SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
หน้า 1/5
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสอนแบบสานเสวนา (การสอนเสวนา)” : Dialogic Teaching Workshop
โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน
Supporting teacher development to enhance the quality of teaching skills
การส่งเสริมให้มีการสนทนากันอย่างมีคุณภาพ
ด้วยการใช้การสอนแบบสานเสวนาหรือสอนเสวนา(Dialogic teaching)
โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน
Supporting teacher development to enhance the quality of teaching skills
------------------------
การสอนแบบสานเสวนาหรือสอนเสวนาคืออะไร
“การสอนแบบสานเสวนา” หรือเรียกอีกอย่างได้ว่า “สอนเสวนา” (Dialogic teaching) เป็น
แนวทางที่อาศัย “พลังของการพูดคุย” และ “สนทนา” กันในห้องเรียนเพื่อกระตุ้นและพัฒนาความคิด
ของผู้เรียน โดยมุ่งเน้นพัฒนาด้านการเรียนรู้และความเข้าใจ แนวทางนี้สามารถนำไปใช้ได้กับทุก
รายวิชาในหลักสูตร และใช้ได้กับนักเรียนทุกวัย แนวทางนี้ช่วยส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเป็นนักสื่อสาร
ที่มีความมั่นใจในโรงเรียน และช่วยเตรียมความพร้อมให้พวกเขามีทักษะที่มีความสำคัญในชีวิต
การสอนแบบสานเสวนาให้ความสำคัญกับคำพูดของครูเท่าๆ กับของนักเรียน มีการวิจัย
เกี่ยวกับการสอนในรูปแบบนี้กันอย่างกว้างขวางและส่งผลอย่างมากกับผลการเรียนรู้ของนักเรียน การ
วิจัยเกี่ยวกับการสอนแบบสานเสวนานั้นมุ่งเน้นที่การสัมพันธ์กันของภาษา การเรียนรู้ การคิด และ
ความเข้าใจ และมุ่งหาสิ่งที่เป็นข้อพิสูจน์ที่ยืนยันว่าอะไรบ้างที่ทำให้เกิดการเรียนการสอนที่ดีในชั้นเรียน
การสอนแบบสานเสวนานั้นทำให้เด็กนักเรียนมีความรู้สึกว่าตนเองมีส่วนร่วมอย่างมากใน
บทบาทของการเป็นผู้ควบคุมสิ่งที่เกิดขึ้น อีกทั้งยังได้รับการให้ความสำคัญต่อความคิดเห็นและ
ความคิดของพวกเขา ซึ่งเป็นการสร้างบรรยากาศที่เด็กรู้สึกว่ามีคนรับฟัง ให้เกียรติ และให้ความสำคัญ
แก่พวกเขาด้วย โดยเด็กๆ จะถูกคาดหวังให้พูดคุยในทุกบทเรียน ทุกวัน
การสอนแบบสานเสวนาคือวิธีการสอนใช่หรือไม่
คำตอบคือ “ไม่ใช่” การสอนแบบสานเสวนาไม่ใช่แค่ชุดวิธีการสอน แต่เป็นแนวทางและมุมมอง
ในการประกอบวิชาชีพ มากกว่าจะเป็นเพียงวิธีการสอนเฉพาะแบบใดแบบหนึ่งเท่านั้น การสอนแบบ
สานเสวนาไม่ได้เกี่ยวข้องกับเทคนิคที่เราใช้เพียงเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในชั้น
เรียนที่เราดูแลอยู่ด้วย การสอนแบบสานเสวนาเกี่ยวข้องกับสมดุลของอำนาจระหว่างครูกับนักเรียน
และเกี่ยวข้องกับวิธีที่เราใช้สร้างองค์ความรู้ขึ้นมาด้วย
การสอนแบบสานเสวนาจำเป็นต้องใช้ทักษะของครูและความรอบคอบในการตีกรอบคำถาม
จากความรู้เดิมที่มี หรือมีส่วนร่วมในการพูดคุยเพื่อสืบค้นอย่างมีจุดมุ่งหมาย (purposeful exploratory
หน้า 2/5
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสอนแบบสานเสวนา (การสอนเสวนา)” : Dialogic Teaching Workshop
โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน
Supporting teacher development to enhance the quality of teaching skills
talk) และให้เวลานักเรียนได้คิดก่อนตอบ ควบคู่ไปกับการที่ครูฟัง สังเกต มองหาหลักฐานที่บ่งชี้ให้เห็น
ว่าเด็กมีความเข้าใจ รวมถึงการซักถามหรือท้าทายเมื่อจำเป็นเพื่อให้เด็กนักเรียนคิดต่อไป
ในทางปฏิบัติมีลักษณะอย่างไร?
ในห้องเรียนที่ใช้การสอนแบบสานเสวนาหรือสอนเสวนา ผู้เรียนจะไม่ได้ตอบแค่ข้อเท็จจริง
สั้นๆ ให้กับคำถามประเภทถามเพื่อ 'ทดสอบ (test)' หรือคำถามประเภท 'ทวนความจำ (recall)' หรือ
ตอบในสิ่งที่พวกเขาคิดว่าครูอยากจะได้ยินเท่านั้น แต่มากไปกว่านั้นพวกเขาจะได้เรียนรู้และได้รับการ
สนับสนุนให้:
▪ บรรยาย (narrate)
▪ อธิบาย (explain)
▪ วิเคราะห์ (analyze)
▪ คาดคะเน (speculate)
▪ จินตนาการ (imagine)
▪ สำรวจ (explore)
▪ ประเมิน (evaluate)
▪ หารือ (discuss)
▪ โต้แย้ง (argue)
▪ ให้เหตุผลสนับสนุนความถูกต้องหรือความสมเหตุสมผล (justify)
▪ ตั้งคำถามด้วยตนเอง (ask questions of their own)
ผู้เรียนจะได้รับการส่งเสริมให้พูดคุยและแบ่งปันถึงการเรียนรู้ของพวกเขาในทุกรายวิชาใน
หลักสูตร เช่นเดียวกับในชีวิตจริง การพูดคุยกันในรูปแบบต่างๆ ที่กล่าวมานั้นมีความจำเป็นต่อการ
เรียนรู้ทั้งสิ้น และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการพูดคุยเพื่อเรียนรู้ในแบบต่างๆ ผู้เรียนในชั้นเรียนที่ใช้
การสานเสวนาจะได้:
▪ ฟัง (listen)
▪ คิดเกี่ยวกับสิ่งที่พวกเขาได้ยิน (think about what they hear)
▪ ให้เวลาคนอื่นคิด (give others time to think)
▪ เคารพมุมมองที่แตกต่าง (respect alternative viewpoints)
▪ ส่งเสริมให้ผู้อื่นมีส่วนร่วมในการสนทนาเวลาผู้อื่นไม่ค่อยพูด โดยการขอความคิดหรือ
ความคิดเห็นเพื่อให้ทุกคนได้มีโอกาสพูดและมีโอกาสให้คนอื่นได้ยินความคิดเห็นนั้น
หน้า 3/5
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสอนแบบสานเสวนา (การสอนเสวนา)” : Dialogic Teaching Workshop
โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน
Supporting teacher development to enhance the quality of teaching skills
ครูหลายคนใช้การสอนแบบสานเสวนากับผู้เรียนเพื่อตั้งและยอมรับกฎระเบียบพื้นฐานหรือ
แนวทางในการการสนทนากัน โดยเขียนออกมาเป็นข้อๆ พร้อมใส่สัญลักษณ์แสดงข้อย่อย (bullet
points) ไว้หน้าข้อ เหมือนข้อความก่อนหน้านี้ และสิ่งที่เขียนออกมานี้จะมีการทบทวนด้วยกันกับ
นักเรียนบ่อยๆ เพราะครูตระหนักดีถึงความจำเป็นในการใช้การพูดคุยกัน รวมถึงการอภิปรายกันและ
การพูดคุยกันในแบบอื่นๆ ด้วย ในการสนับสนุนส่งเสริม,ต่อยอด (scaffold) การเรียนรู้ของเด็กนักเรียน
การให้การสนับสนุนส่งเสริม,ต่อยอด (scaffold) หมายถึงอะไร
มันคือการพูดคุยในชั้นเรียนที่มีการแลกเปลี่ยนมุมมองและข้อมูลอย่างเปิดเผยเพื่อสำรวจ
ประเด็น ทดสอบไอเดีย และจัดการกับปัญหาต่างๆ โดยการพูดคุยนี้อาจนำโดยคนคนเดียว (ครูหรือ
เด็กนักเรียน) หรือทำร่วมกันไปเป็นกลุ่มก็ได้
การพูดคุยเพื่อสนับสนุนส่งสริมมีสิ่งต่อไปนี้:
▪ ปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมให้เด็กได้คิดในหลากหลายวิธีแตกต่างกันไป
▪ คำถามที่ถามให้ต้องตอบมากกว่าแค่การจำมาตอบแบบง่ายๆ
▪ คำตอบที่มีลักษณะติดตามและพัฒนาความก้าวหน้าของนักเรียนมากกว่าแค่ให้รับ
คำตอบไปเท่านั้น
▪ คำแนะนำติชม (feedback) ที่บอกให้ทราบถึง นำไปสู่ และส่งเสริมให้เกิดการคิดไป
ข้างหน้า (thinking forward)
▪ การให้การสนับสนุน (contributions) ที่ใหญ่ขึ้น (extended) ไม่ใช่ให้แบบกระจัดกระจาย
(fragmented)
▪ การแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันเป็นคำถาม และการค้นหาคำตอบที่
ติดต่อสัมพันธ์กันอยู่อย่างลึกซึ้ง
▪ การจัดห้องเรียน บรรยากาศ และความสัมพันธ์ในชั้นเรียนที่จะช่วยทำให้ทุกอย่างที่ว่านี้
เป็นไปได้
อีกครั้ง สิ่งต่างๆ เหล่านี้ต่างก็มีที่ที่เหมาะสมกับตัวมันเอง: ไม่มีปฏิสัมพันธ์รูปแบบใดเพียง
รูปแบบเดียวที่จะเพียงพอให้นำไปใช้กับบวัตถุประสงค์ เนื้อหา และบริบทอันหลากหลายของชั้นเรียนที่
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ที่หลากหลาย (active learning classroom) ได้
หน้า 4/5
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสอนแบบสานเสวนา (การสอนเสวนา)” : Dialogic Teaching Workshop
โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน
Supporting teacher development to enhance the quality of teaching skills
คุณจำเป็นต้องจัดชั้นเรียนขึ้นมาเป็นการเฉพาะไว้สำหรับการสอนแบบสานเสวนาเลยหรือไม่
ในห้องเรียนที่ใช้การเรียนการสอนแบบสานเสวนา (dialogic classrooms) ครูใช้ศักยภาพจาก
วิธีการหลักๆ 5 วิธีด้วยกัน ในการจัดให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันเพื่อเพิ่มให้มีโอกาสมากที่สุดที่จะมี
การพูดคุยกันอย่างมีคุณภาพ :
▪ การสอนทั้งชั้น (whole class teaching)
▪ การทำงานกลุ่ม (นำโดยครู) (group work (teacher-led))
▪ การทำงานกลุ่ม (นำโดยนักเรียน) (group work (pupil-led))
▪ การเรียนการสอนแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (ครูกับนักเรียน) (one-to-one (teacher and pupil))
▪ การเรียนการสอนแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (นักเรียนจับคู่กัน) (one-to-one (pupil pairs))
สิ่งเหล่านี้มีความเหมาะสมเฉพาะตัวในการนำไปใช้ที่แตกต่างกัน: ไม่มีปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบใด
เพียงรูปเดียวที่เพียงพอให้นำไปใช้ได้ตลอดไป
หลักการในการสอนแบบสานเสวนาคืออะไร
ไม่ว่าจะใช้การเรียนการสอนด้วยการพูดคุยกันในลักษณะไหน และไม่ว่าการพูดคุยปฏิสัมพันธ์
กันนั้นจะจัดออกมาในรูปแบบใด การสอนมักจะมีการสนทนาเกิดขึ้นถ้าการสอนนั้น:
▪ ร่วมมือกัน (collective) - ผู้เรียนมีการเรียนรู้ร่วมกัน เป็นพื้นที่ของการเรียนรู้ร่วมกัน
▪ มีการแลกเปลี่ยนมุมมอง (reciprocal) - ผู้เรียนร่วมรับฟังซึ่งกันและกัน แบ่งปันความคิด
และพิจารณาหามุมมองทางเลือก และทำความเข้าใจร่วมกัน
▪ การสนับสนุน (supportive) - เด็กนักเรียนมีการพูดถึงความคิดของตนเองได้อย่างมีอิสระ
โดยไม่ต้องกลัวที่จะอายเมื่อตอบ “ผิด” และช่วยซึ่งกันและกันให้บรรลุความเข้าใจ
ร่วมกัน (common understandings)
▪ เติบโตขึ้นหรือ เพิ่มขึ้น (it grows) – ผู้เรียนในการเรียนการสอนร่วมกันสร้างคำตอบ
(answers) และให้การสนับสนุนส่งเสริมกัน (contributions) และเชื่อมโยงทั้งสองสิ่งเข้า
ด้วยกันเป็นความคิดความเข้าใจร่วมกันที่มีความชัดเจน
▪ มีจุดมุ่งหมาย (purposeful) – การพูดคุยในชั้นเรียนแม้จะเป็นการสนทนากันอย่างมี
คุณภาพและเปิดกว้างก็ตาม แต่ก็มีเป้าหมายหลักเป็นตัวกำหนดโครงสร้างของการ
สนทนาเสมอ
หน้า 5/5
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสอนแบบสานเสวนา (การสอนเสวนา)” : Dialogic Teaching Workshop
โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน
Supporting teacher development to enhance the quality of teaching skills
ครูทำอะไร เด็กนักเรียนทำอะไร
ก. ครูได้ถามคำถามที่ช่วยให้ได้ใช้ความคิดและการ
ตอบสนองอย่างลึกซึ้งหรือไม่
ข. ครูตอบสนองต่อการมีส่วนร่วมของนักเรียนใน
ลักษณะที่ทำให้เกิดการคิดที่ลึกซึ้งหรือไม่
ค. ครูได้สนับสนุนให้นักเรียนตอบสนองกับความคิด
ซึ่งกันและกันหรือไม่
ง. ครูให้เวลาคิดหรือไม่
จ. ครูช่วยให้เกิดการสนทนาที่ดีหรือไม่
ฉ. ครูหาวิธีเพิ่มการมีส่วนร่วมให้ได้มากที่สุดหรือไม่
ช. ครูสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสัมพันธ์ระหว่างกัน
หรือไม่
ซ. ครูยังพูดถึง / ต่อยอดความคิดของนักเรียน
หรือไม่ เมื่อครูนำชั้นเรียนกลับเข้าสู่ 'โหมดที่ครูเป็น
ผู้สอนผู้ควบคุมในชั้นเรียน’ (authoritative mode)'
ก. นักเรียนตั้งใจฟังหรือไม่?
ข. นักเรียนสนับสนุนให้ผู้อื่นได้พูดถึงมุมมอง
ของเขาบ้างหรือไม่?
ค. นักเรียนมีส่วนร่วมหรือไม่?
ง. นักเรียนเต็มใจที่จะคาดคะเน / หรือใช้ความ
พยายามบ้างหรือไม่ในการพูดถึงความคิดที่ยัง
ไม่เสร็จสมบูรณ์ดี?
จ. นักเรียนตอบสนองต่อการสนับสนุน
(contributions) ให้แก่กันและกันหรือไม่?
ฉ. นักเรียนมีความตั้งใจในอันที่จะเป็น
ประโยชน์แก่กันและกันอย่างอย่างดีที่สุด
(elaborated contributions) หรือไม่
ช. นักเรียนถามคำถามที่เกี่ยวข้องกับการ
สนทนาที่กำลังพัฒนาหรือดำเนินไปหรือไม่
ซ. นักเรียนให้เหตุผลสนับสนุนความคิดของ
ตนเองหรือไม่
ด. นักเรียนให้ความท้าทาย (challenge) อย่าง
เหมาะสมต่อกันและกัน / ต่อครูหรือไม่
ต. นักเรียนค้นหามุมมองทางเลือกอื่นหรือ
ด้วยหรือไม่
ถ. นักเรียนระบุความเชื่อมโยงระหว่างแนวคิด
(concepts) และความเชื่อมโยงระหว่างบท
สนทนา (dialogue) กับประสบการณ์
(experiences) ของพวกเขาหรือไม่?
ท. นักเรียนเปิดใจให้กับการเปลี่ยนมุมมอง
หรือไม่
ดัดแปลงมาจาก: http://21stcenturylearners.org.uk/?p=1361
ข้อมูลเพิ่มเติม
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสอน Dialogic ได้ที่:
www.robinalexander.org.uk/dialogic-teaching

More Related Content

Similar to Son-Sewana.pdf

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0Pattie Pattie
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 
การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716Pattie Pattie
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานสุชาติ องค์มิ้น
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรthana1989
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-lastการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-lastPattie Pattie
 
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003Pattie Pattie
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 

Similar to Son-Sewana.pdf (20)

Teaching
TeachingTeaching
Teaching
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
Sum scbf
Sum scbfSum scbf
Sum scbf
 
การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716การจัดการศึกษา 600716
การจัดการศึกษา 600716
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
Thai edu21n4
Thai edu21n4Thai edu21n4
Thai edu21n4
 
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-lastการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
 
Chapter 7
Chapter 7 Chapter 7
Chapter 7
 
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 

More from Pattie Pattie

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศPattie Pattie
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Son-Sewana.pdf

  • 1. หน้า 1/5 เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสอนแบบสานเสวนา (การสอนเสวนา)” : Dialogic Teaching Workshop โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน Supporting teacher development to enhance the quality of teaching skills การส่งเสริมให้มีการสนทนากันอย่างมีคุณภาพ ด้วยการใช้การสอนแบบสานเสวนาหรือสอนเสวนา(Dialogic teaching) โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน Supporting teacher development to enhance the quality of teaching skills ------------------------ การสอนแบบสานเสวนาหรือสอนเสวนาคืออะไร “การสอนแบบสานเสวนา” หรือเรียกอีกอย่างได้ว่า “สอนเสวนา” (Dialogic teaching) เป็น แนวทางที่อาศัย “พลังของการพูดคุย” และ “สนทนา” กันในห้องเรียนเพื่อกระตุ้นและพัฒนาความคิด ของผู้เรียน โดยมุ่งเน้นพัฒนาด้านการเรียนรู้และความเข้าใจ แนวทางนี้สามารถนำไปใช้ได้กับทุก รายวิชาในหลักสูตร และใช้ได้กับนักเรียนทุกวัย แนวทางนี้ช่วยส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนเป็นนักสื่อสาร ที่มีความมั่นใจในโรงเรียน และช่วยเตรียมความพร้อมให้พวกเขามีทักษะที่มีความสำคัญในชีวิต การสอนแบบสานเสวนาให้ความสำคัญกับคำพูดของครูเท่าๆ กับของนักเรียน มีการวิจัย เกี่ยวกับการสอนในรูปแบบนี้กันอย่างกว้างขวางและส่งผลอย่างมากกับผลการเรียนรู้ของนักเรียน การ วิจัยเกี่ยวกับการสอนแบบสานเสวนานั้นมุ่งเน้นที่การสัมพันธ์กันของภาษา การเรียนรู้ การคิด และ ความเข้าใจ และมุ่งหาสิ่งที่เป็นข้อพิสูจน์ที่ยืนยันว่าอะไรบ้างที่ทำให้เกิดการเรียนการสอนที่ดีในชั้นเรียน การสอนแบบสานเสวนานั้นทำให้เด็กนักเรียนมีความรู้สึกว่าตนเองมีส่วนร่วมอย่างมากใน บทบาทของการเป็นผู้ควบคุมสิ่งที่เกิดขึ้น อีกทั้งยังได้รับการให้ความสำคัญต่อความคิดเห็นและ ความคิดของพวกเขา ซึ่งเป็นการสร้างบรรยากาศที่เด็กรู้สึกว่ามีคนรับฟัง ให้เกียรติ และให้ความสำคัญ แก่พวกเขาด้วย โดยเด็กๆ จะถูกคาดหวังให้พูดคุยในทุกบทเรียน ทุกวัน การสอนแบบสานเสวนาคือวิธีการสอนใช่หรือไม่ คำตอบคือ “ไม่ใช่” การสอนแบบสานเสวนาไม่ใช่แค่ชุดวิธีการสอน แต่เป็นแนวทางและมุมมอง ในการประกอบวิชาชีพ มากกว่าจะเป็นเพียงวิธีการสอนเฉพาะแบบใดแบบหนึ่งเท่านั้น การสอนแบบ สานเสวนาไม่ได้เกี่ยวข้องกับเทคนิคที่เราใช้เพียงเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในชั้น เรียนที่เราดูแลอยู่ด้วย การสอนแบบสานเสวนาเกี่ยวข้องกับสมดุลของอำนาจระหว่างครูกับนักเรียน และเกี่ยวข้องกับวิธีที่เราใช้สร้างองค์ความรู้ขึ้นมาด้วย การสอนแบบสานเสวนาจำเป็นต้องใช้ทักษะของครูและความรอบคอบในการตีกรอบคำถาม จากความรู้เดิมที่มี หรือมีส่วนร่วมในการพูดคุยเพื่อสืบค้นอย่างมีจุดมุ่งหมาย (purposeful exploratory
  • 2. หน้า 2/5 เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสอนแบบสานเสวนา (การสอนเสวนา)” : Dialogic Teaching Workshop โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน Supporting teacher development to enhance the quality of teaching skills talk) และให้เวลานักเรียนได้คิดก่อนตอบ ควบคู่ไปกับการที่ครูฟัง สังเกต มองหาหลักฐานที่บ่งชี้ให้เห็น ว่าเด็กมีความเข้าใจ รวมถึงการซักถามหรือท้าทายเมื่อจำเป็นเพื่อให้เด็กนักเรียนคิดต่อไป ในทางปฏิบัติมีลักษณะอย่างไร? ในห้องเรียนที่ใช้การสอนแบบสานเสวนาหรือสอนเสวนา ผู้เรียนจะไม่ได้ตอบแค่ข้อเท็จจริง สั้นๆ ให้กับคำถามประเภทถามเพื่อ 'ทดสอบ (test)' หรือคำถามประเภท 'ทวนความจำ (recall)' หรือ ตอบในสิ่งที่พวกเขาคิดว่าครูอยากจะได้ยินเท่านั้น แต่มากไปกว่านั้นพวกเขาจะได้เรียนรู้และได้รับการ สนับสนุนให้: ▪ บรรยาย (narrate) ▪ อธิบาย (explain) ▪ วิเคราะห์ (analyze) ▪ คาดคะเน (speculate) ▪ จินตนาการ (imagine) ▪ สำรวจ (explore) ▪ ประเมิน (evaluate) ▪ หารือ (discuss) ▪ โต้แย้ง (argue) ▪ ให้เหตุผลสนับสนุนความถูกต้องหรือความสมเหตุสมผล (justify) ▪ ตั้งคำถามด้วยตนเอง (ask questions of their own) ผู้เรียนจะได้รับการส่งเสริมให้พูดคุยและแบ่งปันถึงการเรียนรู้ของพวกเขาในทุกรายวิชาใน หลักสูตร เช่นเดียวกับในชีวิตจริง การพูดคุยกันในรูปแบบต่างๆ ที่กล่าวมานั้นมีความจำเป็นต่อการ เรียนรู้ทั้งสิ้น และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการพูดคุยเพื่อเรียนรู้ในแบบต่างๆ ผู้เรียนในชั้นเรียนที่ใช้ การสานเสวนาจะได้: ▪ ฟัง (listen) ▪ คิดเกี่ยวกับสิ่งที่พวกเขาได้ยิน (think about what they hear) ▪ ให้เวลาคนอื่นคิด (give others time to think) ▪ เคารพมุมมองที่แตกต่าง (respect alternative viewpoints) ▪ ส่งเสริมให้ผู้อื่นมีส่วนร่วมในการสนทนาเวลาผู้อื่นไม่ค่อยพูด โดยการขอความคิดหรือ ความคิดเห็นเพื่อให้ทุกคนได้มีโอกาสพูดและมีโอกาสให้คนอื่นได้ยินความคิดเห็นนั้น
  • 3. หน้า 3/5 เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสอนแบบสานเสวนา (การสอนเสวนา)” : Dialogic Teaching Workshop โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน Supporting teacher development to enhance the quality of teaching skills ครูหลายคนใช้การสอนแบบสานเสวนากับผู้เรียนเพื่อตั้งและยอมรับกฎระเบียบพื้นฐานหรือ แนวทางในการการสนทนากัน โดยเขียนออกมาเป็นข้อๆ พร้อมใส่สัญลักษณ์แสดงข้อย่อย (bullet points) ไว้หน้าข้อ เหมือนข้อความก่อนหน้านี้ และสิ่งที่เขียนออกมานี้จะมีการทบทวนด้วยกันกับ นักเรียนบ่อยๆ เพราะครูตระหนักดีถึงความจำเป็นในการใช้การพูดคุยกัน รวมถึงการอภิปรายกันและ การพูดคุยกันในแบบอื่นๆ ด้วย ในการสนับสนุนส่งเสริม,ต่อยอด (scaffold) การเรียนรู้ของเด็กนักเรียน การให้การสนับสนุนส่งเสริม,ต่อยอด (scaffold) หมายถึงอะไร มันคือการพูดคุยในชั้นเรียนที่มีการแลกเปลี่ยนมุมมองและข้อมูลอย่างเปิดเผยเพื่อสำรวจ ประเด็น ทดสอบไอเดีย และจัดการกับปัญหาต่างๆ โดยการพูดคุยนี้อาจนำโดยคนคนเดียว (ครูหรือ เด็กนักเรียน) หรือทำร่วมกันไปเป็นกลุ่มก็ได้ การพูดคุยเพื่อสนับสนุนส่งสริมมีสิ่งต่อไปนี้: ▪ ปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมให้เด็กได้คิดในหลากหลายวิธีแตกต่างกันไป ▪ คำถามที่ถามให้ต้องตอบมากกว่าแค่การจำมาตอบแบบง่ายๆ ▪ คำตอบที่มีลักษณะติดตามและพัฒนาความก้าวหน้าของนักเรียนมากกว่าแค่ให้รับ คำตอบไปเท่านั้น ▪ คำแนะนำติชม (feedback) ที่บอกให้ทราบถึง นำไปสู่ และส่งเสริมให้เกิดการคิดไป ข้างหน้า (thinking forward) ▪ การให้การสนับสนุน (contributions) ที่ใหญ่ขึ้น (extended) ไม่ใช่ให้แบบกระจัดกระจาย (fragmented) ▪ การแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันเป็นคำถาม และการค้นหาคำตอบที่ ติดต่อสัมพันธ์กันอยู่อย่างลึกซึ้ง ▪ การจัดห้องเรียน บรรยากาศ และความสัมพันธ์ในชั้นเรียนที่จะช่วยทำให้ทุกอย่างที่ว่านี้ เป็นไปได้ อีกครั้ง สิ่งต่างๆ เหล่านี้ต่างก็มีที่ที่เหมาะสมกับตัวมันเอง: ไม่มีปฏิสัมพันธ์รูปแบบใดเพียง รูปแบบเดียวที่จะเพียงพอให้นำไปใช้กับบวัตถุประสงค์ เนื้อหา และบริบทอันหลากหลายของชั้นเรียนที่ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ที่หลากหลาย (active learning classroom) ได้
  • 4. หน้า 4/5 เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสอนแบบสานเสวนา (การสอนเสวนา)” : Dialogic Teaching Workshop โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน Supporting teacher development to enhance the quality of teaching skills คุณจำเป็นต้องจัดชั้นเรียนขึ้นมาเป็นการเฉพาะไว้สำหรับการสอนแบบสานเสวนาเลยหรือไม่ ในห้องเรียนที่ใช้การเรียนการสอนแบบสานเสวนา (dialogic classrooms) ครูใช้ศักยภาพจาก วิธีการหลักๆ 5 วิธีด้วยกัน ในการจัดให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันเพื่อเพิ่มให้มีโอกาสมากที่สุดที่จะมี การพูดคุยกันอย่างมีคุณภาพ : ▪ การสอนทั้งชั้น (whole class teaching) ▪ การทำงานกลุ่ม (นำโดยครู) (group work (teacher-led)) ▪ การทำงานกลุ่ม (นำโดยนักเรียน) (group work (pupil-led)) ▪ การเรียนการสอนแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (ครูกับนักเรียน) (one-to-one (teacher and pupil)) ▪ การเรียนการสอนแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (นักเรียนจับคู่กัน) (one-to-one (pupil pairs)) สิ่งเหล่านี้มีความเหมาะสมเฉพาะตัวในการนำไปใช้ที่แตกต่างกัน: ไม่มีปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบใด เพียงรูปเดียวที่เพียงพอให้นำไปใช้ได้ตลอดไป หลักการในการสอนแบบสานเสวนาคืออะไร ไม่ว่าจะใช้การเรียนการสอนด้วยการพูดคุยกันในลักษณะไหน และไม่ว่าการพูดคุยปฏิสัมพันธ์ กันนั้นจะจัดออกมาในรูปแบบใด การสอนมักจะมีการสนทนาเกิดขึ้นถ้าการสอนนั้น: ▪ ร่วมมือกัน (collective) - ผู้เรียนมีการเรียนรู้ร่วมกัน เป็นพื้นที่ของการเรียนรู้ร่วมกัน ▪ มีการแลกเปลี่ยนมุมมอง (reciprocal) - ผู้เรียนร่วมรับฟังซึ่งกันและกัน แบ่งปันความคิด และพิจารณาหามุมมองทางเลือก และทำความเข้าใจร่วมกัน ▪ การสนับสนุน (supportive) - เด็กนักเรียนมีการพูดถึงความคิดของตนเองได้อย่างมีอิสระ โดยไม่ต้องกลัวที่จะอายเมื่อตอบ “ผิด” และช่วยซึ่งกันและกันให้บรรลุความเข้าใจ ร่วมกัน (common understandings) ▪ เติบโตขึ้นหรือ เพิ่มขึ้น (it grows) – ผู้เรียนในการเรียนการสอนร่วมกันสร้างคำตอบ (answers) และให้การสนับสนุนส่งเสริมกัน (contributions) และเชื่อมโยงทั้งสองสิ่งเข้า ด้วยกันเป็นความคิดความเข้าใจร่วมกันที่มีความชัดเจน ▪ มีจุดมุ่งหมาย (purposeful) – การพูดคุยในชั้นเรียนแม้จะเป็นการสนทนากันอย่างมี คุณภาพและเปิดกว้างก็ตาม แต่ก็มีเป้าหมายหลักเป็นตัวกำหนดโครงสร้างของการ สนทนาเสมอ
  • 5. หน้า 5/5 เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสอนแบบสานเสวนา (การสอนเสวนา)” : Dialogic Teaching Workshop โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน Supporting teacher development to enhance the quality of teaching skills ครูทำอะไร เด็กนักเรียนทำอะไร ก. ครูได้ถามคำถามที่ช่วยให้ได้ใช้ความคิดและการ ตอบสนองอย่างลึกซึ้งหรือไม่ ข. ครูตอบสนองต่อการมีส่วนร่วมของนักเรียนใน ลักษณะที่ทำให้เกิดการคิดที่ลึกซึ้งหรือไม่ ค. ครูได้สนับสนุนให้นักเรียนตอบสนองกับความคิด ซึ่งกันและกันหรือไม่ ง. ครูให้เวลาคิดหรือไม่ จ. ครูช่วยให้เกิดการสนทนาที่ดีหรือไม่ ฉ. ครูหาวิธีเพิ่มการมีส่วนร่วมให้ได้มากที่สุดหรือไม่ ช. ครูสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสัมพันธ์ระหว่างกัน หรือไม่ ซ. ครูยังพูดถึง / ต่อยอดความคิดของนักเรียน หรือไม่ เมื่อครูนำชั้นเรียนกลับเข้าสู่ 'โหมดที่ครูเป็น ผู้สอนผู้ควบคุมในชั้นเรียน’ (authoritative mode)' ก. นักเรียนตั้งใจฟังหรือไม่? ข. นักเรียนสนับสนุนให้ผู้อื่นได้พูดถึงมุมมอง ของเขาบ้างหรือไม่? ค. นักเรียนมีส่วนร่วมหรือไม่? ง. นักเรียนเต็มใจที่จะคาดคะเน / หรือใช้ความ พยายามบ้างหรือไม่ในการพูดถึงความคิดที่ยัง ไม่เสร็จสมบูรณ์ดี? จ. นักเรียนตอบสนองต่อการสนับสนุน (contributions) ให้แก่กันและกันหรือไม่? ฉ. นักเรียนมีความตั้งใจในอันที่จะเป็น ประโยชน์แก่กันและกันอย่างอย่างดีที่สุด (elaborated contributions) หรือไม่ ช. นักเรียนถามคำถามที่เกี่ยวข้องกับการ สนทนาที่กำลังพัฒนาหรือดำเนินไปหรือไม่ ซ. นักเรียนให้เหตุผลสนับสนุนความคิดของ ตนเองหรือไม่ ด. นักเรียนให้ความท้าทาย (challenge) อย่าง เหมาะสมต่อกันและกัน / ต่อครูหรือไม่ ต. นักเรียนค้นหามุมมองทางเลือกอื่นหรือ ด้วยหรือไม่ ถ. นักเรียนระบุความเชื่อมโยงระหว่างแนวคิด (concepts) และความเชื่อมโยงระหว่างบท สนทนา (dialogue) กับประสบการณ์ (experiences) ของพวกเขาหรือไม่? ท. นักเรียนเปิดใจให้กับการเปลี่ยนมุมมอง หรือไม่ ดัดแปลงมาจาก: http://21stcenturylearners.org.uk/?p=1361 ข้อมูลเพิ่มเติม ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสอน Dialogic ได้ที่: www.robinalexander.org.uk/dialogic-teaching