้า ๑. แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงเมื่อต่อตามแผนภาพวงจรไฟฟ้ารูปที่๑และรูปที่๒แตกต่างกันหรือไม่อย่างไร .......................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. กระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟฟ้าเมื่อต่อตามแผนภาพวงจรไฟฟ้าในรูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ แตกต่างกันหรือไม่ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบได้อย่างไร..................................................................................................................................................................................................................................... ๓. กระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงที่ต่อกันในวงจรไฟฟ้ารูปที่ ๒ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบได้อย่างไร..................................................................................................................................................................................................................................... ๔. จากรูปที่๒กดสวิตช์ต่อวงจรไฟฟ้าให้หลอดไฟฟ้าสว่างทั้งหมดเมื่อถอดหลอดไฟฟ้าออก๑ดวงผลจะเป็นอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w รูปที่ ๑ รูปที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
  • 12. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 598 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๕ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ต่อหลอดไฟฟ้าชนิดเดียวกันตามวงจรไฟฟ้ารูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ สังเกตแสงสว่างจากหลอดไฟฟ้า ๑. แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงเมื่อต่อตามแผนภาพวงจรไฟฟ้ารูปที่๑และรูปที่๒แตกต่างกันหรือไม่อย่างไร .......................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. กระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงเมื่อต่อวงจรไฟฟ้าในรูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ ต่างกันหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบได้อย่างไร..................................................................................................................................................................................................................................... ๓. จากรูปที่ ๒ กดสวิตช์ให้หลอดไฟฟ้าสว่างทั้งหมด เมื่อถอดหลอดไฟฟ้าออก ๑ ดวง ผลจะเป็นอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าเมื่อต่อแบบอนุกรม และเมื่อต่อแบบขนาน แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๕. ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟฟ้าซึ่งต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนานแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w รูปที่ ๑ รูปที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
  • 13. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 599 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๖ ใบกิจกรรม เมื่อยังไม่นำ�สายไฟฟ้าพาดกับเข็มทิศ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านสายไฟฟ้าที่วางทับเข็มทิศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ๑. ต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย นำ�สายไฟฟ้าวางทับเข็มทิศ กดสวิตช์ให้ครบวงจร สังเกตการเปลี่ยนแปลง วาดรูปแสดง ตำ�แหน่งเข็มทิศ ๑.๑ เข็มทิศมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร.............................................................................................................................................................. ๑.๒ สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร................................................................................................................................................................................... ๒. นำ�ลวดทองแดงที่เคลือบด้วยฉนวนพันอย่างเป็นระเบียบรอบตะปูแล้วต่อกับถ่านไฟฉาย๑,๒,๓ก้อนให้ครบวงจร นำ�ปลายตะปูเข้าใกล้ลวดเสียบกระดาษ สังเกตและบันทึกผล จำ�นวนถ่านไฟฉาย (ก้อน) จำ�นวนลวดเสียบกระดาษที่ดูดได้ (ตัว) ๑ ............................................................................................................... ๒ ............................................................................................................... ๓ ...............................................................................................................
  • 14. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 600 ๓. เมื่อต่อลวดทองแดงครบวงจร ตะปูมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าให้มีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดทองแดงมากขึ้น ผลเป็นอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๕. พันลวดทองแดงอย่างเป็นระเบียบรอบตะปู ๕ - ๑๐ รอบ แล้วต่อกับถ่านไฟฉายให้ครบวงจร นำ�เข้าใกล้ลวดเสียบ กระดาษ สังเกตผล ๖. พันลวดทองแดงอย่างเป็นระเบียบรอบตะปู๓๐รอบแล้วต่อกับถ่านไฟฉายให้ครบวงจรนำ�เข้าใกล้ลวดเสียบกระดาษ สังเกตผลเปรียบเทียบกับครั้งแรก ๗. จำ�นวนลวดเสียบกระดาษที่ตะปูดูดได้ เมื่อพันลวดทองแดงมากรอบกับน้อยรอบ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................... ๘. จำ�นวนรอบของขดลวดทองแดงที่พันรอบตะปูมีผลต่อการเป็นแม่เหล็กของตะปูหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w
  • 15. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 601 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ เรื่อง อะไรนำ�ไฟฟ้าได้และอะไรไม่นำ�ไฟฟ้า ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๗ ใบกิจกรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ คำ�ชี้แจง ต่อวงจรไฟฟ้าดังรูป นำ�วัตถุที่ทำ�ด้วยสารต่างๆ ต่อระหว่าง คลิปปากจระเข้ สังเกตและบันทึกผล วัตถุ สารที่ใช้ทำ� หลอดไฟฟ้าสว่าง หลอดไฟฟ้าไม่สว่าง .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. ๑. วัสดุที่ต่อในวงจรไฟฟ้าแล้วหลอดไฟฟ้าสว่าง คือ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. วัสดุที่ต่อในวงจรไฟฟ้าแล้วหลอดไฟฟ้าไม่สว่าง คือ.................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. วัสดุใดนำ�ไฟฟ้า...................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบได้อย่างไร..................................................................................................................................................................................................................................... ๔. วัสดุใดไม่นำ�ไฟฟ้า................................................................................................................................................................................................................................ ทราบได้อย่างไร..................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w
  • 16. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 602 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๘ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาภาพที่ ๑ - ๘ แล้วบันทึกลงในแบบบันทึกข้างล่างนี้ว่า ไฟฟ้ามีประโยชน์ อย่างไร โดยเขียนเป็นข้อความสั้นๆ ที่เข้าใจง่าย ภาพที่ ประโยชน์จากไฟฟ้า ๑ ........................................................................................................ ๒ ........................................................................................................ ๓ ........................................................................................................ ๔ ........................................................................................................ ๕ ........................................................................................................ ๖ ........................................................................................................ ๗ ........................................................................................................ ๘ ........................................................................................................ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ w w w w w w w w ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘
  • 17. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 603 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๙ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาภาพที่๑-๖แล้วบันทึกลงในแบบบันทึกข้างล่างนี้ว่าไฟฟ้ามีอันตรายอย่างไร โดยเขียนเป็นข้อความสั้นๆ ที่เข้าใจง่าย ภาพที่ อันตรายที่เกิดจากการใช้ไฟฟ้า ๑ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๒ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๓ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๔ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๕ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ๖ ........................................................................................................ ........................................................................................................ w w w w w w w w กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
  • 18. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 604 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดีด้วยพระบารมีฯ ชื่อ..................................................................................................................ชั้น............................................เลขที่................................. แผ่นที่ ๑๐ ใบกิจกรรม คำ�ชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาภาพที่ ๑ - ๓ แล้วตอบคำ�ถามข้างล่างนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ๑. ภาพใดเป็นภาพที่แสดงถึงการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. ภาพใดเป็นภาพที่แสดงถึงการใช้ไฟฟ้าไม่ถูกวิธีและจะเกิดผลอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w ๑ ๒ ๓
  • 19. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 605 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน วงจรไฟฟ้าเป็นเส้นทางที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้ครบรอบ ในวงจรไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านได้ครบวงจรเครื่องใช้ ไฟฟ้าจะทำ�งานได้เรียกว่า วงจรไฟฟ้าปิด แต่ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้าขาดจากกันจะทำ�ให้ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหล ในวงจร เรียกว่า วงจรไฟฟ้าเปิดสำ�หรับสวิตช์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำ�หรับตัดวงจรไฟฟ้า ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู ๑. หลอดไฟฟ้าที่ใช้ทดลองมีหลายขนาดใช้กับแรงเคลื่อนไฟฟ้าต่างๆ แต่ ในการทดลองใช้หลอด 2.5 V ควรเลือกให้เหมาะสมกับเซลล์ไฟฟ้าซึ่ง เซลล์ไฟฟ้า ๑ ก้อน มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 1.5 V ถ้าเลือกไม่เหมาะสมอาจ ทำ�ให้ไส้หลอดขาดได้ ๒. การต่อมอเตอร์ ถ้าต่อสลับขั้วมอเตอร์จะหมุนคนละทาง ๓. ออดไฟฟ้าต้องต่อให้ถูกขั้วคือขั้วบวก(สีแดง)กับขั้วบวกและขั้วลบ(สี ดำ�) กับขั้วลบถ้าต่อผิดขั้วจะไม่มีเสียง ๔. การต่อเซลล์ไฟฟ้าต้องต่อขั้วไปทางเดียวกันจะทำ�ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ารวม มากขึ้น ถ้าต่อขั้วคนละด้านจะทำ�ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ารวมลดลงและแรง เคลื่อนไฟฟ้าจะแปรผันโดยตรงกับกระแสไฟฟ้าโดยสังเกตได้จากความ สว่างของหลอดไฟหรือจากแอมมิเตอร์ ๕. เซลล์ไฟฟ้าเมื่อต่อกันตั้งแต่ ๒ ก้อนขึ้นไป เรียกว่า แบตเตอรี่ ๖. การเปิดหรือปิดสวิตช์อาจทำ�ให้สับสนกับวงจรไฟฟ้าเปิดหรือวงจรไฟฟ้าปิด อาจใช้การกดสวิตช์แทนการ เปิดสวิตช์ ๗. แอมมิเตอร์ที่ใช้ทดลองวัดกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด 1,000 mA ในการใช้ควรระมัดระวังเพราะอาจทำ�ให้ เครื่องวัดเสียหายได้ ๘. เมื่อนำ�สายไฟฟ้าต่อกับเซลล์ไฟฟ้าอิเล็กตรอนอิสระในเส้นลวดตัวนำ�ได้รับพลังงานไฟฟ้าทำ�ให้เคลื่อนที่ไป อย่างมีทิศทางและต่อเนื่องกันการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระเหล่านี้ทำ�ให้เกิดกระแสไฟฟ้าซึ่งมีทิศทาง ตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน แอมมิเตอร์
  • 20. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 606 ข้อเสนอแนะ ๑. ไม่ควรนำ�อุปกรณ์ไฟฟ้าที่นักเรียนทดลองไปใช้กับไฟฟ้าในบ้านอย่างเด็ดขาดเพราะจะทำ�ให้เกิดอันตรายถึง ชีวิตได้ ๒. ถ้าไม่มีแอมมิเตอร์แบบนี้ อาจใช้แอมมิเตอร์ชนิดอื่นหรือมัลติมิเตอร์ก็ได้ ประเมินผล – ประเมินทักษะในการทำ�กิจกรรมและทักษะการสังเกตจากสภาพจริงในการทำ�กิจกรรม – ประเมินทักษะในการสรุปและอภิปรายผลจากการอภิปรายและการรายงานผลการทดลอง – ประเมินผลการนำ�ความรู้ไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ จากการตอบคำ�ถามของนักเรียน การบูรณาการ สามารถบูรณาการเข้ากับเรื่องสารและสมบัติของสารหัวข้อการนำ�ไฟฟ้า ตัวอย่างผลการทดลอง ตารางการต่อแบบอนุกรม ตารางการต่อแบบขนาน วงจรไฟฟ้า ปริมาณกระแสไฟฟ้า (mA) วงจรไฟฟ้า ปริมาณกระแสไฟฟ้า (mA) แบบที่ ๑ ๓๒๐ แบบทีี่ ๑ ๖๔๐ แบบที่ ๒ ๓๒๐ แบบที่ ๒ ๓๒๐ แบบที่ ๓ ๓๒๐ แบบที่ ๓ ๓๒๐ เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมกระแสไฟฟ้าจะผ่านอุปกรณ์ทุกส่วนของวงจร เท่ากัน สำ�หรับการต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานกระแสไฟฟ้าจะแยกผ่านอุปกรณ์แต่ละตัว เมื่อเปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟจะเห็นว่าการต่อแบบขนานหลอดไฟจะสว่าง มากกว่าแสดงว่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบขนานจะมากกว่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบ อนุกรม การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม เมื่อหลอดหนึ่งหลอดใดชำ�รุดจะทำ�ให้เป็นวงจรเปิดกระแสไฟฟ้าผ่านไม่ได้ ทำ�ให้ หลอดไฟดวงอื่นดับหมดการต่อหลอดไฟฟ้าที่ใช้ประดับต้นไม้หรือตามวัดจะใช้แบบอนุกรมเนืื่องจากต้องใช้หลอดไฟเล็กๆ เป็นจำ�นวนมาก ทำ�ให้ความต้านทานรวมมากขึ้น สามารถใช้กับไฟบ้าน 220 V ได้ แต่ถ้าเป็นการต่อหลอดไฟแบบขนาน กระแสไฟฟ้าจะแยกผ่านหลอดไฟแต่ละดวงเมื่อหลอดใดชำ�รุด หลอดอื่น ก็ยังติดอยู่จึงนำ�การต่อแบบนี้มาใช้ตามบ้านเรือน w w w w w w w w
  • 21. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 607 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู ความสว่างของหลอดไฟแบบอนุกรมจะสว่างน้อยกว่าแบบขนานเพราะความต้านทาน(R)รวมจากการต่อแบบ อนุกรมมากกว่าแบบขนานจาก Rรวมแบบอนุกรม = R1 + R2 + R3 1 1 1 Rรวมแบบขนาน = ––– + ––– + ––– R1 R1 R1 1และกระแสไฟฟ้า (1) จะแปรผกผันกับความต้านทานจาก 1 α ––– R ดังนั้น กระแสไฟฟ้าจะมีค่าน้อยเมื่อความต้านทานมากและกระแสไฟฟ้าจะมีค่ามากเมื่อความต้านทานน้อย ข้อเสนอแนะ ๑. หลอดไฟขนาดเดียวกันอาจจะสว่างไม่เท่ากัน ทำ�ให้การทดลองผิดพลาดได้ และหลอดไฟที่ใช้ทดลองต้อง ไม่นำ�ไปใช้กับไฟบ้านเพราะจะทำ�ให้เกิดอันตรายได้ ๒. อาจใช้หม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ตํ่าแทนเซลล์ไฟฟ้า แต่ต้องระวังอันตราย เนื่องจากต้องใช้กับไฟ ๒๒๐ โวลต์ การเตรียมล่วงหน้า ๑. ตรวจสอบเซลล์ไฟฟ้า และหลอดไฟทุกครั้ง ๒. ควรใช้สายไฟที่มีด้ามปากจระเข้ทั้ง ๒ ด้าน ประเมินผล – ประเมินทักษะในการทำ�กิจกรรมและทักษะการสังเกตจากสภาพจริงในการทำ�กิจกรรม – ประเมินทักษะในการสรุปและอภิปรายและการรายงานผลการทดลอง – ประเมินผลการนำ�ความรู้ไปใช้อภิปรายปรากฏการณ์ต่างๆ จากการตอบคำ�ถามของนักเรียน w w w w w w w w
  • 22. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 608 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง ตัวนำ�ไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า ตัวอย่างผลการทดลอง วัตถุ ตัวนำ�ไฟฟ้า ฉนวนไฟฟ้า วัตถุ ตัวนำ�ไฟฟ้า ฉนวนไฟฟ้า ไม้บรรทัด ✓ ผ้า ✓ ลวดเสียบกระดาษ ✓ ยางลบ ✓ ตะปู ✓ เข็มเย็บผ้า ✓ ปากกาลูกลื่น ✓ เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน ไส้ดินสอที่ดำ�มากๆหรือที่เรียกว่าแกรไฟต์จะเป็นตัวนำ�ไฟฟ้าและโลหะส่วนใหญ่ก็เป็นตัวนำ�ไฟฟ้าส่วนแก้วไม้ ยาง พลาสติก กระดาษ หนังสัตว์จะเป็นฉนวนไฟฟ้า ในบางครั้งลวดเสียบกระดาษ หรือกระป๋่องนํ้าอัดลม เมื่อต่อเข้าในวงจรแล้วหลอดไฟไม่สว่าง เป็นเพราะสีที่ เคลือบไว้เป็นฉนวน ต้องขูดสีออกก่อน สายไฟเมื่อใช้ไปนานๆอาจชำ�รุดเสียหายทำ�ให้พลาสติกที่หุ้มภายนอกฉีกขาดลวดทองแดงที่อยู่ภายในถ้าเกิดมา สัมผัสกัน ทำ�ให้ไฟฟ้าลัดวงจรเกิดไฟช็อตเป็นสาเหตุให้เกิดไฟไหม้ได้ ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู วัตถุใดได้รับการถ่ายเทอิเล็กตรอน แล้วอิเล็กตรอนถูกถ่ายเทสามารถเคลื่อนที่ในวัตถุนั้นได้ เรียกว่า ตัวนำ�ไฟฟ้า แต่ถ้าวัตถุใดได้รับการถ่ายเทอิเล็กตรอนแล้วไม่เคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า การเตรียมล่วงหน้า เตรียมหาวัตถุที่เป็นตัวนำ�ไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า ประเมินผล – ประเมินทักษะในการทำ�กิจกรรมและทักษะการสังเกตจากสภาพจริงในการทำ�กิจกรรม – ประเมินทักษะในการสรุปและอภิปรายผลจากการอภิปรายและการรายงานผลการทดลอง – ประเมินผลการนำ�ความรู้ไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ จากการตอบคำ�ถามของนักเรียน การบูรณาการ บูรณาการเข้ากับเรื่องสารและสมบัติของสาร หัวข้อ ตัวนำ�ไฟฟ้าในสารละลาย
  • 23. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๓ 609 ใบความรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า เนื้อหาสาระสำ�หรับนักเรียน ลวดตัวนำ�ที่มีฉนวนหุ้ม เมื่อนำ�มาพันเป็นขดลวดวงกลมซ้อนกันเป็นรูปทรงกระบอก เรียกว่า โซเลนอยด์ เมื่อ ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดจะมีเส้นแรงแม่เหล็กเกิดขึ้น โดยมีค่าสนามแม่เหล็กสูงสุดในบริเวณแกนกลาง ถ้าใส่แกน เหล็กอ่อนไว้ภายในโซเลนอยด์แกนเหล็กอ่อนจะกลายเป็นแท่งแม่เหล็กและสนามแม่เหล็กจะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มจำ�นวน เซลล์ไฟฟ้า ค่าของสนามแม่เหล็กขึ้นอยู่กับค่าของกระแสไฟฟ้าจำ�นวนรอบของขดลวดและชนิดของสารแม่เหล็กที่เป็นแกน แม่เหล็กไฟฟ้าใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง เช่น ออดไฟฟ้า สวิตช์รีเลย์ หลอดภาพในโทรทัศน์ ถ้าให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดสี่เหลี่ยมที่อยู่ในสนามแม่เหล็กจะมีแรงกระทำ�ต่อขดลวดทำ�ให้ขดลวดหมุนได้ ซึ่งเป็นหลักการของมอเตอร์ไฟฟ้าโดยนำ�ไปใช้ในเครื่องใช้ไฟฟ้าเช่นพัดลมเครื่องเป่าผมเครื่องปั่นนํ้าผลไม้และเครื่องดูดฝุ่น ความรู้ส่วนนี้สำ�หรับครู ปัจจุบันนี้มีการใช้แม่เหล็กไฟฟ้าในงานด้านต่างๆ อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ควบคุมการทำ�งานของสวิตช์ตัดวงจร แบบอัตโนมัติ สวิตช์รีเลย์และการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในหลอดภาพของโทรทัศน์ สวิตช์อัตโนมัติจะทำ�งานเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวด A มากกว่าค่าที่กำ�หนดไว้ ซึ่งจะทำ�ให้ A กลายเป็น แม่เหล็กไฟฟ้าที่มีแรงดูดมากพอที่จะดูดแผ่นเหล็ก B ซึ่งเป็นการเปิดสวิตช์ ทำ�ให้วงจรไฟฟ้าขาด ดังรูป
  • 24. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 610 สำ�หรับสวิตช์รีเลย์ใช้ในการปิดเปิดวงจรของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่อยู่ระยะไกลเมื่อกดสวิตช์ S จะทำ�ให้ขดลวด A กลายเป็นแม่เหล็กไฟฟ้าดูดแผ่น B มาติดกับขั้วโลหะ C ทำ�ให้กระแสไฟฟ้าผ่านครบวงจร ดังรูป นอกจากนี้แม่เหล็กไฟฟ้ายังสามารถนำ�ไปใช้บังคับการเคลื่อนที่อิเล็กตรอนในหลอดภาพของโทรทัศน์ได้โดย สนามแม่เหล็กซึ่งเกิดจากขดลวดดังแสดงในรูปจะบังคับการเคลื่อนที่ของลำ�อิเล็กตรอนให้กวาดไปมาบนจอเป็นผลให้เรา มองเห็นจอสภาพสว่าง การเตรียมล่วงหน้า หาวัตถุที่แม่เหล็กดูดได้ ประเมินผล – ประเมินทักษะในการทำ�กิจกรรมและทักษะการสังเกตจากสภาพจริงในการทำ�กิจกรรม – ประเมินทักษะในการสรุปและอภิปรายผลจากการอภิปรายและการรายงานผลการทดลอง – ประเมินผลการนำ�ความรู้ไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ จากการตอบคำ�ถามของนักเรียน w w w w w w w w