Diese Präsentation wurde erfolgreich gemeldet.
Die SlideShare-Präsentation wird heruntergeladen. ×

Case Study : Viral Marketing

Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Wird geladen in …3
×

Hier ansehen

1 von 13 Anzeige

Weitere Verwandte Inhalte

Ähnlich wie Case Study : Viral Marketing (20)

Anzeige

Weitere von Sorawit Yuenyongvithayakul (18)

Aktuellste (20)

Anzeige

Case Study : Viral Marketing

  1. 1. Jirattipan 5350028 Napapun 5350037 Warothai 5350040 Sorawit 5350042 Uthai 5350143
  2. 2. What is viral marketing “ Marketing phenomenon that facilitates and encourages people to pass along a marketing message . ”
  3. 3. Channels of viral marketing <ul><li>E-mail marketing - Hotmail </li></ul><ul><li>VDO marketing – Will it Blend </li></ul><ul><li>Gift marketing – Uniqlo, Freetex </li></ul><ul><li>Social network marketing – Planking </li></ul>
  4. 4. 7 Tricks to viral web Marketing <ul><li>Make people feel something </li></ul><ul><li>Do something unexpected </li></ul><ul><li>Don’t try to make advertisement </li></ul><ul><li>Make sequels </li></ul><ul><li>Allow sharing, downloading & embedding </li></ul><ul><li>Connect with comment </li></ul><ul><li>Never restrict access </li></ul>
  5. 5. Classic Case : Hotmail <ul><li>  A subscriber base more rapidly than any company in the history of the world </li></ul><ul><li>First 1.5 years,5000 registered users to 12 million users. </li></ul>In 1996 Hotmail release simple Tag “Get your private, free e-mail at hotmail.com”
  6. 6. Will it Blend <ul><li>The Blendtec video campaign has been successful in increasing brand awareness and sales. Reports indicate that the viral video campaign boosted retail sales of Blendtec by as much as over 700%. </li></ul>From learningfrombigboys.com
  7. 7. Planking
  8. 8. Planking <ul><li>In 1997, 2 UK friend , Gary Clarkson and Christian Langdon create a called ‘Lying down game’ </li></ul><ul><li>In 2006, The group was created on Facebook </li></ul><ul><li>In early 2011, The game resurfaced with the name “Planking ” </li></ul>It started to become a sensational news story in Australian media.
  9. 9. Planking <ul><li>S pread when Australian rugby player David “Wolfman” Williams started using it as a signature move during rugby games on 27th Mar 2011 </li></ul>
  10. 10. Planking <ul><li>further spread when Australian fell to his death after reportedly attempting a plank on 15th Ma y 2011. </li></ul>
  11. 11. Planking and Viral …. ตัวอย่างการทำ Viral Marketing เกาะกระแส Planking โดยหลักสูตรผู้นำยุคใหม่ในระบอบประชาธิปไตย รุ่นที่ 1 ( ปนป .1) สถาบันสถาบันพระปกเกล้า
  12. 12. Heineken Vs. Carlton Draught VS
  13. 13. Viral Marketing

Hinweis der Redaktion

  • เป็นที่นิยมกันมากๆ สำหรับวิธีนี้ แต่กว่าเราจะหา E-mail ของผู้ใช้ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายเราได้นั้น บ้างครั้งมันหาได้ยากเย็นแสนเข็น แต่ .. ถ้าหากเราไม่มี E-mail ของกลุ่มเป้าหมายของผู้ใช้เราจะทำยังไงละ ! หลายๆ ท่านอาจจะเลือกที่จะข้ามการตลาดแบบ E-mail แบบนี้ไปเลยใช่ไหมละครับแต่เดียวก่อน .. ใช่ว่าจะไม่มีทางออกซะทีเดียวครับ ทางออกที่น่าจะเป็นทางเลือกของคุณวิธีที่ว่านั้นก็คืออาศัยช่องทางการ Forward mail ของผู้ใช้ไงละครับ ( Viral Marketing) ผมมั่นใจกว่าทุกท่านคงเคยได้รับ Forward mail หลายๆ รูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนพ่อมด ( ที่มีคนโดดและถ่ายรูปขั้นเทพ แสดงจนนึกว่ากำลังขี่ไม้กวาดกันจริงๆ ) หรือเรื่องล่าสุดที่ผมได้รับคือ MSN หรรษา ( บทความอยู่ข้างล่างลองอ่านดูครับ ตลกดีครับ ) ลองคิดอีกสักนิดซิครับ หากเราสอดแทรก ดัดแปลง นำสินค้า โลโก้ สโลแกน สอดแทรกเข้าไปยัง E-mail ได้แล้วมีการ Forward ต่อมันจะดีแค่ไหน .. ทิ้งไว้เป็นไอเดีย สำหรับคุณผู้อ่าน ซึ่งก็เคยมีโรงแรม โรงแรมหนึ่งที่จ้างตากล้องมาถ่ายภาพ จากนั้นก็เริ่ม  Forward เองจนกระทั่งผู้ที่ได้อ่านแล้วถูกใจจึง Forward  ต่อๆกันไปอีก เอาเป็นว่าลองไปคิดต่อยอดประยุกต์ให้เข้ากับตัวเองดูนะครับ โดยคำถามที่ผมจะถามทิ้งไว้คือ “ จะทำยังไงให้คนอ่าน E-mail แล้วต้อง Forward mail ทันทีที่อ่านจบ ” หมายเหตุ อย่าเล่นแบบลูกโซ่ ระวังโดนด่าครับ    2. VDO Marketing แน่นอนว่าคงมีตัวอย่างมามากมายหลายตัวอย่างแล้ว เช่น Phoenix สื่อรัก มช . ที่ขายไอเดียสุดเจ๋งโดยการรับจ้างบอกรักและ Wonder Gays สาว ( หนุ่ม ) น้อยเหล่านี้แทบไม่ต้องคิดอะไรแต่ Copy เขามาทั้งหมดยังดังได้ พูดง่ายๆ เกาะเขาดังนั้นละครับ ทั้งสองกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่สามารถดังจากเว็บไซต์ Youtube ได้โดยความ “ ไม่ตั้งใจ ” และไม่ได้บังเอิญทำขึ้นมา ( โดยการถ่ายไว้นั้นเป็นการถ่ายไว้ดูเล่นและส่งต่อให้เพื่อน ) แล้วทำไมถึงดังได้ละ เพราะว่าสิ่งที่พวกเขาทำนั้นมันถูกใจคนอยู่แล้ว .. ( การทำสิ่งที่แปลกใหม่มาสู่สายตาผู้อื่นมักจะได้รับทั้งคำชม คำด่าเสมอ ) กระทั่งเกิดเป็นกระแสและมีการบอกต่อขึ้นมา ซึ่งเรียกว่า Viral Marketing  และแน่นอนว่าสิ่งเหล่านี้มันเกิดจากความอยากที่จะทำ ส่วนการโปรโมตหรือบอกต่อนั้นจะเกิดขึ้นหลังจากนั้น คำถามที่ต้องถามในหัวข้อนี้คือ “ จะทำยังไงให้ผู้ที่ได้ชม Clip ต้องส่งต่อเมื่อชมเสร็จ ” 3. Social Network คือเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้ตอบโต้กันจนเกิดเป็นสังคม ( Social) จนกระทั่งกลายเป็นเครือข่าย ( Network) ที่โยงใยไปทั่วโลก เว็บไซต์ Social Network เหล่านี้ก็ยกตัวอย่างเช่น Hi5 Facebook MySpace เป็นต้น ซึ่งมันเหมาะสำหรับการสร้างแบรนให้เรามากกว่าการขายสินค้า หากเรามีเว็บไซต์เป็นของตนเองและใช้ Social Network เหล่านี้ในการโปรโมต อาจจะช่วยดึงลูกค้าจาก Social Network  เหล่านี้ได้ ถามว่าหากไม่มีเว็บไซต์เป็นของตัวเองและใช้ Social Network  เหล่านี้ในการขายสินค้าทำได้ไหม .. แน่นอนครับว่าต้องทำได้อยู่แล้ว แต่หากเราต้องการปรับปรุงอะไรมากกว่านี้นคงทำได้ยากครับ ขึ้นอยู่กับความต้องการของคุณครับ สำหรับ Social Network นั้นเราสามารถนำมาเป็นเครื่องมือสำหรับการสร้าง Viral Marketing ได้ ก็ประยุกต์จาก VDO และ E-mail Marketing ไม่มีใครบอกต่อเราก็เป็นหน้าม้าบอกต่อเองเลยครับ    4. แจกของฟรี วิธีนี้คงเป็นวิธีการที่แพร่หลายที่สุด ตัวอย่างเช่น เว็บขาย Hosting แห่งหนึ่งก็ใช้วิธีแจก Host แจกเสื้อ เว็บขายโดเมนก็ให้จดโดเมนในราคา 0$ ไม่ต่างจากการแจกฟรีเลย ซึ่งผมก็ได้เสนอวิธีไปให้กับร้านแคมหมูแม่แช่ม โดยให้ทางร้านแจกแคบหมูไปให้กับผู้ที่อยากชิม อาจจะ 100 ท่าน ซึ่งหาก 100 ท่านนี้ถูกใจในรสชาติก็จะกลับมาสั่งซื้ออีกในเว็บไซต์ และแน่นอนถ้ากลับมาซื้ออีกแล้วติดใจก็จะมีการบอกต่อแน่นอนครับ ลองไปประยุกต์ใช้ดูนะครับ
  • มาถึงเวลานี้ทุกคนคงทราบแล้วว่า Planking เป็นกระแสที่ฮิตติดลมบนในบ้านเราไปเรียบร้อยแล้ว คนพูดถึงเรื่องนี้กันบน Social Media ว่าเป็นปรากฏการณ์ที่คนจำนวนมากสามารถ “ ร่วมสนุก ” ได้โดยไม่จำเป็นต้องทำตัวตามกติกาอะไรมากมายนัก เพียงแค่เลือกโลเคชั่นที่แปลกตา ให้สาธารณชนเห็นได้ชัดเจน เพื่อสร้างกระแสความสนใจ จนเกิดการลอกเลียนแบบ Planking เป็นเพียงการเล่นแบบสนุกๆ ดูแปลกตาและตลก จนกลายเป็นกระแสบอกต่อบนโลกอินเทอร์เน็ตทั่วโลก แต่อีกแง่หนึ่ง จะสังเกตได้อีกอย่างว่าตอนนี้ Planking มันกำลังอยู่ในกระแส ใครๆ ก็ใช้มันเรียกร้องความสนใจให้กับตัวเอง แม้จะไม่ได้ทำอะไรใหม่ และมัีนเรียกร้องความสนใจของสื่อมวลชนกระแสหลัก และขณะเดียวกันก็ถูกใจคนบนโลกอินเทอร์เน็ต จนมีคนเปิดเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อประชาสัมพันธ์ Planking บน Facebook ราวกับดอกเห็ด สาระสำคัญ ก็คือ Planking เรียกร้องความสนใจจนสื่อกระแสหลักเอาไปพูดถึงให้มันเหมือนเป็น “ ข่าวแปลก ” หรือ Odd spot  ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการสร้างกระแสบอกต่อ ใครจะเอาไปทำ Viral marketing campaign ทำให้คนทั่วไปพูดถึงเรื่องเหล่านี้และเอาแบรนด์หรือสินค้าของเราเกาะไปกับกระแสเหล่านี้ก็น่าสนใจนะครับ ใครเป็นคนเริ่มกระแสนะ ? “ Planking ” ที่จริงเริ่มต้นตั้งแต่ปี 1997 ในชื่อ “ Lying Down game ” ริเริ่มโดยฝรั่งสองนาย Gary Clarkson และ Christian Langdon และได้รับความนิยมในย่าน North East England เล่นกันต่อมาเรื่อยๆ จนปี 2006 เริ่มก่อตั้ง กลุ่มใน facebook และดังไปทั่วสหราชอาณาจักรในช่วงหน้าร้อนปี 2009 จากนั้นก็ลามไปทั่วโลก คนที่เล่นมีทุกอาชีพ จนมีข่าวว่าพนักงานในองค์กรใดๆ ทำแล้วก็ถูกไล่ออกจากงาน หรือแม้กระทั่งหมอกับพยาบาลเล่น Planking กันแล้วโดนพักงาน เพราะนักวิจารณ์สังคมก็ออกมาวิพากษ์ผ่านสื่อว่าเป็นเกมไร้สาระ และต่อมาก็มีชาวออสเตรเลียนหลายคนเอาเกม Lying Down นี้กลับมาเล่นใหม่ โดยใช้คำว่า “ planking ” และดังขึ้นมาอีก จนลามมาถึงบ้านเราในที่สุด Planking จับความสนใจสื่อกระแสหลักขึ้นไทยรัฐ , เรื่องเล่าเช้านี้ , เช้าดูวู้ดดี้ ล่าสุดที่เราพบก็คือเริ่มมีคนเอาไปใช้ในจุดประสงค์ทางการตลาด “ แบบขำๆ ” มากขึ้น ล่าสุดร้านอาหารชื่อดังประจำใจชาว Twitter “ เจ๊กเม้ง ” ก็ส่งรูป Planking มาให้เราดู โดยทางร้านเผยว่า “ เราทดลองให้ลูกค้าทำ Planking ที่ร้านแล้วส่งภาพเข้ามา ได้รับผลตอบรับดีครับ เรียกความสนใจได้ดีเลยครับ ”   นอกจากเจ๊กเม้งแล้วก็ยังมีสินค้าอื่นๆ อย่างทางเว็บไซต์ Dealthailand สร้างกิจกรรมร่วมสนุก “ Planking ” ชิงรางวัลเงินเครดิตในบัญชี Wallet โดยรูปไหนถูกใจกรรมการมากที่สุดในแต่ละวัน รับรางวัลไปเลยทันที ธุรกิจโหนกกระแส แพลงกิ้ง สินค้าบิ๊กเนม SMEs จ้องทำอีเวนต์สร้างตลาด   แมคฟิว่า &gt; กระแส “ Planking ” หรือการนอนคว่ำหน้า ของสาวก โซเชียลมีเดียสุดร้อนแรง ขยายวงสู่กลุ่มสินค้าและบริการมากขึ้นตาม ลำดับ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีเสือปืนไว หยิบฉวยมาทำกิจกรรมร่วม กับลูกค้า ทั้งถ่ายรูปเป็นที่ระลึก เผยแพร่ และแชตแอนด์แชร์ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ผ่านเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ ค่ายดิจิตอล เอเจนซี “ แมคฟิว่า ” คาดบิ๊กแบรนด์สินค้าจ้องตาไม่กะพริบ หากกระแสไม่ตก จะเป็นอาวุธใหม่ดึงดูดใจกลุ่มเป้าหมาย 
ความเป็นมาของ Planking นั้นก็เหมือนปรากฏการณ์ยุคดิจิตอลอื่นๆ ซึ่งไม่เป็นที่แน่ชัดนักว่าเกิดขึ้นที่ใดและใครเป็นผู้ริเริ่ม แต่คาดว่าเป็นการพัฒนามาจากเกม “ นอนคว่ำ ” ซึ่งคิดขึ้นโดย Gary Clarkson และ Christian Langdon และเริ่มเล่นกันในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษเมื่อปี 1997 จนกระทั่งแพร่ไปทั่วเกาะอังกฤษในช่วงฤดูร้อนปี 2010 ซึ่งในขณะนั้นกิจกรรมนี้ยังไม่ถูกเรียกว่า Planking 
 การเรียกกิจกรรมนี้ด้วยคำว่า Plan-king นั่นเริ่มขึ้นในปี 2011 นี้ที่ประเทศออสเตรเลีย โดยคำว่า “ Planking ” มาจากคำว่า Plank แปลว่าไม้กระดาน ดังนั้นผู้ทำ Planking จะต้องนอนคว่ำหน้า แขนแนบไว้ข้างลำตัว เหมือนแผ่นไม้กระดาน นอกจากจะนอนลงบนพื้นราบแล้ว ยังนิยมนอนบนสิ่งของแปลกๆ เช่น กำแพง ราวบันได หัวดับเพลิง ตู้ไปรษณีย์ หรือสถานที่อื่นๆเท่าที่จะคิดกันได้ ยิ่งเป็นพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยากมากเท่าไหร่ หรือสิ่งของที่ทรงตัวได้ยาก ก็จะยิ่งได้รับการยกย่องจากสังคมของชาว Planking มากตามไปด้วย 
กิจกรรม Planking โด่งดังไปทั่วโลกจากเหตุเศร้าสลดเมื่อนาย Acton Beale วัย 21 ปี ทำ Planking บนขอบระเบียงชั้น 7 ของอาคารแห่งหนึ่งในกรุงบริสเบน รัฐควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย เพื่อให้เพื่อนบันทึกภาพแต่พลาดท่าตกลงมากระแทกพื้นเสียชีวิต ซึ่งเหตุการณ์นี้ไม่เพียงเป็นที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย แต่ยังได้จุดกระแสความสนใจในการทำ Planking อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะบนโซเชียลมีเดีย 
สำหรับในประเทศไทยนั้นกระแสการ Planking ได้เข้ามาพร้อมๆ กับการเสนอข่าว ข้างต้นของสื่อมวลชนไทยในช่วงเดือนพ . ค . ที่ผ่านมา และเริ่มแพร่หลายอย่างรวดเร็วในโลกอินเตอร์เน็ต ซึ่งก็ได้มีการสร้างแฟนเฟจในเครือข่ายเฟซบุ๊กขึ้นในวันเดียวกันนั้น มาถึงทุกวันนี้มีผู้กด like ไปแล้วมากกว่าแสนคน ซึ่งไม่ใช่แค่เหล่าสาวกโซเชียลมีเดีย เฟซบุ๊ก หรือทวิตเตอร์ เท่านั้น 
แต่เหล่าดารานักแสดงเองก็ได้เข้าร่วมกระแสนี้ด้วยเช่นกัน ทั้ง อั้ม พัชราภา , บี้ เดอะสตาร์ , น้าเน็ค , ดีเจเจมส์ EFM, เคน วง zeal เป็นต้น และเมื่อดูจากสถิติ Twitter จาก Thaitrend ก็พบว่า การติดแท็ก “ #Planking ” ในข้อความที่ทวิตเกี่ยวกับการเล่นเกมนอนคว่ำนี้มีผู้นิยมใช้ติดอันดับสูงถึงอันดับ 6 ของแท็กที่คนใช้ทั่วประเทศ 
จากกระแสที่มาแรงจนทำให้มีผู้ทำ Planking เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก็ย่อมเป็นธรรมดาที่จากการแบ่งปันภาพถ่ายกัน จะเริ่มพัฒนาเป็นประชันขันแข่งกันว่าใครที่มีไอเดียและความสามารถที่จะ Planking ได้สร้างสรรค์และแหวกแนวกว่ากัน ซึ่งในสังคม ออนไลน์ของประเทศต่างๆ เช่น สิงคโปร์ ก็มีการจัดประกวดกันเพื่อชิงรางวัลเล็กๆน้อยๆ กันบ้างแล้ว นอกจากนี้ก็ยังมีผู้นำการ Planking มาเป็นเครื่องมือทางการตลาด ด้วยการประกวดชิงรางวัล พร้อมโปรโมตแบรนด์ ของตน เช่น Vans Warped Tour ได้จัดประกวด Planking ทั่วประเทศอเมริกาเพื่อชิงตั๋วคอนเสิร์ต 
ในประเทศไทยเองก็เริ่มเห็นการตลาด planking บ้างแล้ว เช่น ร้านเจ๊กเม้ง ร้านก๋วยเตี๋ยวขวัญใจชาว twitter ได้ทดลองให้ลูกค้าทำ Planking ที่ร้านแล้วส่งภาพเข้ามาซึ่งก็ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี และเว็บไซต์ Dealthailand ที่ได้จัดกิจกรรม “ Dealthailand Planking contest ” โดยให้สมาชิกส่งรูปการทำ Planking ของตนเองเข้ามา ซึ่งรูปไหนถูกใจกรรมการมากที่สุดในแต่ละวันจะได้รับรางวัลเป็นเงินเครดิตในบัญชี Wallet ของเว็บไซต์ นอกจากนี้ยังมีการจัดประกวดของนิตยสารตะลอน ซึ่งเป็นนิตยสาร ท่องเที่ยวออนไลน์ เป็นต้น
 “ แม้จะมีการใช้ Planking ในทางการตลาดจากหลากหลายกิจการในโลกออนไลน์ทั้งในและต่างประเทศ แต่ยังจำกัดวงอยู่แค่ผู้ประกอบการในระดับเอสเอ็มอีเท่านั้น โดยกลุ่มธุรกิจสินค้าหรือบริการขนาดใหญ่ ยังคงรอดูท่าทีของกระแสนี้อยู่ ส่วนหนึ่งคงมาจากความคิดเห็นด้านลบของคนทั่วไปที่มีต่อกิจกรรมนี้ ที่มักจะมองว่าไม่มีสาระ สะท้อนจากผลโหวตทาง SMS ของรายการเรื่องเล่าเสาร์อาทิตย์ทางสถานีโทรทัศน์ช่องสาม ในสัปดาห์ที่ผ่านมาซึ่งผู้โหวตส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นว่าเป็นกิจกรรมที่ไร้สาระ ” ดร . ศุภชัย ปาจริยานนท์ กรรมการผู้จัดการ แมคฟีว่า ดิจิตอล เอเจนซี่ ให้ความเห็น “ สยามธุรกิจ ” 
เขาระบุอีกว่า บิ๊กแบรนด์สินค้าหรือบริการหลายประเภท ยังคงจับตาดูเทรนด์ แพลงกิ้ง อยู่อย่างใกล้ชิดว่าจะยังคงเป็นกระแสที่ฮอตฮิตอีกนานมากน้อยแค่ไหน เนื่องเพราะด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคในโลกออนไลน์ หรือชุมชนโซเชียลมีเดีย ส่วนใหญ่จะรักง่าย หน่ายเร็ว นิยมชมชอบไปตาม กลุ่มเพื่อนๆ หรือคนใกล้ชิด เพียงแค่ระยะเวลาสั้นๆ ตรงกันข้ามหากกระแสนี้มีพัฒนา การในเชิงสร้างสรรค์มากขึ้น ก็คงจะเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือสื่อสารทางการตลาดของ แบรนด์สินค้าและบริการ ด้วยการปรับประยุกต์ให้สอดรับกับตัวสินค้า 
ทั้งนี้ แม้ปัจจุบันภาพลักษณ์ของ Planking อาจดูไม่ค่อยสร้างสรรค์ ท่าทางอาจดูแผลงๆ และพิสดารเสียมากกว่า ส่งผลให้เกิดกระแสใหม่ “ Lavitates ” หรือการถ่ายภาพขณะลอยตัวทำกิจกรรมต่างๆ เช่นเดียวกับการจุดพลุกระแส “ พับเพียบไทยแลนด์ ” ด้วยการนั่งพับเพียบเรียบร้อยในสถานที่ต่างๆ ที่นอกจากจะล้อไปกับกระแสแพลงกิ้งข้างต้นแล้ว ยังถือเป็นการส่งเสริมกิริยามารยาทไทย ที่จัดเป็นกิจกรรมทางบวก ในเวลาเดียวกัน โดยเพียงแค่สัปดาห์แรกกระแสนี้ก็ได้การตอบรับในโซเชียลมีเดีย แล้ว ร่วม 2 แสนราย https://www.youtube.com/watch?v=gOaVHjMFuz8 &gt; VDO Planking รณรงค์หาเสียง
  • มาถึงเวลานี้ทุกคนคงทราบแล้วว่า Planking เป็นกระแสที่ฮิตติดลมบนในบ้านเราไปเรียบร้อยแล้ว คนพูดถึงเรื่องนี้กันบน Social Media ว่าเป็นปรากฏการณ์ที่คนจำนวนมากสามารถ “ ร่วมสนุก ” ได้โดยไม่จำเป็นต้องทำตัวตามกติกาอะไรมากมายนัก เพียงแค่เลือกโลเคชั่นที่แปลกตา ให้สาธารณชนเห็นได้ชัดเจน เพื่อสร้างกระแสความสนใจ จนเกิดการลอกเลียนแบบ Planking เป็นเพียงการเล่นแบบสนุกๆ ดูแปลกตาและตลก จนกลายเป็นกระแสบอกต่อบนโลกอินเทอร์เน็ตทั่วโลก แต่อีกแง่หนึ่ง จะสังเกตได้อีกอย่างว่าตอนนี้ Planking มันกำลังอยู่ในกระแส ใครๆ ก็ใช้มันเรียกร้องความสนใจให้กับตัวเอง แม้จะไม่ได้ทำอะไรใหม่ และมัีนเรียกร้องความสนใจของสื่อมวลชนกระแสหลัก และขณะเดียวกันก็ถูกใจคนบนโลกอินเทอร์เน็ต จนมีคนเปิดเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อประชาสัมพันธ์ Planking บน Facebook ราวกับดอกเห็ด สาระสำคัญ ก็คือ Planking เรียกร้องความสนใจจนสื่อกระแสหลักเอาไปพูดถึงให้มันเหมือนเป็น “ ข่าวแปลก ” หรือ Odd spot  ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการสร้างกระแสบอกต่อ ใครจะเอาไปทำ Viral marketing campaign ทำให้คนทั่วไปพูดถึงเรื่องเหล่านี้และเอาแบรนด์หรือสินค้าของเราเกาะไปกับกระแสเหล่านี้ก็น่าสนใจนะครับ ใครเป็นคนเริ่มกระแสนะ ? Origin In 2006, two UK friends Gary Clarkson and Christian Langdon created a Facebook group, which attracted over 1500 facebook users within the first two weeks . [1] Dubbed as “the most bizarre internet meme” by blogs and local news media, the game eventually went international with contributions from across the world . Today, Lying Down Game’s Facebook page boasts over 99,000 followers and 19,000+ image submissions . While similar to Playing Dead , it seems the two games grew independently of each other . The Lying Down Game challenges players to lie down in the most outlandish places possible and the players are meant to appear alive when the photo is taken . “ Planking ” ที่จริงเริ่มต้นตั้งแต่ปี 1997 ในชื่อ “ Lying Down game ” ริเริ่มโดยฝรั่งสองนาย Gary Clarkson และ Christian Langdon และได้รับความนิยมในย่าน North East England เล่นกันต่อมาเรื่อยๆ และดังไปทั่วสหราชอาณาจักรในช่วงหน้าร้อนปี 2009 จากนั้นก็ลามไปทั่วโลก คนที่เล่นมีทุกอาชีพ จนมีข่าวว่าพนักงานในองค์กรใดๆ ทำแล้วก็ถูกไล่ออกจากงาน หรือแม้กระทั่งหมอกับพยาบาลเล่น Planking กันแล้วโดนพักงาน เพราะนักวิจารณ์สังคมก็ออกมาวิพากษ์ผ่านสื่อว่าเป็นเกมไร้สาระ และต่อมาก็มีชาวออสเตรเลียนหลายคนเอาเกม Lying Down นี้กลับมาเล่นใหม่ โดยใช้คำว่า “ planking ” และดังขึ้นมาอีก จนลามมาถึงบ้านเราในที่สุด Planking จับความสนใจสื่อกระแสหลักขึ้นไทยรัฐ , เรื่องเล่าเช้านี้ , เช้าดูวู้ดดี้ ล่าสุดที่เราพบก็คือเริ่มมีคนเอาไปใช้ในจุดประสงค์ทางการตลาด “ แบบขำๆ ” มากขึ้น ล่าสุดร้านอาหารชื่อดังประจำใจชาว Twitter “ เจ๊กเม้ง ” ก็ส่งรูป Planking มาให้เราดู โดยทางร้านเผยว่า “ เราทดลองให้ลูกค้าทำ Planking ที่ร้านแล้วส่งภาพเข้ามา ได้รับผลตอบรับดีครับ เรียกความสนใจได้ดีเลยครับ ”   นอกจากเจ๊กเม้งแล้วก็ยังมีสินค้าอื่นๆ อย่างทางเว็บไซต์ Dealthailand สร้างกิจกรรมร่วมสนุก “ Planking ” ชิงรางวัลเงินเครดิตในบัญชี Wallet โดยรูปไหนถูกใจกรรมการมากที่สุดในแต่ละวัน รับรางวัลไปเลยทันที ธุรกิจโหนกกระแส แพลงกิ้ง สินค้าบิ๊กเนม SMEs จ้องทำอีเวนต์สร้างตลาด   แมคฟิว่า &gt; กระแส “ Planking ” หรือการนอนคว่ำหน้า ของสาวก โซเชียลมีเดียสุดร้อนแรง ขยายวงสู่กลุ่มสินค้าและบริการมากขึ้นตาม ลำดับ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีเสือปืนไว หยิบฉวยมาทำกิจกรรมร่วม กับลูกค้า ทั้งถ่ายรูปเป็นที่ระลึก เผยแพร่ และแชตแอนด์แชร์ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ผ่านเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ ค่ายดิจิตอล เอเจนซี “ แมคฟิว่า ” คาดบิ๊กแบรนด์สินค้าจ้องตาไม่กะพริบ หากกระแสไม่ตก จะเป็นอาวุธใหม่ดึงดูดใจกลุ่มเป้าหมาย 
ความเป็นมาของ Planking นั้นก็เหมือนปรากฏการณ์ยุคดิจิตอลอื่นๆ ซึ่งไม่เป็นที่แน่ชัดนักว่าเกิดขึ้นที่ใดและใครเป็นผู้ริเริ่ม แต่คาดว่าเป็นการพัฒนามาจากเกม “ นอนคว่ำ ” ซึ่งคิดขึ้นโดย Gary Clarkson และ Christian Langdon และเริ่มเล่นกันในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษเมื่อปี 1997 จนกระทั่งแพร่ไปทั่วเกาะอังกฤษ ในช่วงฤดูร้อนปี 2010 ซึ่งในขณะนั้นกิจกรรมนี้ยังไม่ถูกเรียกว่า Planking 
 การเรียกกิจกรรมนี้ด้วยคำว่า Plan-king นั่นเริ่มขึ้นในปี 2011 นี้ที่ประเทศออสเตรเลีย โดยคำว่า “ Planking ” มาจากคำว่า Plank แปลว่าไม้กระดาน ดังนั้นผู้ทำ Planking จะต้องนอนคว่ำหน้า แขนแนบไว้ข้างลำตัว เหมือนแผ่นไม้กระดาน นอกจากจะนอนลงบนพื้นราบแล้ว ยังนิยมนอนบนสิ่งของแปลกๆ เช่น กำแพง ราวบันได หัวดับเพลิง ตู้ไปรษณีย์ หรือสถานที่อื่นๆเท่าที่จะคิดกันได้ ยิ่งเป็นพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยากมากเท่าไหร่ หรือสิ่งของที่ทรงตัวได้ยาก ก็จะยิ่งได้รับการยกย่องจากสังคมของชาว Planking มากตามไปด้วย 
 กิจกรรม Planking โด่งดังไปทั่วโลกจากเหตุเศร้าสลดเมื่อนาย Acton Beale วัย 21 ปี ทำ Planking บนขอบระเบียงชั้น 7 ของอาคารแห่งหนึ่งในกรุงบริสเบน รัฐควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย เพื่อให้เพื่อนบันทึกภาพแต่พลาดท่าตกลงมากระแทกพื้นเสียชีวิต ซึ่งเหตุการณ์นี้ไม่เพียงเป็นที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย แต่ยังได้จุดกระแสความสนใจในการทำ Planking อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะบนโซเชียลมีเดีย 
สำหรับในประเทศไทยนั้นกระแสการ Planking ได้เข้ามาพร้อมๆ กับการเสนอข่าว ข้างต้นของสื่อมวลชนไทยในช่วงเดือนพ . ค . ที่ผ่านมา และเริ่มแพร่หลายอย่างรวดเร็วในโลกอินเตอร์เน็ต ซึ่งก็ได้มีการสร้างแฟนเฟจในเครือข่ายเฟซบุ๊กขึ้นในวันเดียวกันนั้น มาถึงทุกวันนี้มีผู้กด like ไปแล้วมากกว่าแสนคน ซึ่งไม่ใช่แค่เหล่าสาวกโซเชียลมีเดีย เฟซบุ๊ก หรือทวิตเตอร์ เท่านั้น 
แต่เหล่าดารานักแสดงเองก็ได้เข้าร่วมกระแสนี้ด้วยเช่นกัน ทั้ง อั้ม พัชราภา , บี้ เดอะสตาร์ , น้าเน็ค , ดีเจเจมส์ EFM, เคน วง zeal เป็นต้น และเมื่อดูจากสถิติ Twitter จาก Thaitrend ก็พบว่า การติดแท็ก “ #Planking ” ในข้อความที่ทวิตเกี่ยวกับการเล่นเกมนอนคว่ำนี้มีผู้นิยมใช้ติดอันดับสูงถึงอันดับ 6 ของแท็กที่คนใช้ทั่วประเทศ 
จากกระแสที่มาแรงจนทำให้มีผู้ทำ Planking เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก็ย่อมเป็นธรรมดาที่จากการแบ่งปันภาพถ่ายกัน จะเริ่มพัฒนาเป็นประชันขันแข่งกันว่าใครที่มีไอเดียและความสามารถที่จะ Planking ได้สร้างสรรค์และแหวกแนวกว่ากัน ซึ่งในสังคม ออนไลน์ของประเทศต่างๆ เช่น สิงคโปร์ ก็มีการจัดประกวดกันเพื่อชิงรางวัลเล็กๆน้อยๆ กันบ้างแล้ว นอกจากนี้ก็ยังมีผู้นำการ Planking มาเป็นเครื่องมือทางการตลาด ด้วยการประกวดชิงรางวัล พร้อมโปรโมตแบรนด์ ของตน เช่น Vans Warped Tour ได้จัดประกวด Planking ทั่วประเทศอเมริกาเพื่อชิงตั๋วคอนเสิร์ต 
ในประเทศไทยเองก็เริ่มเห็นการตลาด planking บ้างแล้ว เช่น ร้านเจ๊กเม้ง ร้านก๋วยเตี๋ยวขวัญใจชาว twitter ได้ทดลองให้ลูกค้าทำ Planking ที่ร้านแล้วส่งภาพเข้ามาซึ่งก็ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี และเว็บไซต์ Dealthailand ที่ได้จัดกิจกรรม “ Dealthailand Planking contest ” โดยให้สมาชิกส่งรูปการทำ Planking ของตนเองเข้ามา ซึ่งรูปไหนถูกใจกรรมการมากที่สุดในแต่ละวันจะได้รับรางวัลเป็นเงินเครดิตในบัญชี Wallet ของเว็บไซต์ นอกจากนี้ยังมีการจัดประกวดของนิตยสารตะลอน ซึ่งเป็นนิตยสาร ท่องเที่ยวออนไลน์ เป็นต้น
 “ แม้จะมีการใช้ Planking ในทางการตลาดจากหลากหลายกิจการในโลกออนไลน์ทั้งในและต่างประเทศ แต่ยังจำกัดวงอยู่แค่ผู้ประกอบการในระดับเอสเอ็มอีเท่านั้น โดยกลุ่มธุรกิจสินค้าหรือบริการขนาดใหญ่ ยังคงรอดูท่าทีของกระแสนี้อยู่ ส่วนหนึ่งคงมาจากความคิดเห็นด้านลบของคนทั่วไปที่มีต่อกิจกรรมนี้ ที่มักจะมองว่าไม่มีสาระ สะท้อนจากผลโหวตทาง SMS ของรายการเรื่องเล่าเสาร์อาทิตย์ทางสถานีโทรทัศน์ช่องสาม ในสัปดาห์ที่ผ่านมาซึ่งผู้โหวตส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นว่าเป็นกิจกรรมที่ไร้สาระ ” ดร . ศุภชัย ปาจริยานนท์ กรรมการผู้จัดการ แมคฟีว่า ดิจิตอล เอเจนซี่ ให้ความเห็น “ สยามธุรกิจ ” 
เขาระบุอีกว่า บิ๊กแบรนด์สินค้าหรือบริการหลายประเภท ยังคงจับตาดูเทรนด์ แพลงกิ้ง อยู่อย่างใกล้ชิดว่าจะยังคงเป็นกระแสที่ฮอตฮิตอีกนานมากน้อยแค่ไหน เนื่องเพราะด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคในโลกออนไลน์ หรือชุมชนโซเชียลมีเดีย ส่วนใหญ่จะรักง่าย หน่ายเร็ว นิยมชมชอบไปตาม กลุ่มเพื่อนๆ หรือคนใกล้ชิด เพียงแค่ระยะเวลาสั้นๆ ตรงกันข้ามหากกระแสนี้มีพัฒนา การในเชิงสร้างสรรค์มากขึ้น ก็คงจะเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือสื่อสารทางการตลาดของ แบรนด์สินค้าและบริการ ด้วยการปรับประยุกต์ให้สอดรับกับตัวสินค้า 
ทั้งนี้ แม้ปัจจุบันภาพลักษณ์ของ Planking อาจดูไม่ค่อยสร้างสรรค์ ท่าทางอาจดูแผลงๆ และพิสดารเสียมากกว่า ส่งผลให้เกิดกระแสใหม่ “ Lavitates ” หรือการถ่ายภาพขณะลอยตัวทำกิจกรรมต่างๆ เช่นเดียวกับการจุดพลุกระแส “ พับเพียบไทยแลนด์ ” ด้วยการนั่งพับเพียบเรียบร้อยในสถานที่ต่างๆ ที่นอกจากจะล้อไปกับกระแสแพลงกิ้งข้างต้นแล้ว ยังถือเป็นการส่งเสริมกิริยามารยาทไทย ที่จัดเป็นกิจกรรมทางบวก ในเวลาเดียวกัน โดยเพียงแค่สัปดาห์แรกกระแสนี้ก็ได้การตอบรับในโซเชียลมีเดีย แล้ว ร่วม 2 แสนราย https://www.youtube.com/watch?v=gOaVHjMFuz8 &gt; VDO Planking รณรงค์หาเสียง
  • มาถึงเวลานี้ทุกคนคงทราบแล้วว่า Planking เป็นกระแสที่ฮิตติดลมบนในบ้านเราไปเรียบร้อยแล้ว คนพูดถึงเรื่องนี้กันบน Social Media ว่าเป็นปรากฏการณ์ที่คนจำนวนมากสามารถ “ ร่วมสนุก ” ได้โดยไม่จำเป็นต้องทำตัวตามกติกาอะไรมากมายนัก เพียงแค่เลือกโลเคชั่นที่แปลกตา ให้สาธารณชนเห็นได้ชัดเจน เพื่อสร้างกระแสความสนใจ จนเกิดการลอกเลียนแบบ Planking เป็นเพียงการเล่นแบบสนุกๆ ดูแปลกตาและตลก จนกลายเป็นกระแสบอกต่อบนโลกอินเทอร์เน็ตทั่วโลก แต่อีกแง่หนึ่ง จะสังเกตได้อีกอย่างว่าตอนนี้ Planking มันกำลังอยู่ในกระแส ใครๆ ก็ใช้มันเรียกร้องความสนใจให้กับตัวเอง แม้จะไม่ได้ทำอะไรใหม่ และมัีนเรียกร้องความสนใจของสื่อมวลชนกระแสหลัก และขณะเดียวกันก็ถูกใจคนบนโลกอินเทอร์เน็ต จนมีคนเปิดเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อประชาสัมพันธ์ Planking บน Facebook ราวกับดอกเห็ด สาระสำคัญ ก็คือ Planking เรียกร้องความสนใจจนสื่อกระแสหลักเอาไปพูดถึงให้มันเหมือนเป็น “ ข่าวแปลก ” หรือ Odd spot  ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการสร้างกระแสบอกต่อ ใครจะเอาไปทำ Viral marketing campaign ทำให้คนทั่วไปพูดถึงเรื่องเหล่านี้และเอาแบรนด์หรือสินค้าของเราเกาะไปกับกระแสเหล่านี้ก็น่าสนใจนะครับ ใครเป็นคนเริ่มกระแสนะ ? Origin In 2006, two UK friends Gary Clarkson and Christian Langdon created a Facebook group, which attracted over 1500 facebook users within the first two weeks . [1] Dubbed as “the most bizarre internet meme” by blogs and local news media, the game eventually went international with contributions from across the world . Today, Lying Down Game’s Facebook page boasts over 99,000 followers and 19,000+ image submissions . While similar to Playing Dead , it seems the two games grew independently of each other . The Lying Down Game challenges players to lie down in the most outlandish places possible and the players are meant to appear alive when the photo is taken . “ Planking ” ที่จริงเริ่มต้นตั้งแต่ปี 1997 ในชื่อ “ Lying Down game ” ริเริ่มโดยฝรั่งสองนาย Gary Clarkson และ Christian Langdon และได้รับความนิยมในย่าน North East England เล่นกันต่อมาเรื่อยๆ และดังไปทั่วสหราชอาณาจักรในช่วงหน้าร้อนปี 2009 จากนั้นก็ลามไปทั่วโลก คนที่เล่นมีทุกอาชีพ จนมีข่าวว่าพนักงานในองค์กรใดๆ ทำแล้วก็ถูกไล่ออกจากงาน หรือแม้กระทั่งหมอกับพยาบาลเล่น Planking กันแล้วโดนพักงาน เพราะนักวิจารณ์สังคมก็ออกมาวิพากษ์ผ่านสื่อว่าเป็นเกมไร้สาระ และต่อมาก็มีชาวออสเตรเลียนหลายคนเอาเกม Lying Down นี้กลับมาเล่นใหม่ โดยใช้คำว่า “ planking ” และดังขึ้นมาอีก จนลามมาถึงบ้านเราในที่สุด Planking จับความสนใจสื่อกระแสหลักขึ้นไทยรัฐ , เรื่องเล่าเช้านี้ , เช้าดูวู้ดดี้ ล่าสุดที่เราพบก็คือเริ่มมีคนเอาไปใช้ในจุดประสงค์ทางการตลาด “ แบบขำๆ ” มากขึ้น ล่าสุดร้านอาหารชื่อดังประจำใจชาว Twitter “ เจ๊กเม้ง ” ก็ส่งรูป Planking มาให้เราดู โดยทางร้านเผยว่า “ เราทดลองให้ลูกค้าทำ Planking ที่ร้านแล้วส่งภาพเข้ามา ได้รับผลตอบรับดีครับ เรียกความสนใจได้ดีเลยครับ ”   นอกจากเจ๊กเม้งแล้วก็ยังมีสินค้าอื่นๆ อย่างทางเว็บไซต์ Dealthailand สร้างกิจกรรมร่วมสนุก “ Planking ” ชิงรางวัลเงินเครดิตในบัญชี Wallet โดยรูปไหนถูกใจกรรมการมากที่สุดในแต่ละวัน รับรางวัลไปเลยทันที ธุรกิจโหนกกระแส แพลงกิ้ง สินค้าบิ๊กเนม SMEs จ้องทำอีเวนต์สร้างตลาด   แมคฟิว่า &gt; กระแส “ Planking ” หรือการนอนคว่ำหน้า ของสาวก โซเชียลมีเดียสุดร้อนแรง ขยายวงสู่กลุ่มสินค้าและบริการมากขึ้นตาม ลำดับ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีเสือปืนไว หยิบฉวยมาทำกิจกรรมร่วม กับลูกค้า ทั้งถ่ายรูปเป็นที่ระลึก เผยแพร่ และแชตแอนด์แชร์ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ผ่านเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ ค่ายดิจิตอล เอเจนซี “ แมคฟิว่า ” คาดบิ๊กแบรนด์สินค้าจ้องตาไม่กะพริบ หากกระแสไม่ตก จะเป็นอาวุธใหม่ดึงดูดใจกลุ่มเป้าหมาย 
ความเป็นมาของ Planking นั้นก็เหมือนปรากฏการณ์ยุคดิจิตอลอื่นๆ ซึ่งไม่เป็นที่แน่ชัดนักว่าเกิดขึ้นที่ใดและใครเป็นผู้ริเริ่ม แต่คาดว่าเป็นการพัฒนามาจากเกม “ นอนคว่ำ ” ซึ่งคิดขึ้นโดย Gary Clarkson และ Christian Langdon และเริ่มเล่นกันในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษเมื่อปี 1997 จนกระทั่งแพร่ไปทั่วเกาะอังกฤษ ในช่วงฤดูร้อนปี 2010 ซึ่งในขณะนั้นกิจกรรมนี้ยังไม่ถูกเรียกว่า Planking 
 การเรียกกิจกรรมนี้ด้วยคำว่า Plan-king นั่นเริ่มขึ้นในปี 2011 นี้ที่ประเทศออสเตรเลีย โดยคำว่า “ Planking ” มาจากคำว่า Plank แปลว่าไม้กระดาน ดังนั้นผู้ทำ Planking จะต้องนอนคว่ำหน้า แขนแนบไว้ข้างลำตัว เหมือนแผ่นไม้กระดาน นอกจากจะนอนลงบนพื้นราบแล้ว ยังนิยมนอนบนสิ่งของแปลกๆ เช่น กำแพง ราวบันได หัวดับเพลิง ตู้ไปรษณีย์ หรือสถานที่อื่นๆเท่าที่จะคิดกันได้ ยิ่งเป็นพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยากมากเท่าไหร่ หรือสิ่งของที่ทรงตัวได้ยาก ก็จะยิ่งได้รับการยกย่องจากสังคมของชาว Planking มากตามไปด้วย 
 กิจกรรม Planking โด่งดังไปทั่วโลกจากเหตุเศร้าสลดเมื่อนาย Acton Beale วัย 21 ปี ทำ Planking บนขอบระเบียงชั้น 7 ของอาคารแห่งหนึ่งในกรุงบริสเบน รัฐควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย เพื่อให้เพื่อนบันทึกภาพแต่พลาดท่าตกลงมากระแทกพื้นเสียชีวิต ซึ่งเหตุการณ์นี้ไม่เพียงเป็นที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย แต่ยังได้จุดกระแสความสนใจในการทำ Planking อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะบนโซเชียลมีเดีย 
สำหรับในประเทศไทยนั้นกระแสการ Planking ได้เข้ามาพร้อมๆ กับการเสนอข่าว ข้างต้นของสื่อมวลชนไทยในช่วงเดือนพ . ค . ที่ผ่านมา และเริ่มแพร่หลายอย่างรวดเร็วในโลกอินเตอร์เน็ต ซึ่งก็ได้มีการสร้างแฟนเฟจในเครือข่ายเฟซบุ๊กขึ้นในวันเดียวกันนั้น มาถึงทุกวันนี้มีผู้กด like ไปแล้วมากกว่าแสนคน ซึ่งไม่ใช่แค่เหล่าสาวกโซเชียลมีเดีย เฟซบุ๊ก หรือทวิตเตอร์ เท่านั้น 
แต่เหล่าดารานักแสดงเองก็ได้เข้าร่วมกระแสนี้ด้วยเช่นกัน ทั้ง อั้ม พัชราภา , บี้ เดอะสตาร์ , น้าเน็ค , ดีเจเจมส์ EFM, เคน วง zeal เป็นต้น และเมื่อดูจากสถิติ Twitter จาก Thaitrend ก็พบว่า การติดแท็ก “ #Planking ” ในข้อความที่ทวิตเกี่ยวกับการเล่นเกมนอนคว่ำนี้มีผู้นิยมใช้ติดอันดับสูงถึงอันดับ 6 ของแท็กที่คนใช้ทั่วประเทศ 
จากกระแสที่มาแรงจนทำให้มีผู้ทำ Planking เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก็ย่อมเป็นธรรมดาที่จากการแบ่งปันภาพถ่ายกัน จะเริ่มพัฒนาเป็นประชันขันแข่งกันว่าใครที่มีไอเดียและความสามารถที่จะ Planking ได้สร้างสรรค์และแหวกแนวกว่ากัน ซึ่งในสังคม ออนไลน์ของประเทศต่างๆ เช่น สิงคโปร์ ก็มีการจัดประกวดกันเพื่อชิงรางวัลเล็กๆน้อยๆ กันบ้างแล้ว นอกจากนี้ก็ยังมีผู้นำการ Planking มาเป็นเครื่องมือทางการตลาด ด้วยการประกวดชิงรางวัล พร้อมโปรโมตแบรนด์ ของตน เช่น Vans Warped Tour ได้จัดประกวด Planking ทั่วประเทศอเมริกาเพื่อชิงตั๋วคอนเสิร์ต 
ในประเทศไทยเองก็เริ่มเห็นการตลาด planking บ้างแล้ว เช่น ร้านเจ๊กเม้ง ร้านก๋วยเตี๋ยวขวัญใจชาว twitter ได้ทดลองให้ลูกค้าทำ Planking ที่ร้านแล้วส่งภาพเข้ามาซึ่งก็ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี และเว็บไซต์ Dealthailand ที่ได้จัดกิจกรรม “ Dealthailand Planking contest ” โดยให้สมาชิกส่งรูปการทำ Planking ของตนเองเข้ามา ซึ่งรูปไหนถูกใจกรรมการมากที่สุดในแต่ละวันจะได้รับรางวัลเป็นเงินเครดิตในบัญชี Wallet ของเว็บไซต์ นอกจากนี้ยังมีการจัดประกวดของนิตยสารตะลอน ซึ่งเป็นนิตยสาร ท่องเที่ยวออนไลน์ เป็นต้น
 “ แม้จะมีการใช้ Planking ในทางการตลาดจากหลากหลายกิจการในโลกออนไลน์ทั้งในและต่างประเทศ แต่ยังจำกัดวงอยู่แค่ผู้ประกอบการในระดับเอสเอ็มอีเท่านั้น โดยกลุ่มธุรกิจสินค้าหรือบริการขนาดใหญ่ ยังคงรอดูท่าทีของกระแสนี้อยู่ ส่วนหนึ่งคงมาจากความคิดเห็นด้านลบของคนทั่วไปที่มีต่อกิจกรรมนี้ ที่มักจะมองว่าไม่มีสาระ สะท้อนจากผลโหวตทาง SMS ของรายการเรื่องเล่าเสาร์อาทิตย์ทางสถานีโทรทัศน์ช่องสาม ในสัปดาห์ที่ผ่านมาซึ่งผู้โหวตส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นว่าเป็นกิจกรรมที่ไร้สาระ ” ดร . ศุภชัย ปาจริยานนท์ กรรมการผู้จัดการ แมคฟีว่า ดิจิตอล เอเจนซี่ ให้ความเห็น “ สยามธุรกิจ ” 
เขาระบุอีกว่า บิ๊กแบรนด์สินค้าหรือบริการหลายประเภท ยังคงจับตาดูเทรนด์ แพลงกิ้ง อยู่อย่างใกล้ชิดว่าจะยังคงเป็นกระแสที่ฮอตฮิตอีกนานมากน้อยแค่ไหน เนื่องเพราะด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคในโลกออนไลน์ หรือชุมชนโซเชียลมีเดีย ส่วนใหญ่จะรักง่าย หน่ายเร็ว นิยมชมชอบไปตาม กลุ่มเพื่อนๆ หรือคนใกล้ชิด เพียงแค่ระยะเวลาสั้นๆ ตรงกันข้ามหากกระแสนี้มีพัฒนา การในเชิงสร้างสรรค์มากขึ้น ก็คงจะเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือสื่อสารทางการตลาดของ แบรนด์สินค้าและบริการ ด้วยการปรับประยุกต์ให้สอดรับกับตัวสินค้า 
ทั้งนี้ แม้ปัจจุบันภาพลักษณ์ของ Planking อาจดูไม่ค่อยสร้างสรรค์ ท่าทางอาจดูแผลงๆ และพิสดารเสียมากกว่า ส่งผลให้เกิดกระแสใหม่ “ Lavitates ” หรือการถ่ายภาพขณะลอยตัวทำกิจกรรมต่างๆ เช่นเดียวกับการจุดพลุกระแส “ พับเพียบไทยแลนด์ ” ด้วยการนั่งพับเพียบเรียบร้อยในสถานที่ต่างๆ ที่นอกจากจะล้อไปกับกระแสแพลงกิ้งข้างต้นแล้ว ยังถือเป็นการส่งเสริมกิริยามารยาทไทย ที่จัดเป็นกิจกรรมทางบวก ในเวลาเดียวกัน โดยเพียงแค่สัปดาห์แรกกระแสนี้ก็ได้การตอบรับในโซเชียลมีเดีย แล้ว ร่วม 2 แสนราย https://www.youtube.com/watch?v=gOaVHjMFuz8 &gt; VDO Planking รณรงค์หาเสียง
  • มาถึงเวลานี้ทุกคนคงทราบแล้วว่า Planking เป็นกระแสที่ฮิตติดลมบนในบ้านเราไปเรียบร้อยแล้ว คนพูดถึงเรื่องนี้กันบน Social Media ว่าเป็นปรากฏการณ์ที่คนจำนวนมากสามารถ “ ร่วมสนุก ” ได้โดยไม่จำเป็นต้องทำตัวตามกติกาอะไรมากมายนัก เพียงแค่เลือกโลเคชั่นที่แปลกตา ให้สาธารณชนเห็นได้ชัดเจน เพื่อสร้างกระแสความสนใจ จนเกิดการลอกเลียนแบบ Planking เป็นเพียงการเล่นแบบสนุกๆ ดูแปลกตาและตลก จนกลายเป็นกระแสบอกต่อบนโลกอินเทอร์เน็ตทั่วโลก แต่อีกแง่หนึ่ง จะสังเกตได้อีกอย่างว่าตอนนี้ Planking มันกำลังอยู่ในกระแส ใครๆ ก็ใช้มันเรียกร้องความสนใจให้กับตัวเอง แม้จะไม่ได้ทำอะไรใหม่ และมัีนเรียกร้องความสนใจของสื่อมวลชนกระแสหลัก และขณะเดียวกันก็ถูกใจคนบนโลกอินเทอร์เน็ต จนมีคนเปิดเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อประชาสัมพันธ์ Planking บน Facebook ราวกับดอกเห็ด สาระสำคัญ ก็คือ Planking เรียกร้องความสนใจจนสื่อกระแสหลักเอาไปพูดถึงให้มันเหมือนเป็น “ ข่าวแปลก ” หรือ Odd spot  ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการสร้างกระแสบอกต่อ ใครจะเอาไปทำ Viral marketing campaign ทำให้คนทั่วไปพูดถึงเรื่องเหล่านี้และเอาแบรนด์หรือสินค้าของเราเกาะไปกับกระแสเหล่านี้ก็น่าสนใจนะครับ ใครเป็นคนเริ่มกระแสนะ ? Origin In 2006, two UK friends Gary Clarkson and Christian Langdon created a Facebook group, which attracted over 1500 facebook users within the first two weeks . [1] Dubbed as “the most bizarre internet meme” by blogs and local news media, the game eventually went international with contributions from across the world . Today, Lying Down Game’s Facebook page boasts over 99,000 followers and 19,000+ image submissions . While similar to Playing Dead , it seems the two games grew independently of each other . The Lying Down Game challenges players to lie down in the most outlandish places possible and the players are meant to appear alive when the photo is taken . “ Planking ” ที่จริงเริ่มต้นตั้งแต่ปี 1997 ในชื่อ “ Lying Down game ” ริเริ่มโดยฝรั่งสองนาย Gary Clarkson และ Christian Langdon และได้รับความนิยมในย่าน North East England เล่นกันต่อมาเรื่อยๆ และดังไปทั่วสหราชอาณาจักรในช่วงหน้าร้อนปี 2009 จากนั้นก็ลามไปทั่วโลก คนที่เล่นมีทุกอาชีพ จนมีข่าวว่าพนักงานในองค์กรใดๆ ทำแล้วก็ถูกไล่ออกจากงาน หรือแม้กระทั่งหมอกับพยาบาลเล่น Planking กันแล้วโดนพักงาน เพราะนักวิจารณ์สังคมก็ออกมาวิพากษ์ผ่านสื่อว่าเป็นเกมไร้สาระ และต่อมาก็มีชาวออสเตรเลียนหลายคนเอาเกม Lying Down นี้กลับมาเล่นใหม่ โดยใช้คำว่า “ planking ” และดังขึ้นมาอีก จนลามมาถึงบ้านเราในที่สุด Planking จับความสนใจสื่อกระแสหลักขึ้นไทยรัฐ , เรื่องเล่าเช้านี้ , เช้าดูวู้ดดี้ ล่าสุดที่เราพบก็คือเริ่มมีคนเอาไปใช้ในจุดประสงค์ทางการตลาด “ แบบขำๆ ” มากขึ้น ล่าสุดร้านอาหารชื่อดังประจำใจชาว Twitter “ เจ๊กเม้ง ” ก็ส่งรูป Planking มาให้เราดู โดยทางร้านเผยว่า “ เราทดลองให้ลูกค้าทำ Planking ที่ร้านแล้วส่งภาพเข้ามา ได้รับผลตอบรับดีครับ เรียกความสนใจได้ดีเลยครับ ”   นอกจากเจ๊กเม้งแล้วก็ยังมีสินค้าอื่นๆ อย่างทางเว็บไซต์ Dealthailand สร้างกิจกรรมร่วมสนุก “ Planking ” ชิงรางวัลเงินเครดิตในบัญชี Wallet โดยรูปไหนถูกใจกรรมการมากที่สุดในแต่ละวัน รับรางวัลไปเลยทันที ธุรกิจโหนกกระแส แพลงกิ้ง สินค้าบิ๊กเนม SMEs จ้องทำอีเวนต์สร้างตลาด   แมคฟิว่า &gt; กระแส “ Planking ” หรือการนอนคว่ำหน้า ของสาวก โซเชียลมีเดียสุดร้อนแรง ขยายวงสู่กลุ่มสินค้าและบริการมากขึ้นตาม ลำดับ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีเสือปืนไว หยิบฉวยมาทำกิจกรรมร่วม กับลูกค้า ทั้งถ่ายรูปเป็นที่ระลึก เผยแพร่ และแชตแอนด์แชร์ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ผ่านเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ ค่ายดิจิตอล เอเจนซี “ แมคฟิว่า ” คาดบิ๊กแบรนด์สินค้าจ้องตาไม่กะพริบ หากกระแสไม่ตก จะเป็นอาวุธใหม่ดึงดูดใจกลุ่มเป้าหมาย 
ความเป็นมาของ Planking นั้นก็เหมือนปรากฏการณ์ยุคดิจิตอลอื่นๆ ซึ่งไม่เป็นที่แน่ชัดนักว่าเกิดขึ้นที่ใดและใครเป็นผู้ริเริ่ม แต่คาดว่าเป็นการพัฒนามาจากเกม “ นอนคว่ำ ” ซึ่งคิดขึ้นโดย Gary Clarkson และ Christian Langdon และเริ่มเล่นกันในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษเมื่อปี 1997 จนกระทั่งแพร่ไปทั่วเกาะอังกฤษ ในช่วงฤดูร้อนปี 2010 ซึ่งในขณะนั้นกิจกรรมนี้ยังไม่ถูกเรียกว่า Planking 
 การเรียกกิจกรรมนี้ด้วยคำว่า Plan-king นั่นเริ่มขึ้นในปี 2011 นี้ที่ประเทศออสเตรเลีย โดยคำว่า “ Planking ” มาจากคำว่า Plank แปลว่าไม้กระดาน ดังนั้นผู้ทำ Planking จะต้องนอนคว่ำหน้า แขนแนบไว้ข้างลำตัว เหมือนแผ่นไม้กระดาน นอกจากจะนอนลงบนพื้นราบแล้ว ยังนิยมนอนบนสิ่งของแปลกๆ เช่น กำแพง ราวบันได หัวดับเพลิง ตู้ไปรษณีย์ หรือสถานที่อื่นๆเท่าที่จะคิดกันได้ ยิ่งเป็นพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยากมากเท่าไหร่ หรือสิ่งของที่ทรงตัวได้ยาก ก็จะยิ่งได้รับการยกย่องจากสังคมของชาว Planking มากตามไปด้วย 
 กิจกรรม Planking โด่งดังไปทั่วโลกจากเหตุเศร้าสลดเมื่อนาย Acton Beale วัย 21 ปี ทำ Planking บนขอบระเบียงชั้น 7 ของอาคารแห่งหนึ่งในกรุงบริสเบน รัฐควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย เพื่อให้เพื่อนบันทึกภาพแต่พลาดท่าตกลงมากระแทกพื้นเสียชีวิต ซึ่งเหตุการณ์นี้ไม่เพียงเป็นที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย แต่ยังได้จุดกระแสความสนใจในการทำ Planking อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะบนโซเชียลมีเดีย 
สำหรับในประเทศไทยนั้นกระแสการ Planking ได้เข้ามาพร้อมๆ กับการเสนอข่าว ข้างต้นของสื่อมวลชนไทยในช่วงเดือนพ . ค . ที่ผ่านมา และเริ่มแพร่หลายอย่างรวดเร็วในโลกอินเตอร์เน็ต ซึ่งก็ได้มีการสร้างแฟนเฟจในเครือข่ายเฟซบุ๊กขึ้นในวันเดียวกันนั้น มาถึงทุกวันนี้มีผู้กด like ไปแล้วมากกว่าแสนคน ซึ่งไม่ใช่แค่เหล่าสาวกโซเชียลมีเดีย เฟซบุ๊ก หรือทวิตเตอร์ เท่านั้น 
แต่เหล่าดารานักแสดงเองก็ได้เข้าร่วมกระแสนี้ด้วยเช่นกัน ทั้ง อั้ม พัชราภา , บี้ เดอะสตาร์ , น้าเน็ค , ดีเจเจมส์ EFM, เคน วง zeal เป็นต้น และเมื่อดูจากสถิติ Twitter จาก Thaitrend ก็พบว่า การติดแท็ก “ #Planking ” ในข้อความที่ทวิตเกี่ยวกับการเล่นเกมนอนคว่ำนี้มีผู้นิยมใช้ติดอันดับสูงถึงอันดับ 6 ของแท็กที่คนใช้ทั่วประเทศ 
จากกระแสที่มาแรงจนทำให้มีผู้ทำ Planking เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก็ย่อมเป็นธรรมดาที่จากการแบ่งปันภาพถ่ายกัน จะเริ่มพัฒนาเป็นประชันขันแข่งกันว่าใครที่มีไอเดียและความสามารถที่จะ Planking ได้สร้างสรรค์และแหวกแนวกว่ากัน ซึ่งในสังคม ออนไลน์ของประเทศต่างๆ เช่น สิงคโปร์ ก็มีการจัดประกวดกันเพื่อชิงรางวัลเล็กๆน้อยๆ กันบ้างแล้ว นอกจากนี้ก็ยังมีผู้นำการ Planking มาเป็นเครื่องมือทางการตลาด ด้วยการประกวดชิงรางวัล พร้อมโปรโมตแบรนด์ ของตน เช่น Vans Warped Tour ได้จัดประกวด Planking ทั่วประเทศอเมริกาเพื่อชิงตั๋วคอนเสิร์ต 
ในประเทศไทยเองก็เริ่มเห็นการตลาด planking บ้างแล้ว เช่น ร้านเจ๊กเม้ง ร้านก๋วยเตี๋ยวขวัญใจชาว twitter ได้ทดลองให้ลูกค้าทำ Planking ที่ร้านแล้วส่งภาพเข้ามาซึ่งก็ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี และเว็บไซต์ Dealthailand ที่ได้จัดกิจกรรม “ Dealthailand Planking contest ” โดยให้สมาชิกส่งรูปการทำ Planking ของตนเองเข้ามา ซึ่งรูปไหนถูกใจกรรมการมากที่สุดในแต่ละวันจะได้รับรางวัลเป็นเงินเครดิตในบัญชี Wallet ของเว็บไซต์ นอกจากนี้ยังมีการจัดประกวดของนิตยสารตะลอน ซึ่งเป็นนิตยสาร ท่องเที่ยวออนไลน์ เป็นต้น
 “ แม้จะมีการใช้ Planking ในทางการตลาดจากหลากหลายกิจการในโลกออนไลน์ทั้งในและต่างประเทศ แต่ยังจำกัดวงอยู่แค่ผู้ประกอบการในระดับเอสเอ็มอีเท่านั้น โดยกลุ่มธุรกิจสินค้าหรือบริการขนาดใหญ่ ยังคงรอดูท่าทีของกระแสนี้อยู่ ส่วนหนึ่งคงมาจากความคิดเห็นด้านลบของคนทั่วไปที่มีต่อกิจกรรมนี้ ที่มักจะมองว่าไม่มีสาระ สะท้อนจากผลโหวตทาง SMS ของรายการเรื่องเล่าเสาร์อาทิตย์ทางสถานีโทรทัศน์ช่องสาม ในสัปดาห์ที่ผ่านมาซึ่งผู้โหวตส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นว่าเป็นกิจกรรมที่ไร้สาระ ” ดร . ศุภชัย ปาจริยานนท์ กรรมการผู้จัดการ แมคฟีว่า ดิจิตอล เอเจนซี่ ให้ความเห็น “ สยามธุรกิจ ” 
เขาระบุอีกว่า บิ๊กแบรนด์สินค้าหรือบริการหลายประเภท ยังคงจับตาดูเทรนด์ แพลงกิ้ง อยู่อย่างใกล้ชิดว่าจะยังคงเป็นกระแสที่ฮอตฮิตอีกนานมากน้อยแค่ไหน เนื่องเพราะด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคในโลกออนไลน์ หรือชุมชนโซเชียลมีเดีย ส่วนใหญ่จะรักง่าย หน่ายเร็ว นิยมชมชอบไปตาม กลุ่มเพื่อนๆ หรือคนใกล้ชิด เพียงแค่ระยะเวลาสั้นๆ ตรงกันข้ามหากกระแสนี้มีพัฒนา การในเชิงสร้างสรรค์มากขึ้น ก็คงจะเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือสื่อสารทางการตลาดของ แบรนด์สินค้าและบริการ ด้วยการปรับประยุกต์ให้สอดรับกับตัวสินค้า 
ทั้งนี้ แม้ปัจจุบันภาพลักษณ์ของ Planking อาจดูไม่ค่อยสร้างสรรค์ ท่าทางอาจดูแผลงๆ และพิสดารเสียมากกว่า ส่งผลให้เกิดกระแสใหม่ “ Lavitates ” หรือการถ่ายภาพขณะลอยตัวทำกิจกรรมต่างๆ เช่นเดียวกับการจุดพลุกระแส “ พับเพียบไทยแลนด์ ” ด้วยการนั่งพับเพียบเรียบร้อยในสถานที่ต่างๆ ที่นอกจากจะล้อไปกับกระแสแพลงกิ้งข้างต้นแล้ว ยังถือเป็นการส่งเสริมกิริยามารยาทไทย ที่จัดเป็นกิจกรรมทางบวก ในเวลาเดียวกัน โดยเพียงแค่สัปดาห์แรกกระแสนี้ก็ได้การตอบรับในโซเชียลมีเดีย แล้ว ร่วม 2 แสนราย http :// knowyourmeme . com / memes / lying - down - game# . Tgl5YmH41fY https://www.youtube.com/watch?v=gOaVHjMFuz8 &gt; VDO Planking รณรงค์หาเสียง
  • มาถึงเวลานี้ทุกคนคงทราบแล้วว่า Planking เป็นกระแสที่ฮิตติดลมบนในบ้านเราไปเรียบร้อยแล้ว คนพูดถึงเรื่องนี้กันบน Social Media ว่าเป็นปรากฏการณ์ที่คนจำนวนมากสามารถ “ ร่วมสนุก ” ได้โดยไม่จำเป็นต้องทำตัวตามกติกาอะไรมากมายนัก เพียงแค่เลือกโลเคชั่นที่แปลกตา ให้สาธารณชนเห็นได้ชัดเจน เพื่อสร้างกระแสความสนใจ จนเกิดการลอกเลียนแบบ Planking เป็นเพียงการเล่นแบบสนุกๆ ดูแปลกตาและตลก จนกลายเป็นกระแสบอกต่อบนโลกอินเทอร์เน็ตทั่วโลก แต่อีกแง่หนึ่ง จะสังเกตได้อีกอย่างว่าตอนนี้ Planking มันกำลังอยู่ในกระแส ใครๆ ก็ใช้มันเรียกร้องความสนใจให้กับตัวเอง แม้จะไม่ได้ทำอะไรใหม่ และมัีนเรียกร้องความสนใจของสื่อมวลชนกระแสหลัก และขณะเดียวกันก็ถูกใจคนบนโลกอินเทอร์เน็ต จนมีคนเปิดเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อประชาสัมพันธ์ Planking บน Facebook ราวกับดอกเห็ด สาระสำคัญ ก็คือ Planking เรียกร้องความสนใจจนสื่อกระแสหลักเอาไปพูดถึงให้มันเหมือนเป็น “ ข่าวแปลก ” หรือ Odd spot  ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการสร้างกระแสบอกต่อ ใครจะเอาไปทำ Viral marketing campaign ทำให้คนทั่วไปพูดถึงเรื่องเหล่านี้และเอาแบรนด์หรือสินค้าของเราเกาะไปกับกระแสเหล่านี้ก็น่าสนใจนะครับ ใครเป็นคนเริ่มกระแสนะ ? Origin In 2006, two UK friends Gary Clarkson and Christian Langdon created a Facebook group, which attracted over 1500 facebook users within the first two weeks . [1] Dubbed as “the most bizarre internet meme” by blogs and local news media, the game eventually went international with contributions from across the world . Today, Lying Down Game’s Facebook page boasts over 99,000 followers and 19,000+ image submissions . While similar to Playing Dead , it seems the two games grew independently of each other . The Lying Down Game challenges players to lie down in the most outlandish places possible and the players are meant to appear alive when the photo is taken . “ Planking ” ที่จริงเริ่มต้นตั้งแต่ปี 1997 ในชื่อ “ Lying Down game ” ริเริ่มโดยฝรั่งสองนาย Gary Clarkson และ Christian Langdon และได้รับความนิยมในย่าน North East England เล่นกันต่อมาเรื่อยๆ และดังไปทั่วสหราชอาณาจักรในช่วงหน้าร้อนปี 2009 จากนั้นก็ลามไปทั่วโลก คนที่เล่นมีทุกอาชีพ จนมีข่าวว่าพนักงานในองค์กรใดๆ ทำแล้วก็ถูกไล่ออกจากงาน หรือแม้กระทั่งหมอกับพยาบาลเล่น Planking กันแล้วโดนพักงาน เพราะนักวิจารณ์สังคมก็ออกมาวิพากษ์ผ่านสื่อว่าเป็นเกมไร้สาระ และต่อมาก็มีชาวออสเตรเลียนหลายคนเอาเกม Lying Down นี้กลับมาเล่นใหม่ โดยใช้คำว่า “ planking ” และดังขึ้นมาอีก จนลามมาถึงบ้านเราในที่สุด Planking จับความสนใจสื่อกระแสหลักขึ้นไทยรัฐ , เรื่องเล่าเช้านี้ , เช้าดูวู้ดดี้ ล่าสุดที่เราพบก็คือเริ่มมีคนเอาไปใช้ในจุดประสงค์ทางการตลาด “ แบบขำๆ ” มากขึ้น ล่าสุดร้านอาหารชื่อดังประจำใจชาว Twitter “ เจ๊กเม้ง ” ก็ส่งรูป Planking มาให้เราดู โดยทางร้านเผยว่า “ เราทดลองให้ลูกค้าทำ Planking ที่ร้านแล้วส่งภาพเข้ามา ได้รับผลตอบรับดีครับ เรียกความสนใจได้ดีเลยครับ ”   นอกจากเจ๊กเม้งแล้วก็ยังมีสินค้าอื่นๆ อย่างทางเว็บไซต์ Dealthailand สร้างกิจกรรมร่วมสนุก “ Planking ” ชิงรางวัลเงินเครดิตในบัญชี Wallet โดยรูปไหนถูกใจกรรมการมากที่สุดในแต่ละวัน รับรางวัลไปเลยทันที ธุรกิจโหนกกระแส แพลงกิ้ง สินค้าบิ๊กเนม SMEs จ้องทำอีเวนต์สร้างตลาด   แมคฟิว่า &gt; กระแส “ Planking ” หรือการนอนคว่ำหน้า ของสาวก โซเชียลมีเดียสุดร้อนแรง ขยายวงสู่กลุ่มสินค้าและบริการมากขึ้นตาม ลำดับ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีเสือปืนไว หยิบฉวยมาทำกิจกรรมร่วม กับลูกค้า ทั้งถ่ายรูปเป็นที่ระลึก เผยแพร่ และแชตแอนด์แชร์ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ผ่านเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ ค่ายดิจิตอล เอเจนซี “ แมคฟิว่า ” คาดบิ๊กแบรนด์สินค้าจ้องตาไม่กะพริบ หากกระแสไม่ตก จะเป็นอาวุธใหม่ดึงดูดใจกลุ่มเป้าหมาย 
ความเป็นมาของ Planking นั้นก็เหมือนปรากฏการณ์ยุคดิจิตอลอื่นๆ ซึ่งไม่เป็นที่แน่ชัดนักว่าเกิดขึ้นที่ใดและใครเป็นผู้ริเริ่ม แต่คาดว่าเป็นการพัฒนามาจากเกม “ นอนคว่ำ ” ซึ่งคิดขึ้นโดย Gary Clarkson และ Christian Langdon และเริ่มเล่นกันในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษเมื่อปี 1997 จนกระทั่งแพร่ไปทั่วเกาะอังกฤษ ในช่วงฤดูร้อนปี 2010 ซึ่งในขณะนั้นกิจกรรมนี้ยังไม่ถูกเรียกว่า Planking 
 การเรียกกิจกรรมนี้ด้วยคำว่า Plan-king นั่นเริ่มขึ้นในปี 2011 นี้ที่ประเทศออสเตรเลีย โดยคำว่า “ Planking ” มาจากคำว่า Plank แปลว่าไม้กระดาน ดังนั้นผู้ทำ Planking จะต้องนอนคว่ำหน้า แขนแนบไว้ข้างลำตัว เหมือนแผ่นไม้กระดาน นอกจากจะนอนลงบนพื้นราบแล้ว ยังนิยมนอนบนสิ่งของแปลกๆ เช่น กำแพง ราวบันได หัวดับเพลิง ตู้ไปรษณีย์ หรือสถานที่อื่นๆเท่าที่จะคิดกันได้ ยิ่งเป็นพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยากมากเท่าไหร่ หรือสิ่งของที่ทรงตัวได้ยาก ก็จะยิ่งได้รับการยกย่องจากสังคมของชาว Planking มากตามไปด้วย 
 กิจกรรม Planking โด่งดังไปทั่วโลกจากเหตุเศร้าสลดเมื่อนาย Acton Beale วัย 21 ปี ทำ Planking บนขอบระเบียงชั้น 7 ของอาคารแห่งหนึ่งในกรุงบริสเบน รัฐควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย เพื่อให้เพื่อนบันทึกภาพแต่พลาดท่าตกลงมากระแทกพื้นเสียชีวิต ซึ่งเหตุการณ์นี้ไม่เพียงเป็นที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย แต่ยังได้จุดกระแสความสนใจในการทำ Planking อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะบนโซเชียลมีเดีย 
สำหรับในประเทศไทยนั้นกระแสการ Planking ได้เข้ามาพร้อมๆ กับการเสนอข่าว ข้างต้นของสื่อมวลชนไทยในช่วงเดือนพ . ค . ที่ผ่านมา และเริ่มแพร่หลายอย่างรวดเร็วในโลกอินเตอร์เน็ต ซึ่งก็ได้มีการสร้างแฟนเฟจในเครือข่ายเฟซบุ๊กขึ้นในวันเดียวกันนั้น มาถึงทุกวันนี้มีผู้กด like ไปแล้วมากกว่าแสนคน ซึ่งไม่ใช่แค่เหล่าสาวกโซเชียลมีเดีย เฟซบุ๊ก หรือทวิตเตอร์ เท่านั้น 
แต่เหล่าดารานักแสดงเองก็ได้เข้าร่วมกระแสนี้ด้วยเช่นกัน ทั้ง อั้ม พัชราภา , บี้ เดอะสตาร์ , น้าเน็ค , ดีเจเจมส์ EFM, เคน วง zeal เป็นต้น และเมื่อดูจากสถิติ Twitter จาก Thaitrend ก็พบว่า การติดแท็ก “ #Planking ” ในข้อความที่ทวิตเกี่ยวกับการเล่นเกมนอนคว่ำนี้มีผู้นิยมใช้ติดอันดับสูงถึงอันดับ 6 ของแท็กที่คนใช้ทั่วประเทศ 
จากกระแสที่มาแรงจนทำให้มีผู้ทำ Planking เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก็ย่อมเป็นธรรมดาที่จากการแบ่งปันภาพถ่ายกัน จะเริ่มพัฒนาเป็นประชันขันแข่งกันว่าใครที่มีไอเดียและความสามารถที่จะ Planking ได้สร้างสรรค์และแหวกแนวกว่ากัน ซึ่งในสังคม ออนไลน์ของประเทศต่างๆ เช่น สิงคโปร์ ก็มีการจัดประกวดกันเพื่อชิงรางวัลเล็กๆน้อยๆ กันบ้างแล้ว นอกจากนี้ก็ยังมีผู้นำการ Planking มาเป็นเครื่องมือทางการตลาด ด้วยการประกวดชิงรางวัล พร้อมโปรโมตแบรนด์ ของตน เช่น Vans Warped Tour ได้จัดประกวด Planking ทั่วประเทศอเมริกาเพื่อชิงตั๋วคอนเสิร์ต 
ในประเทศไทยเองก็เริ่มเห็นการตลาด planking บ้างแล้ว เช่น ร้านเจ๊กเม้ง ร้านก๋วยเตี๋ยวขวัญใจชาว twitter ได้ทดลองให้ลูกค้าทำ Planking ที่ร้านแล้วส่งภาพเข้ามาซึ่งก็ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี และเว็บไซต์ Dealthailand ที่ได้จัดกิจกรรม “ Dealthailand Planking contest ” โดยให้สมาชิกส่งรูปการทำ Planking ของตนเองเข้ามา ซึ่งรูปไหนถูกใจกรรมการมากที่สุดในแต่ละวันจะได้รับรางวัลเป็นเงินเครดิตในบัญชี Wallet ของเว็บไซต์ นอกจากนี้ยังมีการจัดประกวดของนิตยสารตะลอน ซึ่งเป็นนิตยสาร ท่องเที่ยวออนไลน์ เป็นต้น
 “ แม้จะมีการใช้ Planking ในทางการตลาดจากหลากหลายกิจการในโลกออนไลน์ทั้งในและต่างประเทศ แต่ยังจำกัดวงอยู่แค่ผู้ประกอบการในระดับเอสเอ็มอีเท่านั้น โดยกลุ่มธุรกิจสินค้าหรือบริการขนาดใหญ่ ยังคงรอดูท่าทีของกระแสนี้อยู่ ส่วนหนึ่งคงมาจากความคิดเห็นด้านลบของคนทั่วไปที่มีต่อกิจกรรมนี้ ที่มักจะมองว่าไม่มีสาระ สะท้อนจากผลโหวตทาง SMS ของรายการเรื่องเล่าเสาร์อาทิตย์ทางสถานีโทรทัศน์ช่องสาม ในสัปดาห์ที่ผ่านมาซึ่งผู้โหวตส่วนใหญ่แสดงความคิดเห็นว่าเป็นกิจกรรมที่ไร้สาระ ” ดร . ศุภชัย ปาจริยานนท์ กรรมการผู้จัดการ แมคฟีว่า ดิจิตอล เอเจนซี่ ให้ความเห็น “ สยามธุรกิจ ” 
เขาระบุอีกว่า บิ๊กแบรนด์สินค้าหรือบริการหลายประเภท ยังคงจับตาดูเทรนด์ แพลงกิ้ง อยู่อย่างใกล้ชิดว่าจะยังคงเป็นกระแสที่ฮอตฮิตอีกนานมากน้อยแค่ไหน เนื่องเพราะด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคในโลกออนไลน์ หรือชุมชนโซเชียลมีเดีย ส่วนใหญ่จะรักง่าย หน่ายเร็ว นิยมชมชอบไปตาม กลุ่มเพื่อนๆ หรือคนใกล้ชิด เพียงแค่ระยะเวลาสั้นๆ ตรงกันข้ามหากกระแสนี้มีพัฒนา การในเชิงสร้างสรรค์มากขึ้น ก็คงจะเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือสื่อสารทางการตลาดของ แบรนด์สินค้าและบริการ ด้วยการปรับประยุกต์ให้สอดรับกับตัวสินค้า 
ทั้งนี้ แม้ปัจจุบันภาพลักษณ์ของ Planking อาจดูไม่ค่อยสร้างสรรค์ ท่าทางอาจดูแผลงๆ และพิสดารเสียมากกว่า ส่งผลให้เกิดกระแสใหม่ “ Lavitates ” หรือการถ่ายภาพขณะลอยตัวทำกิจกรรมต่างๆ เช่นเดียวกับการจุดพลุกระแส “ พับเพียบไทยแลนด์ ” ด้วยการนั่งพับเพียบเรียบร้อยในสถานที่ต่างๆ ที่นอกจากจะล้อไปกับกระแสแพลงกิ้งข้างต้นแล้ว ยังถือเป็นการส่งเสริมกิริยามารยาทไทย ที่จัดเป็นกิจกรรมทางบวก ในเวลาเดียวกัน โดยเพียงแค่สัปดาห์แรกกระแสนี้ก็ได้การตอบรับในโซเชียลมีเดีย แล้ว ร่วม 2 แสนราย https://www.youtube.com/watch?v=gOaVHjMFuz8 &gt; VDO Planking รณรงค์หาเสียง

×