SlideShare a Scribd company logo
1 of 76
ชื่อเรื่อง  ดาราศาสตร์น่ารู้ ... ยู้ฮู ชื่อกลุ่ม  :   ดาวระยิบระยับ รายชื่อในกลุ่ม นางสาวภรสุภา  ชนัทรัชชานนท์  ม .6/1  เลขที่  1 นางสาวจิตรลดา  จารุกรวศิน  ม .6/1  เลขที่  2 นางสาวกรวรรณ  จรูญสมิทธิ์  ม .6/1  เลขที่  4 นางสาวเกสรา  มากโพธิ์  ม .6/1  เลขที่  19 นางสาวสมัชญา  ลี้ประจง  ม .6/1  เลขที่  20
จุดประสงค์
ดาราศาสตร์น่ารู้ ... ยู้ฮู การกำหนดเวลาบนโลก  การทำปฏิทินทั้งทางจันทรคติ และสุริยคติ กำหนดทิศบนโลกเพื่อประโยชน์ในการนำทาง ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ การกำเนิดโลกและตัวเราเอง การปรับสภาวะดำเนินชีวิตให้เหมาะสมกับฤดูกาล
การกำหนดเวลาบนโลก
เนื่องจากขนาดของโลกซึ่งมีขนาดใหญ่เราจึงมีการกำหนดที่ตั้งของสถานที่ต่าง ๆ บนพื้นโลก โดยอาศัยการลากเส้น  2  ชุด คือ ละติจูด และลองติจูดได้มีการกำหนดให้แนวเส้นลองติจูดที่  180  องศา เป็นเส้นแบ่งเขตวันสากล นอกจากนั้นได้มีการกำหนดเวลาของแต่ละพื้นที่ขึ้น โดยกำหนดโซนละ  15  องศา แต่ละโซนจะมีเวลาแตกต่างกัน  1  ชั่วโมง
การทำปฏิทิน
ปฏิทินสุริยคติ  คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ย  มีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาลมี  365 วัน  ในหนึ่งปี และเพิ่มวันหนึ่งวันใน  ปีอธิกสุรทิน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ปฏิทินเกรกอเรียน  เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีใน ปฏิทินจูเลียน   ซึ่งยาวนาน  365.25  วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง  (365.2425  วัน )  อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่  21  มีนาคม  ( วันวสันตวิษุวัต )  จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน
ปฏิทินสุริยคติไทย  คือปฏิทินอย่างเป็นทางการของประเทศไทยในปัจจุบัน เป็นระบบ   ปฏิทินสุริยคติ อ้างวันเดือนปีตรงตามปฏิทิน  เกรกอเรียน ที่มีจำนวนวัน  365  หรือ  366  วัน  ในแต่ละปี  โดยปรับเปลี่ยนจากปฏิทินจันทรคติไทย ระยะห่างระหว่างปีคริสต์ศักราชกับปีพุทธศักราชจะต่างกัน  543  ปี  ( ซึ่งปี พ . ศ . 2543  จะตรงกับปี ค . ศ . 2000  พอดี )
ปฏิทินสุริยคติ ที่แสดงดิถีจันทร์ด้วย เรียกว่า ปฏิทินสุริยจันทรคติ ได้แก่ - ปฏิทินฮิบรู - ปฏิทินจีน - ปฏิทินจันทรคติไทย
ปฏิทินจันทรคติไทย  คือ ปฏิทินที่นับตามคติการโคจรของดวงจันทร์ โดยดูจากปรากฏการณ์ข้างขึ้นข้างแรม  สำหรับปฏิทินจันทรคติ ของไทย  จะมีด้วยกัน  2  แบบ ดังนี้
1. ปฏิทินจันทรคติปักขคณนา เป็นแบบที่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่  4  แห่งราชวงศ์จักรี ได้ทรงประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ มีสูตรคำนวณที่แน่ชัด และมีความแม่นยำตามธรรมชาติกว่า  แบบราชการอยู่มาก และให้ทรงนำมาใช้  ในพระสงฆ์ไทย คณะธรรมยุตินิกาย
2. ปฏิทินจันทรคติราชการ หรือปฏิทินหลวง เป็นแบบที่ใช้กันมาแต่ดั้งเดิม อาศัยการกำหนดรูปแบบปีทางจันทรคติ อย่างไรก็ตามหลักการคำนวณหารูปแบบปีจันทรคติ ยังไม่มีการสรุปเป็นสูตรที่ตายตัวแน่ชัด ใช้เป็นปฏิทินจันทรคติราชการทั่วไป ตลอดจนพระสงฆ์ไทย  คณะมหานิกาย
ปฏิทินฮีบรู   ( ฮีบรู :  הלוח   העברי ‎ )  หรือ ปฏิทินยิว  เป็นปฏิทินประจำปีใช้ในศาสนายูดาย ภายในระบุวันหยุดทางศาสนายิว คำสอนทั่วไปในคัมภรีโตราห์ ยาร์ทเซียส  ( วันระลึกถึงวันตายของญาติสนิท )  และ ซาล์ม  ( เพลงสวด )
รูปแบบหลักที่ใช้ในปฏิทินฮีบรูมี 2 แบบ   1. แบบสังเกต ใช้ในยุคการล้มสลายของโบสถ์ที่สอง เทียบได้กับปีค . ศ . 70  โดยมีพื้นฐานมาจากการสังเกตระยะต่างๆ ของดวงจันทร์ และ  2. แบบตามเกณฑ์ โดยใช้เกณฑ์การกำหนดวันที่ตามที่ ไมโมไนส์ ระบุไว้ในปี ค . ศ . 1170  ซึ่งนำมาใช้ในระหว่างการเปลี่ยนแปลงจาก  ปีค . ศ . 70  และค . ศ . 1170
นอกเหนือจากนี้ ยังมีปฏิทินที่ไม่ใช่  ปฏิทินสุริยคติ เช่น ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ อันเป็น  ปฏิทินจันทรคติของศาสนาอิสลาม ,   ปฏิทิน  ที่สอดคล้องกับคาบซินอดิกของ ดาวศุกร์ และปฏิทินที่สอดคล้องกับ การขึ้นของดาวฤกษ์ ในท้องฟ้า
คำถามท้ายบท   1.  เส้นแบ่งเขตวันสากลจะอยู่ที่ลองติจูดที่เท่าไหร่ ก .189 ข .180 ค .250 ง .400
ข . 180 ถูกต้องค่ะ
ผิดค่ะ ลองใหม่อีกครั้งนะค่ะ
2.  เนื่องจากขนาดของโลก ซึ่งมีขนาดใหญ่เราจึงมีการกำหนดที่ตั้งของสถานที่ต่างๆบนพื้นโลกโดยอาศัยสิ่งใด ก . เส้นละจิจูดและเส้นลองติจูด ข . เส้นผ่าศูนย์กลาง ค . เส้นแบ่งเขตวันสากลโลก ง . เส้นแบ่งโซนเวลาโลก
ถูกต้องค่ะ ก . เส้นละจิจูดและเส้นลองติจูด
การกำหนดทิศบนโลกเพื่อประโยชน์ในการนำทาง
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่สำคัญ    กลุ่มดาวนายพราน คือ กลุ่มดาว  นำทางของทางทิศใต้  คนไทยเรียกว่ากลุ่มดาวเต่า
ภาพกลุ่มดาวนายพราน
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ใช้ประกอบการเก็บข้อมูล เพื่อการบรรยายเชิงปริมาณและคุณภาพ เช่น จีพีเอสหรือระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก เข็มทิศ เครื่องมือบางชนิดใช้ประกอบการเรียนและการสอนในห้องเรียนหรือในห้องปฏิบัติการและเครื่องมือบางชนิดใช้ประกอบการศึกษาและเก็บข้อมูลเฉพาะในสนามเท่านั้น ได้แก่
เข็มทิศ  เป็นเครื่องมือสำหรับใช้ในการหาทิศของจุดหรือวัตถุ    โดยมีหน่วยวัดเป็นองศา  มีประโยชน์ในการเดินทาง เช่น การเดินเรือทะเล
รูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม เป็นรูปหรือข้อมูลตัวเลขที่ได้จากการเก็บข้อมูลภาคพื้นดินจากกล้องที่ติดอยู่กับพาหนะ เช่น เครื่องบิน หรือดาวเทียม  ทำให้เห็นภาพรวม ของการใช้พื้นที่และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ตามที่ปรากฏบนพื้นผิวโลก เช่น การเกิดอุทกภัย  ไฟป่า การเปลี่ยนแปลง เป็นต้น
ภาพถ่ายจากดาวเทียม
เครื่องมือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาภูมิศาสตร์  คือ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์หรือ  GIS (Geographic Information System)   และระบบกำหนดตำแหน่งพื้นผิวโลกหรือ GPS  (Global PositioningSystem)
GPS   ประกอบไปด้วย   3  ส่วนหลัก คือ              1.  ส่วนอวกาศ ประกอบด้วยเครือข่ายดาวเทียม   3  ค่าย คือ  1.1  อเมริกา รัสเซีย ยุโรป ของอเมริกา ชื่อ  NAVSTAR  มีดาวเทียม  28   ดวง ใช้งานจริง  24   ดวง อีก  4   ดวง  เป็นตัวสำรอง ดาวเทียมแต่ละดวงใช้เวลาในการโคจรรอบโลก     12   ชั่วโมง
1.2  ยุโรป ชื่อ  Galileo  มี  27   ดวง บริหารงานโดย  ESA  หรือ   European Satellite Agency  จะพร้อมใช้งานในปี  2008 1.3  รัสเซีย ชื่อ  GLONASS  หรือ  Global Navigation Satellite  บริหารโดย  Russia VKS (Russia Military Space Force)
2.  ส่วนควบคุม  ประกอบด้วยสถานีภาคพื้นดิน    สถานีใหญ่อยู่ที่  Falcon Air   Force Base  ประเทศ อเมริกา และศูนย์ควบคุมย่อยอีก  5  จุด กระจายไปยังภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก                     3.  ส่วนผู้ใช้งาน  ผู้ใช้งานต้องมีเครื่อง  รับสัญญาณที่สามารถรับคลื่นและแปรรหัส  จากดาวเทียมเพื่อนำมาประมวลผลให้เหมาะสม  กับการใช้งานในรูปแบบต่าง ๆ
ประโยชน์ของเครื่องมือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา   ภูมิศาสตร์  จะคล้ายกับการใช้ประโยชน์ จากแผนที่ เช่นจะให้คำตอบว่า ถ้าจะต้องเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในแผนที่จะมีระยะทางเท่าใด และถ้าทราบความเร็วของรถจะทราบได้ว่าจะใช้เวลานานเท่าใด
รูปเข็มทิศ รูปถ่ายทางอากาศ
1. รูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม สามารถทำให้มนุษย์ทราบถึงสิ่งใดที่ปรากฏให้เห็นและเพราะอะไรทำไมถึงต้องใช้ คำถามท้ายบท ก . เป็นเสียงละติจูดและลองติจูด เพราะเราจะได้ทราบการเคลื่อนไหวต่างๆ ข . เป็นเส้นวงแหวนของโลกเพราะ เราจะได้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงทางการพัฒนาของมนุษย์ ค . เป็นรูปหรือข้อมูลตัวเลขที่ได้จากการเก็บข้อมูลภาคพื้นดิน เพราะ เราจะสามารถเห็นภาพรวมของพื้นที่การเปลี่ยนแปลงต่างๆตามที่ปรากฏบนพื้นผิวโลก ง.เป็นฝุ่นผงที่กระจายตัวอยู่ในอากาศ เพราะ การเปลี่ยนแปลงต่างๆตามที่ปรากฏบนพื้นผิวโลก
ถูกต้องค่ะ ค . เป็นรูปหรือข้อมูลตัวเลขที่ได้จากการเก็บข้อมูลภาคพื้นดิน เพราะ เราจะสามารถเห็นภาพรวมของการใช้พื้นที่การเปลี่ยนแปลงต่างๆตามที่ปรากฏบนพื้นผิวโลก
2. การใช้ประโยชน์ของเครื่องมือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาทางภูมิศาสตร์ มีส่วนที่ใช้ประโยชน์จากแผนที่อย่างไรที่เป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุด ก . ถ้าจะต้องเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง สามารถทราบระยะทาง ความเร็ว และเวลา ข.ถ้าจะต้องเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง สามารถทราบที่ตั้งและสถานที่ ค.ถ้าจะต้องเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง สามารถทราบแหล่งท่องเที่ยว จำนวนประชากร ง.ถ้าจะต้องเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง สามารถทราบภูมิอากาศ
ถูกต้องค่ะ ก . ถ้าจะต้องเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง สามารถทราบระยะทาง ความเร็ว และเวลา
การศึกษาปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
1. อุปราคา   ( Eclipse)  เกิดจาก  การเคลื่อนที่ของดวงจันทร์และโลกรอบดวงอาทิตย์
อุปราคาแบ่งออกเป็น  2  ชนิดคือ   1.1   จันทร์ทรุปราคา  เกิดเมื่อดวงจันทร์   อยู่ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์และดวงจันทร์  เคลื่อนผ่านเข้าไปในเงา ของโลก จันทรุปราคา  ยังมีลักษณะการเกิดได้อีกหลายแบบ ได้แก่จันทรุปราคาแบบเงามัว แบบบางส่วน และ แบบเต็มดวง
จันทรุปราคา
  1.2   สุริยุปราคา   เกิดเมื่อดวงจันทร์  อยู่ตรงกับดวงอาทิตย์เงาของดวงจันทร์ทอดยาวตกลงบนพื้นโลก  สุริยุปราคาแบ่งย่อย ตามลักษณะการเกิดได้หลายแบบเช่นกัน ได้แก่ สุริยุปราคาแบบบางส่วน แบบเต็มดวง และแบบวงเเหวน
สุริยุปราคา
รูปจันทรุปราคา รูปสุริยปราคา
2.  ฝนดาวตก  ฝนดาวตก เกิดขึ้นจากการที่วงโคจรของโลกได้เคลื่อนที่ผ่านเข้าไปในแนวเส้นทางที่ดาวหางเคยผ่านมาก่อน ซึ่งจะทิ้งเศษซากก้อนหิน และฝุ่นผงไว้มากมาย  ในอวกาศ แล้วโลกก็ดูดฝุ่นผง เหล่านั้น  ตกลงมาในชั้นบรรยากาศของโลก
3.   จุดดำบนดวงอาทิตย์  ( sunspot) เป็นปรากฏการณ์บนพื้นผิวดวงอาทิตย์  ที่สังเกตได้ง่ายที่สุด  มักจะเกิดเป็นกลุ่ม และสลายตัวได้เร็ว
4. ดาวหาง  ประกอบด้วยฝุ่นและ น้ำแข็งสกปรกเมื่อโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์น้ำแข็งจะระเหิดกลายเป็นหางก๊าซและ  หางฝุ่น ทำให้เราเห็นเป็นระยะทางยาว  ดาวหางมีคาบการโคจรสั้นก็จะวนเวียนอยู่ในระบบสุริยะ
รูปฝนดาวตก รูปจุดดำบนดวงอาทิตย์ รูปดาวหาง
คำถามท้ายบท 1.  ลักษณะของจุดดำบนดวงอาทิตย์มีลักษณะเป็นอย่างไร ก .  เกิดเป็นก้อน สลายตัวช้า ข .  เกิดเป็นผง  ล่องลอยอยู่ในอากาศ ค .  เกิดเป็นกลุ่ม สลายตัวช้า ง .  เกิดเป็นกลุ่มสลายตัวได้อย่างรวดเร็ว
ถูกต้องค่ะ ง .  เกิดเป็นกลุ่มสลายตัวได้อย่างรวดเร็ว
2.  ดาวหางประกอบด้วยอะไรบ้าง ก .  ฝุ่นและก๊าซไนโตรเจน ข .  ฝุ่นและก๊าซออกซิเจน ค .  ฝุ่นและน้ำ ง .  ฝุ่นและน้ำแข็ง
ถูกต้องค่ะ ง .  ฝุ่นและน้ำแข็ง
การปรับสภาวะดำเนินชีวิตให้เหมาะสมกับฤดูกาล
การปรับตัว ( Adaptation)   หมายถึง กระบวนการที่สิ่งมีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ที่อาศัยอยู่ เพื่อการอยู่รอดและ สามารถสืบพันธุ์ต่อไปได้
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตมีหลายประการ ได้แก่ การแสวงหาอาหาร การสืบพันธุ์  การต่อสู้กับศัตรู และ   การหลบหลีกศัตรู
รูปการสืบพันธุ์ รูปการหลบหลีกศัตรู
คำถามท้ายบท 1.  ปัจจัยทีเกี่ยวข้องกับการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตมีอะไรบ้าง ที่เป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุด ก .  การแสวงหาอาหาร การสืบพันธุ์ การต่อสู้ศัตรู ข .  การพึ่งพาอาศัยกัน การออกล่าอาณาเขต การหวงถิ่น ค .  การมีหัวหน้าฝูง การแสวงหาอาหาร การสืบพันธุ์ ง .  การมีหัวหน้าฝูง การสืบพันธุ์  การต่อสู้ศัตรู
ถูกต้องค่ะ ก .  การแสวงหาอาหาร การสืบพันธุ์ การต่อสู้ศัตรู
2.  การปรับตัวมีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด ก . กระบวนการที่สิ่งมีชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่เพื่อการอยู่รอดและสามรถสืบพันธุ์ต่อไปได้ ข . กระบวนการที่สิ่งมีชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่เพื่อการอยู่รอด ค . กระบวนการที่สิ่งมีชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่เพื่อการอยู่รอดและสามรถเป็นจ่าฝูง ง . กระบวนการที่สิ่งมีชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่เพื่อการอยู่รอดและสามารถเลี้ยงลูกได้
ถูกต้องค่ะ ก .  กระบวนการที่สิ่งมีชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่เพื่อการอยู่รอดและสามรถสืบพันธุ์ต่อไปได้
การกำเนิดโลกและตัวเราเอง
การกำเนิดโลก   โลก ดวงอาทิตย์ และระบบสุริยะกำเนิดขึ้นมาพร้อมกัน เมื่อราว  4,600  ล้านปีก่อน  จากกลุ่มก๊าซ หรือเนบิวลากลุ่มหนึ่ง  เกิดจากการหมุนรอบตัวเองตลอดเวลา  ทำให้กลุ่มก๊าซค่อยๆหดตัวลง ในขณะที่ความเร็ว  ในการหมุนรอบตัวเองเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
กลุ่มก๊าซที่อยู่ด้านในจะเริ่มรวมตัวเป็นดวงอาทิตย์ กลุ่มก๊าซที่อยู่ด้านนอกจะค่อยๆแยกตัวออกมาเป็นวง - แหวนหลายวงแหวน และ  ในแต่ละวงแหวน จะเกิดการรวมกลุ่มกัน กำเนิดเป็นดาวบริวาร หรือดาวเคราะห์ ทั้ง  8  ดวง รวมทั้ง โลกของเรา และ ดวงจันทร์ของดาวเคราะห์  แต่ละดวงด้วย ส่วนที่เหลือกลายเป็น   ดาวเคราะห์น้อย  ดาวหาง อุกาบาตร และเทหวัตถุอื่นๆ ในระบบสุริยะ
จากองค์ประกอบของโลกในช่วงกำเนิดใหม่ๆที่ประกอบไปด้วย ไฮโดรเจน ฮีเลี่ยม คาร์บอน และธาตุ ที่หนักกว่า จึงมีลักษณะเป็นก้อนกลมของเหลว  ที่หลอมละลาย หมุนรอบตัวเอง และโคจรรอบ  ดวงอาทิตย์อยู่ตลอดเวลา ธาตุหนัก เช่นเหล็ก  จะจมลง ไปอยู่แกนกลางของโลก
เมื่อเวลาผ่านไป เปลือกนอกของโลก จะค่อยๆเย็นตัวลง กลายเป็นชั้นหิน ส่วนด้านในของโลกส่วนมากจะยังคงเป็นธาตุหลอมเหลว ช่วงแรกของโลกจึงปกคลุมไปด้วยภูเขาไฟ ลาวา ทะเลเพลิง ทะเลเมฆ ทะเลหมอก  พื้นผิวของโลก ก็ยังไม่ใช่อย่างที่เห็นในปัจจุบัน  มีการเกิดภูเขา ทำให้แผ่นดินสูงขึ้นมา แผ่นดินไหว  ทำให้แผ่นดินพัง หรือยุบตัวหายไป อยู่ตลอดเวลา
ฝนที่ตกลงมา จะละลายรวมเอาก๊าซ  บางอย่างเช่น มีเทน แอมโมเนีย หรือ  ซัลเฟอร์ไดออกไซด์  ทำให้  มีสภาพ  เป็นกรด กัดกร่อนพื้นผิวโลก กลายเป็นหิน และดินต่างๆ กลายเป็นแผ่นดิน และทวีปขึ้นมา
การกำเนิดตนเอง
โครงสร้างพื้นฐานของชีวิต คือเซลล์ ประกอบด้วย โปรตีน และ ดีเอ็นเอ หรือ อาร์เอ็นเอ จากสภาพของโลกในอดีต ด้วยความบังเอิญ จึงเกิดสภาพการเหมาะสม อย่างพอดิบพอดี ทำให้เกิดเซลล์ อย่างง่ายๆ ลักษณะคล้ายเซลล์ของแบคทีเรียในปัจจุบันขึ้นมา    เซลล์คล้ายแบคทีเรียนี้ เรียกว่า โปรคาริโอต  ( Prokaryotes)  ยังไม่มีนิวเคลียส สารพันธุกรรม จึงกระจายอยู่ทั่วไปในเซลล์ โปรคาริโอต
สามารถสืบพันธุ์ได้โดยไม่อาศัยเพศ เป็นการกำเนิดชีวิต  บนโลกรุ่นแรก สาหร่ายสีเขียวแกม - น้ำเงินเป็น โปรคาริโอต ที่สามารถสังเคราะห์แสง ได้ผลผลิตเป็น  ก๊าซออกซิเจน ลอยขึ้น  สู่ชั้นบรรยากาศโลก   โปรคาริโอต ( Prokaryotes)  ปัจจุบันแบ่งโปรคาริโอต เป็น อาร์เคีย และแบคทีเรีย
 
คำถามท้ายบท   1.  การกำเนิดโลก ดวงอาทิตย์ และ ระบบสุริยะ กำเนิดเมื่อใด ก . 4,601  ล้านปีก่อน ข . 7,00  ล้านปีก่อน ค . 4,600  ล้านปีก่อน ง . 4,660  ล้านปีก่อน
ถูกต้องค่ะ ค . 4,600  ล้านปีก่อน
2.  สิ่งมีชีวิตสิ่งแรกที่เกิดขึ้นบนโลก คือ ก .  สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน ข .  สาหร่ายสีเขียว ค .  สาหร่าย ง .  แบคทีเรีย
ถูกต้องค่ะ ก .  สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน

More Related Content

What's hot

ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)Miewz Tmioewr
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ narongsakday
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55yadanoknun
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar systemJiraporn
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิมPornthip Nabnain
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (19)

Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
Astro & space technology
Astro & space technologyAstro & space technology
Astro & space technology
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar system
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 

Viewers also liked

Exploring the best method of forecasting for short term electrical energy demand
Exploring the best method of forecasting for short term electrical energy demandExploring the best method of forecasting for short term electrical energy demand
Exploring the best method of forecasting for short term electrical energy demandMesut Günes
 
Software development life cycle yazılım geliştirme yaşam döngüsü
Software development life cycle   yazılım geliştirme yaşam döngüsüSoftware development life cycle   yazılım geliştirme yaşam döngüsü
Software development life cycle yazılım geliştirme yaşam döngüsüMesut Günes
 
Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 1
Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 1Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 1
Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 1Mesut Günes
 
Regular Expression (Regex) Fundamentals
Regular Expression (Regex) FundamentalsRegular Expression (Regex) Fundamentals
Regular Expression (Regex) FundamentalsMesut Günes
 
Test automation methodologies
Test automation methodologiesTest automation methodologies
Test automation methodologiesMesut Günes
 
Vida condominial final
Vida condominial finalVida condominial final
Vida condominial finalHamiltonrice
 
Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 2
Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 2Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 2
Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 2Mesut Günes
 

Viewers also liked (15)

ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
Dia Strat Pro
Dia Strat ProDia Strat Pro
Dia Strat Pro
 
Computer parts
Computer partsComputer parts
Computer parts
 
Computer parts
Computer partsComputer parts
Computer parts
 
Exploring the best method of forecasting for short term electrical energy demand
Exploring the best method of forecasting for short term electrical energy demandExploring the best method of forecasting for short term electrical energy demand
Exploring the best method of forecasting for short term electrical energy demand
 
Software development life cycle yazılım geliştirme yaşam döngüsü
Software development life cycle   yazılım geliştirme yaşam döngüsüSoftware development life cycle   yazılım geliştirme yaşam döngüsü
Software development life cycle yazılım geliştirme yaşam döngüsü
 
Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 1
Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 1Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 1
Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 1
 
Regular Expression (Regex) Fundamentals
Regular Expression (Regex) FundamentalsRegular Expression (Regex) Fundamentals
Regular Expression (Regex) Fundamentals
 
Test automation methodologies
Test automation methodologiesTest automation methodologies
Test automation methodologies
 
References
ReferencesReferences
References
 
Pages de mk 10 202
Pages de mk 10 202Pages de mk 10 202
Pages de mk 10 202
 
Vida condominial final
Vida condominial finalVida condominial final
Vida condominial final
 
Records management
Records managementRecords management
Records management
 
How to Pick a PR Firm
How to Pick a PR FirmHow to Pick a PR Firm
How to Pick a PR Firm
 
Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 2
Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 2Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 2
Test Mühendisliğine Giriş Eğitimi - Bölüm 2
 

Similar to ม611(แก้)

ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1onchalermpong
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401Png Methakullachat
 
กลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีnetissfs
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxบทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxssuserfffbdb
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2557
 

Similar to ม611(แก้) (20)

Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
 
Stars
StarsStars
Stars
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
กลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มดาวจักรราศี
กลุ่มดาวจักรราศี
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxบทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 

ม611(แก้)