SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 51
Downloaden Sie, um offline zu lesen
”อริยสัจ4”
อริยสัจ 4
ความจริงอันประเสริฐ
สมุทัย
นิโรธ
มรรค
ทุกข์
ทุกข์ คือ สภาพที่ทนอยู่ได้ยาก ซึ่งก็คือความทุกข์นั่นเอง
ทุกข์ทางกาย
ทุกข์ทางใจ
สมุทัย คือ สาเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์
กามตัณหา(อยากในกาม)
ภวตัณหา
(ความอยากเป็น อยากได้)
ภวตัณหา(ความไม่อยากได้)
นิโรธ คือ การดับทุกข์
ลงมือยุติตัณหา 3 นั้นให้หมดไป
จัดการกับอารมณ์ความรู้สึกอันเป็น
ทุกข์
มรรค คือ แนวปฏิบัติที่นาไปสู่การดับทุกข์ หรือก็คือการลงมือแก้ปัญหา
โดยการปฏิบัติสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสาหรับการ
ระงับทุกข์นั้นให้จบสิ้นไป ทาใจสงบ เปิดสมอง
เรียกสติปัญญากลับมา
พระพุทธเจ้าได้ทรงมอบหลักที่เรียกว่า
“มรรคมีองค์ 8” ไว้ เพื่อให้เป็นแนวทางในการ
วางแผนเอาชนะความทุกข์ ในการเลือกปฏิบัติสิ่งที่
ถูกต้องเพื่อยุติปัญหาทุกรูปแบบ
มรรค
สัมมาสังกัปปะ
(ดาริชอบ)
สัมมาวาจา
(เจรจาชอบ)
สัมมากัมมันตะ
(ทาการงานชอบ)
สัมมาอาชีวะ
(เลี้ยงชีพชอบ)
สัมมาวายามะ
(เพียรชอบ)
สัมมาสติ
(ระลึกชอบ)
สัมมาสมาธิ
(ตั้งใจชอบ)
สัมมาทิฐิ
(เห็นชอบ)
“การปล่อยวาง”
การปล่อยวาง
คือ ปล่อยวางความยึดมั่นถือมั่นใน
สิ่งทั้งปวง
• วิธีปฏิบัติให้เกิดความปล่อยวาง
1. เมื่อเกิดอะไรขึ้น ให้รวมลงในพระไตรลักษณ์ให้หมด
คือ ถ้าอะไรเกิดขึ้นในชีวิตเรา ไม่ว่าดีหรือไม่ดีก็ให้
รวมลงไปว่าสิ่งเหล่านั้นไม่เที่ยงมันเป็นทุกข์และ
มันเป็นอนัตตาไม่มีอะไรเป็นของเราที่แท้จริงเลย
คือให้ยอมรับความจริงว่า ทุกสิ่งที่
เกิดขึ้นล้วนแต่ต้องดับไปในที่สุดทั้งสิ้น
แม้แต่ดวงอาทิตย์ก็ต้องดับโลกนี้ก็ต้อง
สลาย ไม่มีอะไรเหลือ
2. ให้เห็นว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้น สิ่งนั้นต้องดับ
3. อย่าแบกงานไว้มากเกินไป
คือ การแบกงานมากเกินไปนั้นมันหนัก และทุกข์
ใจมาก ฉะนั้นผู้ที่ได้ความสงบสุขที่เรียกว่าสันติ
บทนั้นคือต้องเป็นคนมีงานไม่มากจนเกินไป ที่
เรียกว่า อัปปกิจโจ มีงานน้อย ทางานแต่
พอประมาณแก่ความรู้ความสามารถของตน
4. ให้ปฏิบัติพร้อมกับกาหนดลมหายใจเข้าออก
คือในการนาธรรมะขั้นปล่อยวางมาปฏิบัตินั้นถ้า
เราปฏิบัติในขณะเจริญกรรมฐานเช่น กาหนดลม
หายใจเข้าออก ก็ให้กาหนดดังนี้เมื่อหายใจเข้าให้
ภาวนาว่า"ปล่อยวาง"เมื่อหายใจออกก็ภาวนา
ว่า "ปล่อยวาง"
5. ให้ทางานด้วยความไม่ยึดมั่น
จงทางานไปพร้อมกับให้ความรู้สึกอยู่เสมอว่าทาความดี
เพื่อความดี ทางานเพื่อความสาเร็จของงาน ทาด้วย
ความเพลิดเพลินไม่รีบร้อนจนเกินไป เพราะในที่สุด เรา
ต้องปล่อยวางหมดทุกสิ่งทุกอย่างแม้ไม่ปล่อยก็ต้อง
ปล่อย เมื่อเราต้องจากโลกนี้ไป
6. ให้ถือหลักพุทธภาษิตว่า
"สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น"
พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ว่า...
“สพ.เพ ธม.มานาล อภินิเวสาย"
แปลว่า "สิ่งทั้งปวงไม่ควรเข้าไปยึดมั่นถือมั่น"
แป้ง นักศึกษาหัวใจทรนง
สิ่งที่วิเคราะห์ได้จากภาพยนตร์ คือ
แป้ง มีวิธีการดับทุกข์ของตนเอง ตามหลักอริยสัจ 4 ดังนี้
ทุกข์ (สภาพทุกข์)
„รู้สึกเหงา อยากได้ความรัก ความอบอุ่นเวลาอยู่คนเดียว
„ทางานหนักเพื่อส่งเสียเลี้ยงดูตนเองทั้งค่าเทอมและค่าครองชีพ
สมุทัย(สาเหตุทุกข์)
„ที่บ้านมีฐานะยากจนและแป้งเลือกที่จะไม่ขอทุนกู้ยืมเงิน
„ยายของแป้งเสียชีวิตแล้ว
นิโรธ(การดับทุกข์)
„แป้งทาจิตใจให้เข้มแข็งและพยายามตั้งสติ
มรรค(ทางปฏิบัติ)
„เมื่อแป้งรู้สึกเหนื่อยจากการทางานหรือรู้สึกโดดเดี่ยวเมื่ออยู่คนเดียวแป้งจะนึกถึงยาย
ที่ยายอยากให้แป้งเรียนจบซึ่งทาให้แป้งเกิดกาลังใจขึ้นสู้
„แป้งมีความคิดว่าอย่างน้อยแป้งก็ยังมีความรักจากแม่อยู่
„แป้งจะต้องมีการวางแผนชีวิตและใช้เงินอย่างประหยัด
แป้ง ปฏิบัติตนไปสู่การดับทุกข์ตามหลัก มรรคมีองค์ 8 ดังนี้
1.สัมมาทิฏฐิ คือ แป้งมีปัญญาที่เห็นชอบ เช่น แป้งจะต้องเก็บเงินเพื่อจ่ายค่า
เทอมแป้งก็ใช้เงินอย่างประหยัด
2. สัมมาสังกัปปะ คือ แป้งมีความคิดที่ดีงาม
3. สัมมาวาจา คือ แป้งพูดจาดี พูดจาสุภาพ
4. สัมมากัมมันตะ คือ แป้งมีการประพฤติที่ดีงาม ไม่เบียดเบียนใคร
5. สัมมาอาชีวะ คือ แป้งประกอบอาชีพอย่างสุจริต
6. สัมมาวายามะ คือ แป้งไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคทั้งปวง
7. สัมมาสติ คือ แป้งดารงชีวิตอย่างมีสติ รู้ว่าเวลานี้นั้นเราควรทาอะไร
8. สัมมาสมาธิ คือ แป้งมีความตั้งมั่นแห่งจิตใจ เช่น แป้งตั้งมั่นว่าจะเรียนจบให้ได้
โดยที่จะไม่ไปกู้เงินกับใครทาให้แป้งต้องทางานและใช้เงินอย่างประหยัด
สิ่งที่วิเคราะห์ได้จากภาพยนตร์ คือ
แป้ง มีวิธีการจัดการกับทุกข์
โดยการ ”ปล่อยวาง”
ไม่ยึดติดอยู่กับความลาบาก มีความอดทนและความ
พยายาม ไม่ยึดติดกับความเสียใจที่ยายเสียชีวิต และ
ไม่ได้อยู่กับคนที่ตนเองรักคือแม่ พยามยามหาเงินส่ง
เสียตนเองเรียนหนังสือและใช้ในการดาเนินชีวิต โดยไม่
กู้ยืมเงินทุน พยายามใช้จ่ายอย่างประหยัด
สึนามิ ภูเก็ต 2004
The impossible
สิ่งที่วิเคราะห์ได้จากภาพยนตร์
หลักอริยสัจ 4 ที่เกี่ยวข้องคือ
1. ทุกข์ = ความทุกข์ที่เกิดจากการบาดเจ็บบริเวณร่างกาย
และสภาพจิตใจที่ย่าแย่จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
2. สมุทัย = เหตุที่ทาให้เกิดทุกข์คือปรากฏการณ์ทาง
ธรรมชาติ คลื่นยักษ์สึนามิ เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้และ
ไม่มีใครอยากให้เกิด
3. นิโรธ = เยียวยาสภาพร่างกายและสภาพจิตใจของ
ตนเองและแม่
4. มรรค = หมอทาการรักษาบาดแผลให้แม่ และ
การเยียวยาจิตใจด้วยความอบอุ่นของครอบครัว
ตัวอย่างฉากเหตุการณ์จากภาพยนตร์ ที่ตรงกับหลักธรรม อริยสัจ 4
1. มาเรียและสามี มีความทุกข์มีความกังวลกับงานที่พวกเขาทา
เป็นความทุกข์เกิดขันธ์ 5 นั่นคือ สัญญา
คือ ความจาได้หมายรู้ในสิ่งต่างๆ
2.มาเรียเห็นลูคัสจมน้า
มาเรียกาลังเป็นทุกข์ เป็นทุกข์เวทนาที่ไม่สบายกายและสบายใจ
สิ่งที่วิเคราะห์ได้จากภาพยนตร์
1. ต้องปล่อยวางและทาความเข้าใจว่าเรื่องที่
เกิดขึ้นเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่ไม่มี
ใครไม่อยากให้เกิด
การปล่อยวาง
2.มาเรียและลูคัสมีความสุขจากการได้ช่วยเหลือ
เด็กที่เคราะห์ร้ายจากสึนามิเช่นเดียวกับพวกเขา
โดย การยิ้มรับกับความสุขเล็กๆน้อยๆ แม้ตนเอง
จะได้รับบาดเจ็บทางร่างกาย
3. ความรักที่พ่อมีต่อลูก โดยที่พ่อยอมส่งลูกไปอยู่ในที่
ที่ปลอดภัยตามลาพังเพียงสองคนพี่น้อง
4. ได้เห็นถึงความมีน้าใจ เห็นอกเห็นใจกันของ
เพื่อนที่ร่วมประสบกับสถานการณ์เช่นเดียวกัน
โดยมีการแบ่งปันให้ใช้โทรศัพท์ เพื่อติดต่อ
ญาติ
5. การที่ลูคัสเกิดความปิติ ยิ้มอย่างมีความสุข เมื่อเห็นเด็กที่เขาเคย
ช่วยเหลืออยู่ได้พบกับพ่อเขาและมีความสุข
จากการวิเคราะห์ในข้อ 1 และ 2 กลุ่มของ
ท่านคิดว่าจะนาคุณธรรมและแนวทางดังกล่าวมา
ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้อย่างไร
„ การใช้หลักธรรมอริยสัจ 4 มาใช้ในชีวิตประจาวัน ทาให้เราดาเนินชีวิตด้วย
ความไม่ประมาทเป็นการคอยเตือนสติให้รู้ว่าความทุกข์หรือ
ปัญหาเกิดขึ้นได้เสมอ ทาให้ไม่หลงลืมตัวและพร้อม
ที่จะเผชิญหน้ากับปัญหาได้ตลอดเวลา
2.การใช้หลักธรรมอริยสัจ 4มาช่วยให้แก้ปัญหาต่างๆได้
โดยใช้เหตุผลและปัญญาคือ เมื่อมีปัญหาหรือความทุกข์
เกิดขึ้นก็ต้องหาสาเหตุว่ามาจากอะไรจึงสามารถแก้ปัญหาได้ตรงจุด
3.การใช้หลักการปล่อยวางมาใช้ในการดาเนินชีวิต ซึ่งการ
ปล่อยวาง หมายถึง การไม่จมอยู่กับงานจนเป็นบ้า ไม่
หมกมุ่นอยู่กับอดีตที่ผ่านไป และอนาคตที่ยังมาไม่ถึงขอเพียง
มีสติระลึกรู้ เพราะในความเป็นจริงไม่มีสิ่งใดเที่ยงแท้แน่นอน
โดยยึดหลักของการเกิดขึ้น ตั้งอยู่และดับไป
„ การใช้การฝึกสมาธิคือ การกาหนดลมหายใจ
เข้า-ออก การฝึกปฏิบัติให้จิตอยู่กับลมหายใจเข้า ออก จะเป็นอุบายช่วย
ให้จิตปล่อยวางได้ง่าย ไม่ฟุ้งซ่านไปกับความทุกข์ความวิตกกังวล และ
ช่วยให้จิตสงบ เป็นการผ่อนคลาย ให้จิตใจได้พักผ่อน
...สิ่งทั้งปวงควรหรือจะถือมั่น
เพราะว่ามันก่อทุกข์มีสุขไฉน
ยึดมั่นมากทุกข์มากลาบากใจ
ปล่อยวางได้จิตสงบพบนิพพาน...
553050315-6 นางสาวละมัย คาราช
553050318-0 นางสาววิธูวีนย์ สมคะเณย์
553050310-6 นางสาวภนุชพร ฝักไฝ่
553050308-3 นางสาวพิสมร ชารี
553050322-9 นางสาวศุภศิริ ยศราวาส
553050324-5 นางสาวสุจิรา ถาปันแก้ว
553050327-9 นางสาวสุพัตรา ผลประสาท
553050328-7 นางสาวอภิญญา พลยืน
553050493-2 Mr.VICHHEKA TRY
553050286-7 นางสาวดุจฤดี ประเสริฐศิลป์พลมา
553050057-2 นางสาวจณิสตา รักความซื่อ
553050069-5 นางสาวชุติมณฑน์ โสชัยยันต์
คณิตศาสตรศึกษา Sec.25
# กลุ่ม 5

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดกหน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดกวุฒิชาติ มาตย์นอก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะKook Su-Ja
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีvipawee613_14
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาPadvee Academy
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 

Was ist angesagt? (20)

กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
หน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดกหน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดี
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 

Andere mochten auch

หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4พัน พัน
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕niralai
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาniralai
 
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4pageใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4pageใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยThanawut Rattanadon
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 

Andere mochten auch (12)

หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4pageใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
 
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4pageใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
 
มงคลชีวิต
มงคลชีวิตมงคลชีวิต
มงคลชีวิต
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
อริยสัจ4
อริยสัจ4อริยสัจ4
อริยสัจ4
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 

Ähnlich wie อริยสัจ4และการปล่อยวาง

ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616Sombat Nakasathien
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐานniralai
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิOnpa Akaradech
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕Napakan Srionlar
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีTheeraphisith Candasaro
 

Ähnlich wie อริยสัจ4และการปล่อยวาง (14)

ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
อริยสัจ ๔
 อริยสัจ ๔ อริยสัจ ๔
อริยสัจ ๔
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 

Mehr von สาวกปิศาจ Kudo

Mehr von สาวกปิศาจ Kudo (6)

Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
 
Chapter 5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 

อริยสัจ4และการปล่อยวาง