SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
เอกสารประกอบวาระการประชุม วาระที่ 4.3
ผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ Developmental Evaluation (DE)
ช่วงต้นน้า และกลางน้า โดย มูลนิธิสยามกัมมาจล
ประชุมคณะอนุกรรมการก้ากับทิศทางโครงการพัฒนาครูและโรงเรียนฯ ครังที่ 3/2564
วันอังคารที่ 27 เมษายน 2564 เวลา 09.00 – 12.30 น.
ณ ห้องประชุมเสมอภาค กสศ. และประชุมออนไลน์ผ่าน Zoom meeting
1
แบบรายงานความก้าวหน้า
โครงการถอดบทเรียนการพัฒนาครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
โดย มูลนิธิสยามกัมมาจล
เลขที่สัญญา 63-0457 รหัสโครงการ 63-052-00025
รายงานงวดที่ 1 จาก เดือนกันยายน พ.ศ. 2563 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564
ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร
1. ข้อเสนอโครงการโดยย่อ
• เป้าประสงค์ ออกแบบและดำเนินกำรทำกระบวนกำร Developmental Evaluation ให้แก่ผู้รับทุน
กสศ. ในโครงกำรพัฒนำครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภำพกำรศึกษำอย่ำงต่อเนื่อง รุ่นที่ 1 และ 2
รวมทั้งสิ้น 11 หน่วยงำน ได้แก่
1. มูลนิธิลำปลำยมำศพัฒนำ 6. มหำวิทยำลัยรำชภัฏกำญจนบุรี
2. มูลนิธิสตำร์ฟิชคันทรีโฮฒ 7. มหำวิทยำลัยรำชภัฏภูเก็ต
3. มหำวิทยำลัยศรีปทุม วิทยำเขตชลบุรี 8. มูลนิธิสยำมกัมมำจล
4. มหำวิยำลัยขอนแก่น 9. ศูนย์ยุวพัฒน์ มูลนิธิรัฐบุรุษ
5. มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ 10. มหำวิทยำลัยนเรศวร
11. สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำ
สุรินทร์ เขต 2
• วัตถุประสงค์ ถอดบทเรียนกำรบริหำรและกระบวนกำรพัฒนำครูและโรงเรียน ของภำคีผู้รับทุน กสศ.
ภำยใต้โครงกำรพัฒนำครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภำพกำรศึกษำอย่ำงต่อเนื่อง โดยใช้
กระบวนกำร Developmental Evaluation เพื่อให้ทำกระบวนกำรเรียนรู้และถอดบทเรียนให้เห็น
ขั้นตอนกำรทำโครงกำรในช่วงต้นน้ำ กลำงน้ำ ปลำยน้ำ ซึ่งจะทำให้ผู้รับทุน และแหล่งทุนได้พิจำรณำ
ปรับโครงกำรให้มีประสิทธิภำพมำกขึ้นในระยะต่อไป
2
• ผลลัพธ์ของโครงการ
1. เกิดกำรเรียนรู้ร่วมกันในกระบวนกำรทำงำนของภำคี กสศ. และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องที่จะส่งผล
ให้คุณภำพของโครงกำณสำมำรถยกระดับและพัฒนำต่อไป
2. ภำคีของผู้รับทุนของ กสศ. สำมำรถนำเครื่องมือ Developmental Evaluation ไปใช้ในกำร
ทำงำน พัฒนำโรงเรียนของตนเองตำมบริบทและควำมต้องกำรต่อไป
3. กสศ. สำมำรถติดตำมโครงกำรและสำมำรถปรับโครงกำรให้มีประสิทธิภำพต่อไป และใช้
เครื่องมือ Developmental Evaluation ในกำรติดตำมและพัฒนำโครงกำรอื่น ๆ ต่อไป
4. โรงเรียนในโครงกำรของ กสศ. และภำคีผู้รับทุน กสศ. มีช่องทำงกำรทำงำนร่วมกับกรรมกำร
ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมจังหวัดศรีสะเกษ และระยอง ทำให้มีกำรสนับสนุนและพัฒนำโรงเรียน
จำกพื้นที่ต่อเนื่องต่อไป
2. กิจกรรมที่ได้ดาเนินการในงวดนี้
กิจกรรมตามแผน
(ในงวดนี้)
ไม่ได้
ทา
ได้ทา
เมื่อวันที่
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม
กลุ่มและจานวน
ผู้เข้าร่วม
กิจกรรม
อธิบายผลที่เกิดขึ้น
อบรมเชิงปฏิบัติกำร
Developmental
Evaluation ช่วงต้นน้ำ
26 – 27 ต.ค. 63 72 คน (จำก 11
ภำคีผู้รับทุนรุ่นที่
1 และ 2)
เกิดกำรเคำรพ รับฟังกันระหว่ำงผู้รับทุน
และผู้รับทุน และเกิดกำรมีส่วนร่วมของทีม
โค้ชภำคีผู้รับทุนทั้ง 11 ภำคี ทั้งในเรื่องของ
กำรร่วมกันกำหนดเป้ำหมำยร่วม (Vision)
กำรออกแบบขั้นตอน วิธีกำรทำงำนร่วมกัน
(KRA KPI ACT) ออกมำเป็นแผนยุทธศำสตร์
มำตรกำรและกิจกรรมพัฒนำครูและโรงเรียน
ของภำคีผู้รับทุน
อบรมเชิงปฏิบัติกำร
Developmental
Evaluation ช่วงกลำงน้ำ
28 – 1 มี.ค. 64 64 คน (จำก 11
ภำคีผู้รับทุนรุ่นที่
1 และ 2)
ภำคีผู้รับทุนเกิดกำรทบทวนกระบวนกำร
ทำงำน ควำมก้ำวหน้ำของโครงกำรว่ำเป็นไป
ตำมเป้ำหมำยที่วำงไว้หรือไม่ พร้อมทั้ง
สำมำรถระบุสำเหตุของปัญหำหรืออุปสรรคที่
เกิดขึ้น นำไปสู่กระบวนกำรระดมสมองเพื่อ
3
กิจกรรมตามแผน
(ในงวดนี้)
ไม่ได้
ทา
ได้ทา
เมื่อวันที่
ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม
กลุ่มและจานวน
ผู้เข้าร่วม
กิจกรรม
อธิบายผลที่เกิดขึ้น
หำมำตรกำรเสริมเพื่อแก้ไขปัญหำ และปรับ
กิจกรรมหรือยุทธศำสตร์กำรดำเนินงำน และ
นำกิจกรรมที่ได้ร่วมกันปรับไปใช้ให้
สอดคล้องกับสถำนกำรณ์
3. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินโครงการ
3.1 กลุ่มเป้ำหมำยผู้เข้ำร่วม มีภำระงำนที่ค่อนข้ำงมำก ทำให้ผู้เข้ำร่วมบำงคนไม่ใช่ผู้เข้ำร่วมกลุ่มหรือคน
เดิมจำกกำรอบรมในช่วงต้นน้ำ ทำให้เกิดควำมไม่เข้ำใจในกระบวนกำรอบรม และขำดกำรมีส่วนร่วม
ในกำรแสดงควำมคิดเห็นอย่ำงเต็มที่
3.2 สถำนกำรณ์โควิด 19 ที่ทำให้เกิดข้อจำกัดด้ำนกำรจัดกำรอบรม ที่ไม่สำมำรถดำเนินกำรจัดกำรอบรม
ในรูปแบบ On site โดยให้ผู้เข้ำร่วมทั้งหมดเข้ำร่วมได้
4. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น
4.1 ดำเนินกำรประสำนกับผู้เข้ำร่วม เพื่อตกลงวันและเวลำร่วมกันในกำรจัดอบรมเพื่อให้ผู้เข้ำร่วมเตรียม
ตัว และสำมำรถเข้ำร่วมกิจกรรมอบรมได้อย่ำงพร้อมเพรียง
4.2 ปรับรูปแบบกำรจัดกำรอบรมเป็น 2 รูปแบบ โดยจัดพร้อมกันทั้งรูปแบบ Online และ On site โดย
แบ่งกลุ่มภำคีตำมควำมสะดวกและสมัครใจในกำรเข้ำอบรม เพื่อลดจำนวนผู้เข้ำร่วมตำมมำตรกำร
รักษำระยะห่ำงของทำงภำครัฐ
4
ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานตามผลผลิต / ผลลัพธ์
จากกระบวนการ Developmental Evaluation (DE) ช่วงกลางน้า เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ – 1 มีนาคม
2564 ทาให้ 11 ภาคีผู้รับทุน กสศ. ได้ทบทวนงานของตนเอง ( ได้อะไร ตาม KRA KPI และ ไม่ได้อะไร ตาม
KRA KPI ของโครงการ โดยเลือกกิจกรรมที่สาคัญที่สุดต่อการบรรลุเป้าหมายมาวิเคราะห์) ดังนี้
หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง
1.มูลนิธิลาปลายมาศ
พัฒนา
• โรงเรียนมีกำรปรับ
ตำรำงเรียน ให้
สอดคล้องกับกำรจัดกำร
เรียนกำรสอน แบบ PBL
• ครูนำหน่วยกำรเรียนรู้
ของโรงเรียนลำปลำย
มำศพัฒนำไปปรับใช้
• ครูใช้กระบวนกำร “ชง
เชื่อม ใช้” (Active
Learning) ใน PBL
• ครูยังไม่สำมำรถสร้ำง
แรงบันดำลใจให้เด็ก
ได้มำกพอ
• ครูขำดทักษะกำรตั้ง
คำถำม เพื่อยกระดับ
กำรเรียนรู้ของเด็ก
• ครูขำดทักษะกำรสร้ำง
สนำมพลังบวก
• ครูยังไม่สำมำรถ
ออกแบบหน่วยกำร
เรียนรู้เป็นของตัวเอง
• ครูแกนนำยังขำดทักษะ
กำรเป็นโค้ช โดยเฉพำะ
ทักษะกำรตั้งคำถำม
• ครูและผอ.ยังไม่เข้ำใจ
หลักสูตรฐำนสมรรถนะ
ด้านวิชาการ
• โค้ชยังไม่แม่นยำพอ ในเรื่อง
PBL และจิตศึกษำ เพื่อช่วยครู
ในกำรออกแบบและให้คำ
ปรึกษ้ำเรื่องหน่วยกำรเรียนรู้
• ควำมท้ำทำยของโค้ช คือ กำร
ใช้หลักสูตรฐำนสมรรถนะใน
โรงเรียน จำเป็นที่โค้ชจะต้อง
ทำให้ครูเห็นควำมเชื่อมโยง
ของกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่
ดำเนินกำรอยู่ ไปให้ถึง
สมรรถนะ
• โค้ชยังต้องพัฒนำวิธีกำรวัด
และประเมินผลด้ำนสมรรถนะ
ของผู้เรียน จำกกระบวนกำร
เรียนรู้แบบ PBL
• โค้ชต้องพัฒนำเรื่องกำร
ออกแบบกำรเรียนรู้ ในระดับ
มัธยม คิดว่ำตนเองยังเข้ำใจไม่
ถ่องแท้และชัดเจนมำกพอ
ด้านการออกแบบและกระบวนการ
• ครูโค้ชมีจำนวนน้อย และมีพื้น
ฐำนควำมรู้ไม่เท่ำกัน ในกำร
5
หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง
สร้ำงกำรเรียนรู้ให้เพื่อนครูทั้ง
ในโรงเรียนและโรงเรียน
เครือข่ำย จึงทำให้ดูแลครูใน
โครงกำรไม่ทั่วถึง
• ขำดกำรวิเครำะห์
กลุ่มเป้ำหมำย และไม่ว่ำ
กลุ่มเป้ำหมำยมีพื้นฐำน
แตกต่ำงกันอย่ำงไร เรำก็อบรม
แบบเดียวกันหมด
• ยังยึดติดกำรอบรมรูปแบบเดิม
อยำกให้มีกำรพัฒนำ
กระบวนกำรจัดอบรมใน
รูปแบบใหม่ เพื่อตอบโจทย์
กลุ่มเป้ำหมำยให้มำกขึ้น
2.มูลนิธิโรงเรียนสตาร์
ฟิชคันทรีโฮม
• กำรจัดวง PLC online
ทุกเดือน ทำให้ครูได้
พัฒนำวิชำชีพ
• ครูและผอ.ได้มีกำร
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระหว่ำงเขตพื้นที่
• เนื่องจำกกำรทำวง PLC
เป็นแบบOnline จึงทำ
ให้เกิดกำรมีส่วนร่วม
น้อย
• รูปแบบประเมินกำรมี
ส่วนร่วมยังไม่ตำยตัว
ต้องปรับไปตำม
สถำนกำรณ์
• ยังไม่สำมำรถจัดวง
PLC Online ได้ตอบ
โจทย์ควำมต้องกำรที่
หลำกหลำยของครูแต่
ละคนได้
ด้านวิชาการ
• ทีมโค้ชมีควำมแม่นยำใน
กระบวนกำรของตนเอง แต่มี
ประสบกำรณ์น้อย ในกำรเข้ำ
ไปช่วยโรงเรียนในโครงกำร
• ยังมองเห็นปัญหำของโรงเรียน
ไม่ชัดเจน
ด้านการออกแบบและกระบวนการ
• มีกำรออกแบบและจัด
กระบวนกำร Workshop
Online อยู่ในระดับดี แต่ยังมี
จุดที่ต้องพัฒนำเพิ่ม คือ จะทำ
อย่ำงไรให้ออนไลน์สร้ำงกำร
เรียนรู้ที่มีคุณภำพได้มำกขึ้น
6
หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง
และใกล้เคียงกับกำรลงพื้นที่
จริง
• มีควำมพยำยำมในกำร
ออกแบบกระบวนกำรให้ตอบ
โจทย์กลุ่มเป้ำหมำยที่มีควำม
หลำกหลำย
• มีทีมงำนที่หลำกหลำยมำร่วม
ออกแบบกระบวนกำร เช่น
ทีมออกแบบกระบวนกำร ทีม
ปฏิบัติ และทีมประเมิน
3.มหาวิทยาลัยศรี
ปทุม วิทยาเขตชลบุรี
• ครู Open mind ในกำร
เปิดรับส่งใหม่และพร้อม
พัฒนำ
• ครูฟังเด็กมำกขึ้น
• ครูมีควำมพยำยำมปรับ
แผนและจัดกำรเรียนรู้
พร้อมเป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ใน
กำรพัฒนำตนเอง
• ครูใช้ 6 ขั้นตอน
(OECD) ในกำรแบบ
กระบวนกำรเรียนรู้กับ
ผู้เรียน
• เกิดครูแกนนำ ประมำน
22 คน ที่เป็นต้นแบบ
ด้ำนกำรจัดกำรกำร
เรียนรู้ แบบ Active
Learning ผ่ำน 6
• ยังไม่มีเครื่องมือในกำร
วัด Growth Mindset
ของครู
• มีครูบำงส่วนที่ยัง
Fixed Mindset
• ครูขำดทักษะกำร
ออกแบบแผนกำร
จัดกำรเรียนรู้แบบ
บูรณำกำร 50%
• ครูเชื่อมโยงสมรรถนะที่
เกิดกับผู้เรียนกับตัวชี้วัด
มำตรฐำนไม่ได้ 65%
• ครูยังขำดทักษะกำรตั้ง
คำถำม ขำดทักษะกำร
ตั้งคำถำม 60%
• ครูขำดทักษะเชิงเทคนิค
กำรใช้เครื่องมือในกำร
ด้านวิชาการ
• ทีมโค้ชยังไม่แม่นยำใน 6
ขั้นตอน ของ OECD ที่พำ
โรงเรียนเรียนรู้
• ทีมโค้ชมองโครงกำรไม่ทะลุ จึง
ทำให้สื่อสำรได้ไม่ชัดเจน และ
ไม่สำมำรถช่วยยกระดับควำม
เข้ำใจของครูได้อย่ำงถูกจุด
ด้านการออกแบบและกระบวนการ
• มีกำรวิเครำะห์พื้นควำมรู้ของ
ผู้เข้ำร่วม
• ออกแบบกระบวนกำรให้ครูนำ
6 ขั้นตอน ของ OECD ลงสู่
แผนกำรสอน และสอนจริงใน
ชั้นเรียน
7
หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง
ขั้นตอน ของ OECD คิด
เป็น 40%
• ครูจัดกำรเรียนรู้ให้
นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ
จริง (Active Learning)
• ครูเปิดโอกำสและ
กระตุ้นกำรตั้งคำถำม
ของผู้เรียน เพื่อสร้ำงกำร
เรียนรู้ร่วมกัน คิดเป็น
40%
• ครูมีกำรใช้สื่อทำง
Social และรูปแบบกำร
จัดกำรเรียนกำรสอนโดย
อำศัยเทคโนโลยีเข้ำมำ
ช่วย Kahoot,
Youtube
• ครูมีกำรใช้รูปแบบ
Assessment of
Constructive
ออกแบบเชิงวิศวกรรม
(ครูนำเด็กไม่ได้) 70%
• ครูหลงทำง เน้น
Product มำกกว่ำ
Process และ
สมรรถนะเชิง
คุณลักษณะ 60%
4.มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น
• เด็กได้แสดงศักยภำพ
สำมำรถคิดแก้ปัญหำ
สรุป รวมถึง สร้ำงองค์
ควำมรู้ได้ด้วยตัวเอง
• ผอ. เข้ำใจกระบวนกำร
เข้ำใจ concept ใน
ระดับดี และสำมำรถโค้ช
ครูได้
• เด็กอำจยังไม่คุ้นชินกับ
วัฒนธรรมกำรเรียน
แบบที่ต้องใช้ควำมกล้ำ
แสดงออก
• ผอ. บำงท่ำน ยังมี
ประเด็นเรื่องกำรสร้ำง
กำรมีส่วนร่วม ของทีม
กำรศึกษำชั้นเรียน/
ครูผู้สอนในโรงเรียน
ด้านวิชาการ
• โค้ชลงพื้นที่ รับฟังและร่วม
เรียนรู้ไปพร้อมกับครูและผอ.
จึงทำให้ช่วยได้ถูกจุด
• กำรลงพื้นที่ ทำ PLC ยังมี
กระบวนกำรไม่ชัดเจน
• มีวง KM ของทีมโค้ช เพื่อ
พัฒนำควำมรู้ด้ำนวิชำกำร
8
หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง
• ครูเตรียมกิจกรรม
เปลี่ยนจำกกำรให้ควำมรู้
เป็นกำรจัดกิจกรรมให้
เด็กได้ “เรียนรู้ด้วย
ตัวเอง”
• ครูเตรียมกำรในชั้นเรียน
มำกขึ้น
• ครูเกิดควำมร่วมมือใน
กำรทำงำนเป็นทีม
• โค้ชสำมำรถสร้ำงควำม
เข้ำใจในแนวทำง LSOA
กับโรงเรียนได้
• โค้ชมีควำมเชี่ยวชำญที่
หลำกหลำยในสำขำวิชำ
เช่น คอมพิวเตอร์ ศิลปะ
ภำษำไทย ทำให้เกิด
กำรบูรณำกำร
• มีกำรทำ MOU กับ
โรงเรียนในเขตพื้นที่
• เกิดเครือข่ำยในหลำย
ระดับ (โรงเรียน
อุดมศึกษำ ในประเทศ
และต่ำงประเทศ)
• ครูมือใหม่ อำจยังต้อง
เพิ่มเติม ทักษะกำร
สังเกตชั้นเรียน ในเรื่อง
กำรมองหำแนวคิด (ซึ่ง
ต้องใช้เวลำในกำร
ฝึกฝนทักษะ)
• โค้ชต้องสร้ำงควำม
เข้ำใจกับศน. ใน
นวัตกรรม LSOA เพื่อ
ให้ศน. สำมำรถโค้ชใน
โรงเรียน
• อยำกให้เกิด MOU ใน
เขตพื้นที่กำรศึกษำ
• ด้วยสถำนกำรณ์
COVID-19 ทำให้ต้อง
ปรับกำรสร้ำงเครือข่ำย
จำก onsite มำเป็น
online ทั้งหมด
ด้านการออกแบบและกระบวนการ
• กำรออกแบบกระบวนกำรให้
สำมำรถเข้ำร่วมสังเกตกำรณ์
ชั้นเรียนและร่วมสะท้อนผลกับ
ทำงโรงเรียนได้ แต่
กระบวนกำรยังไปไม่ถึงสิ่งที่
โรงเรียนต้องพัฒนำต่อ
• มีกำรออกแบบให้สอดคล้องกับ
ควำมต้องกำรของแต่ละ
โรงเรียน
5.มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์
• ได้ระบบเครือข่ำยใน
ระดับตื้น แต่อยำกได้
ระบบเครือข่ำยที่ลึก
มำกกว่ำนี้ ยังไม่ท้ำทำย
• อยำกให้ผู้ปกครองเข้ำ
มำมีส่วนร่วมในกำร
จัดกำรเรียนรู้ ไม่ได้เป็น
เพียงแขกรับเชิญ
ด้านวิชาการ
• ทีมโค้ชยังไม่แม่นกระบวนกำร
ที่พำโรงเรียนเรียนรู้
• ทีมโค้ชไม่สำมำรถสร้ำงควำม
เข้ำใจให้ผู้ปกครองได้ จึงให้ครู
9
หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง
• เกิดเครือข่ำย 78
โรงเรียน
• โรงเรียนบ้ำนเกำะทำก
ผู้ปกครองให้ควำม
ร่วมมือด้วยดี
• ผู้ปกครองที่สร้ำงให้เด็ก
เกิดควำมรักห่วงแหน
โรงเรียน
• กำรดูแลควำมปลอดภัย
ของพื้นที่ ทำงหมู่บ้ำนจะ
ส่งชุดรักษำควำม
ปลอดภัยหมู่บ้ำนมำดูแล
ควำมปลอดภัยให้กับ
โรงเรียน ทำให้รู้สึกถึง
ควำมมีส่วนร่วมกับ
โรงเรียน
เป็นคนกลำง สื่อสำรสร้ำง
ควำมเข้ำใจกับผู้ปกครองแทน
ด้านการออกแบบและกระบวนการ
• ทีมโค้ชไม่ได้ออกแบบ
กระบวนกำรร่วมกัน
• กระบวนกำรที่ทำกับครูใน
โรงเรียน ยังไม่สำมำรถทำให้
เห็นว่ำ ทีมโค้ชทำอะไรกับครู
ในโรงเรียน และครูสำมำรถไป
จัดกำรเครือข่ำยได้
6.มหาวิทยาลัยราช
ภัฏกาญจนบุรี
• ครูมีทักษะกำรตั้งคำถำม
ทั้งคำถำมกระตุ้นแและ
กำรถอดบทเรียน
• ครูสำมำรถออกแบบ
กิจกรรมเรียนรู้แบบ
Active Learning ได้
(ทำเด็กมีส่วนร่วมและ
ออกแบบสื่อให้เหมำะสม
กับชั้นเรียนได้)
• ครูสร้ำงกระบวนกำร
เรียนให้เด็กได้ ตั้งแต่กำร
• ครูบำงท่ำน ยังทำไม่ได้
ครบ 6 Steps
• ครูยังมีปัญหำเรื่องกำร
จัดกำรในชั้นเรียน
ด้านวิชาการ
• ด้ำนวิชำกำรยังไม่บรรลุเป้ำ
ทั้งหมด ที่ตอบโจทย์กสศ.
• ควำมรู้เรื่อง 6 Steps ยังมี
ควำมเข้ำใจไม่ตรงกัน
• ทีมงำนคุยกันน้อย ยังขำด
ควำมเชื่อมั่น และอำจต้องมี
คู่มือจำกส่วนกลำงมำช่วย
ด้านการออกแบบและกระบวนการ
• กำรออกแบบกระบวนกำร มี
กำรปรับแก้กันตลอดเวลำ
10
หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง
ตั้งโจทย์ ไปจนถึงสอน
คนอื่นได้จริง
เพื่อให้แก้ Pain point
โรงเรียนได้มำกที่สุด
• ยังมีบำงโรงเรียนที่ยังไม่ได้
ออกแบบกำรประเมินด้วย
ตนเอง (ตอนนี้อยู่ระหว่ำง
ดำเนินกำร)
• กำรออกแบบกระบวนกำรยัง
ไม่สำมำรถตอบโจทย์
กลุ่มเป้ำหมำยได้ทุกคน
7.มหาวิทยาลัยราช
ภัฏภูเก็ต
• โรงเรียนสำมำรถพัฒนำ
หน่วยกำรเรียนรู้เป็นของ
ตัวเองได้
• ครูแกนนำขับเคลื่อนกำร
จัดกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผ่ำน PLC อย่ำงต่อเนื่อง
• ครูแกนนำที่ไม่ได้มำ
อบรม หรือบำงครั้งมำ
อบรมแต่ยังเข้ำใจ
เป้ำหมำยไม่ตรงกัน
• ครูแกนนำยังไม่สำมำรถ
สร้ำงกระบวนกำร
เรียนรู้ให้เพื่อนครูได้
• ครูยังไม่มีควำมรู้ควำม
เข้ำใจมำกพอ ในกำร
ออกแบบกระบวนกำร
จัดกำรเรียนรู้ในชั้น
เรียน (เป้ำหมำย
กระบวนกำร และกำร
ประเมิน ยังไม่
สอดคล้องกัน)
ด้านวิชาการ
• ทีมโค้ชยังเข้ำใจกระบวนกำร
ไม่ตรงกัน
• ทีมโค้ชยังไม่สำมำรถทำให้ครู
มั่นใจในกำรประเมินแบบใหม่
ได้ (Formative
Assessment)
ด้านการออกแบบและกระบวนการ
• ต้องพัฒนำกระบวนกำรอบรม
เพื่อให้ครูสำมำรถออกแบบ
กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำร
สอน และกำรประเมิน ให้
สอดคล้องกับเป้ำหมำยที่ตั้งไว้
8.มูลนิธิสยามกัมมา
จล
• มูลนิธิสยำมกัมมำจล ได้
ใช้ DE ต้นน้ำ และกลำง
น้ำ ในกำรพัฒนำทีมงำน
ใหม่ และสร้ำงควำม
• ยังไม่สำมำรถสร้ำงทีม
โค้ชในพื้นที่ ที่มีควำมรู้
ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับ DE
จนสำมำรถออกแบบ
กระบวนกำรทำจริงได้
ด้านวิชาการ
• ยกระดับควำมรู้ควำมเข้ำใจ
DE ให้ ทีมวิชำกำรในพื้นที่
เพื่อที่จะได้ช่วยโรงเรียนได้
อย่ำงถูกจุด
11
หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง
เข้ำใจที่ตรงกันระหว่ำง
ทีมงำนใหม่และคนเดิม
• กำรทำ DE กลำงน้ำ ทำ
ให้เห็น Pain Point ของ
โรงเรียน และ
สถำนกำรณ์ที่เป็นวิกฤต
จำกโควิดและอื่นๆ ทำให้
สำมำรถปรับแผนได้เร็ว
• ทีมงำนเห็นควำมสำคัญ
ของกำรทำ DE กับ
โรงเรียน และได้จัดกิจ
จรรม DE ต้นน้ำให้
โรงเรียน เพื่อให้โรงเรียน
มีแผนกำรทำงำนที่
ชัดเจน ทำให้ทีมมูลนิธิฯ
สำมำรถติดตำม
ควำมก้ำวหน้ำของ
โรงเรียนได้ง่ำยขึ้น
• มีกำรเชิญ Mentor บำง
คน ร่วมทำ DE กลำงน้ำ
ทำให้เกิดควำมเข้ำใจที่
ตรงกัน และสะท้อนภำพ
กระบวนกำรพัฒนำ
โรงเรียนที่ชัดเจน และ
สำมำรถแผนงำนที่
สอดคล้องกับปัญหำ
ร่วมกันได้อย่ำงรวดเร็ว
(ลดควำมขัดแย้งกับ
Mentor กับ SCBF)
• สร้ำงควำมเข้ำใจให้ทีม Fa ให้
มีควำมแม่นยำในกระบวนกำร
ด้านการออกแบบและกระบวนการ
• ออกแบบกระบวนกำรให้
สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ที่
เกิดขึ้นจริงของโรงเรียน และ
เข้ำไปสนับสนุนแต่ละโรงเรียน
ให้ตรงจุดมำกขึ้น
(Offline/Online)
• กระบวนกรหลักไม่มีข้อมูล
พื้นฐำนของโรงเรียนที่เข้ำร่วม
ทำให้กำรออกแบบ
กระบวนกำรยังไม่ตอบบริบท
เฉพำะของแต่ละโรงเรียน
12
หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง
9.ศูนย์ยุวพัฒน์ มูลนิธิ
รัฐบุรุษฯ
•เกิดวง PLC ครู ในกำร
พัฒนำกำรเรียนกำรสอน
•มีกำรจัดตั้งกลุ่ม PLC (กลุ่ม
สำระกำรเรียนรู้/สำยชั้น)
•มีกำหนดชั่วโมง PLC ชัดเจน
หลังเลิกเรียนสัปดำห์ละ 1 วัน
•มีเป้ำหมำยในกำรทำวง PLC
ที่ชัดเจน
1.แลกเปลี่ยนปัญหำที่ต้อง
แก้ไข จัดลำดับ
ควำมสำคัญที่ต้องแก้ไข
2.ร่วมกันออกแบบวิธีกำร
แก้ไขปัญหำ (แผน/สื่อ/
วิธีกำรสอน/สังเกตกำร
สอน (ถ่ำยรูปและวิดีโอ)
3.AAR ปรับปรุงพัฒนำกำร
สอนสู่วงจรกำรพัฒนำจน
บรรลุผล
•ทีมโค้ชติดตำมกำร PLC ของ
โรงเรียนและแนะนำเพิ่มเติม
อย่ำงสม่ำเสมอ
• เนื่องจำกสถำนกำรณ์
Covid-19 จึงปรับมำเป็น
PLC online ได้เฉพำะบำง
โรงเรียน
ด้านวิชาการ
• ทีมโค้ชยังไม่แม่นกระบวนกำร
และกำรจัดกำรเรียนรู้แบบ
Active Learning
• Mentor เข้ำไปช่วยให้ครูแต่
ละโรงเรียนทำ PLC
ด้านการออกแบบและกระบวนการ
• มีกำรทำ Pre-test/Post-test
• ทีมงำนติดตำมทุกเดือน
• ประเมินควำมพึงพอใจ
• เน้นพัฒนำให้ครูสำมำรถ
ออกแบบและจัดกระบวนกำร
เรียนรู้แบบ Active Learning
ที่เกิดผลลัพธ์ที่เด็กได้จริง
10.มหาวิทยาลัย
นเรศวร
• ครูใช้จิตวิทยำเชิงบวก
• ครู Bully เด็กลดลง
70%
• ครูรับฟังผู้อื่นมำกขึ้น
70%
• ครูใช้จิตวิทยำเชิงบวก
• ครู Bully เด็กลดลง
70%
• ครูรับฟังผู้อื่นมำกขึ้น
70%
ด้านวิชาการ
• ทีมโค้ชยังมีระดับควำมเข้ำใจ
ไม่ตรงกัน จึงส่งผลต่อคุณภำพ
ของกำรช่วยเหลือครูผู้สอนใน
โรงเรียน
• พัฒนำครูให้เห็นควำมหมำย
ของกำรใช้จิตวิทยำเชิงบวก
13
หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง
• ครูชื่นชม Empower
เด็กได้ทุกคนอย่ำงทั่วถึง
60%
• ครูลดกำรเปรียบเทียบ ตี
ค่ำ ตัดสินนักเรียน 60%
• ครูมีกำลังใจในกำร
ทำงำนเพิ่มมำกขึ้น
• สำมำรถลดควำมขัดแย้ง
ภำยในโรงเรียนได้
• ครูชื่นชม Empower
เด็กได้ทุกคนอย่ำงทั่วถึง
60%
• ครูลดกำรเปรียบเทียบ
ตีค่ำ ตัดสินนักเรียน
60%
• ครูมีกำลังใจในกำร
ทำงำนเพิ่มมำกขึ้
• สำมำรถลดควำม
ขัดแย้งภำยในโรงเรียน
ได้
• ทีมโค้ชบำงท่ำน ยังขำดทักษะ
กำรโค้ช
ด้านการออกแบบและกระบวนการ
• พัฒนำกระบวนกำร PLC
เพื่อให้สำมำรถช่วยพัฒนำครู
ได้มำกขึ้น
• ให้ทีม Motor จำกโรงเรียนลำ
ปลำยมำศพัฒนำ ออกแบบ
กระบวนกำรและพัฒนำ
คุณภำพของทีมโค้ช ควบคู่ไป
กับกำรพัฒนำโรงเรียน
• เปิดโอกำสให้ทีมโค้ชในพื้นที่
เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำร
ออกแบบกระบวนกำร
11.สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา
ประถมศึกษาสุรินทร์
เขต 2
• ครูรู้จักผู้เรียนรำยบุคคล
• ทีมจัดกิจกรรม AAR
อย่ำงต่อเนื่อง
• ครูไม่เข้ำใจหลักสูตร
• ครูยังไม่สำมำรถกำหนด
เป้ำหมำยกำรเรียนรู้ได้
• ครูยังไม่มีควำมรู้ควำม
เข้ำใจ กำรจัดกำร
เรียนรู้แบบ Active
Learning (5 Steps)
ด้านวิชาการ
• ทีมโค้ชไม่แม่นวิชำกำร (5
Steps) จึงยังไม่สำมำรถช่วย
แนะนำและยกระดับควำม
เข้ำใจให้ครูได้
• ทีมโค้ชมีควำมเข้ำใจเกี่ยวกับ
กำรจัดกำรเรียนรู้แบบ Active
Learning ไม่เท่ำกัน
ด้านการออกแบบและกระบวนการ
• กระบวนกำรออกแบบที่ทำให้
ครูรับรู้เรื่อง 5 Steps ยัง
ออกแบบไม่เป็น
14
หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง
• วิชำกำรไม่แม่น จึงทำให้ไม่
สำมำรถออกแบบกระบวนกำร
ได้ตอบโจทย์ครูผู้สอนได้
ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง อธิบายรายละเอียด
เกิดกำรเรียนรู้ร่วมกันในกระบวนกำร
ทำงำนของภำคี กสศ. และหน่วยงำน
ที่เกี่ยวข้องที่ส่งผลให้คุณภำพของ
โครงกำรสำมำรถยกระดับและพัฒนำ
ต่อไป
ภำคีผู้เข้ำร่วมเกิดกำรเรียนรู้ร่วมกันในแต่
ละภำคี ในกำรเรียนรู้กำรกำหนดวิสัยทัศน์
KRA KPI ACT ของต่ำงภำคีที่น่ำสนใจ
นำไปสู่กำรออกแบบแผนพัฒนำโครงกำร
ให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้
ภำคีผู้รับทุน กสศ. เกิดกำรเรียนรู้จำกกำร
รับฟังกำรนำเสนอแนวทำงกำรกำหนด
ผลลัพธ์หลักและตัวชี้วัด รวมถึงกิจกรรมที่
ตอบโจทย์หรือสอดคล้องต่อตัวชี้วัด โดย
สำมำรถนำไปปรับใช้กับแผนพัฒนำตำม
แนวทำงของ Developmental
Evaluation ของโครงกำรของหน่วยงำน
ตนเองได้
ภำคีผู้รับทุนของ กสศ. สำมำรถนำ
เครื่องมือ Developmental
Evaluation ไปใช้ในกำรทำงำน
พัฒนำโรงเรียนของตนเองตำมบริบท
และควำมต้องกำรต่อไป
แผนประเมินเพื่อพัฒนำตำมเครื่องมือ
Developmental Evaluation ของทุก
ภำคีที่เข้ำร่วมอบรม โดยมีกำรกำหนด
วิสัยทัศน์ KRA KPI ACT เพื่อนำไปใช้ใน
กำรทำโครงกำรพัฒนำโรงเรียนที่ตนเอง
ดูแล
ภำคีผู้รับทุน กสศ. มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ
เกี่ยวกับเครื่องมือ Developmental
Evaluation จำกกำรอบรมที่จัดขึ้น มีกำร
ออกแบบวิสัยทัศน์และตัวชี้วัดโดยผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องในโครงกำรร่วมกัน และนำไปปรับ
ใช้กับโครงกำรตำมบริบทของหน่วยงำน
หรือสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้น และนำ
เครื่องมือนี้เป็นตัวประเมินในกำร
พัฒนำกำรทำโครงกำรให้ดีขึ้น รวมถึงใช้ใน
กำรทบทวนกิจกรรมที่ได้ดำเนินกำรทั้ง
บรรลุและไม่บรรลุเป้ำหมำยมำปรับปรุง
15
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง อธิบายรายละเอียด
กิจกรรมให้ดีขึ้น ทันท่วงที สอดรับกับ
สถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้กำรดำเนิน
โครงกำรบรรลุเป้ำหมำยได้
กสศ. สำมำรถติดตำมโครงงกำรและ
สำมำรถปรับโครงกำรให้มี
ประสิทธิภำพต่อไป และใช้เครื่องมือ
Developmental Evaluation ใน
กำรติดตำมและพัฒนำโครงกำรอื่น ๆ
ต่อไป
ส่วนที่ 3 แนวทางการรับมือหรือมาตรการในสถานการณ์โควิด 19 เพื่อให้โครงการบรรลุเป้าหมาย
1. ใช้ Platform ในกำรจัดเวทีกำรอบรมในรูปแบบออนไลน์ เช่น Zoom
• จัดกำรประชุมหำรือ กำรออกแบบกระบวนกำรจัดเวทีอบรมร่วมกับตัวแทนหน่วยงำนผู้รับทุน
กสศ. เพื่อให้เวทีกำรอบรมสอดรับกับสถำนกำรณ์
• กำรจัดเวทีกำรอบรมรูปแบบออนไลน์ผ่ำน Zoom

More Related Content

What's hot

E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดarisara
 
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...Kroo Keng
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1Prachyanun Nilsook
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อChongnang Shosa
 
พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234
พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234
พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234Monne Khamnuansak
 
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐Pattie Pattie
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย ClassdojoSurapon Boonlue
 
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557อับดลรอศักดิ์ มณีโส๊ะ
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003Pattie Pattie
 
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษาสื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษาPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต
แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคตแนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต
แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคตPrachyanun Nilsook
 

What's hot (20)

นำเสนอไตรภาคีพัฒนา1
นำเสนอไตรภาคีพัฒนา1นำเสนอไตรภาคีพัฒนา1
นำเสนอไตรภาคีพัฒนา1
 
E trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัดE trainingของศน.อายัด
E trainingของศน.อายัด
 
แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า
แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้าแผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า
แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า
 
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234
พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234
พาวเวอพอยต์ Class dojo-1234
 
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
 
Future classroom
Future classroom Future classroom
Future classroom
 
Educate3
Educate3Educate3
Educate3
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
 
O16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการ
O16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการO16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการ
O16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการ
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการประจำปีงบประมาณ 2557
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑ เซนคาเบรียล 601003
 
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษาสื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 
School vp n
School vp nSchool vp n
School vp n
 
แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต
แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคตแนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต
แนวทางการแก้ปัญหาในการบริหารการศึกษาและแนวโน้มในอนาคต
 

Similar to Scbf

จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)Hinkong Sc
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูkrutang2151
 
คู่มือปฏิบัติงานครู
คู่มือปฏิบัติงานครูคู่มือปฏิบัติงานครู
คู่มือปฏิบัติงานครูPattama Poyangyuen
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูBannongjok Jittiboonsri
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1Areerat Sangdao
 
การพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทย
การพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทยการพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทย
การพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทยFin Za Za
 
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ป
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ปรายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ป
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ปWatcharasak Chantong
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5pooming
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557Nirut Uthatip
 
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่  5จุดเน้นที่  5
จุดเน้นที่ 5klongnamkeaw
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9kruchaily
 

Similar to Scbf (20)

จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
Road Map นคร Model
Road Map นคร ModelRoad Map นคร Model
Road Map นคร Model
 
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
คู่มือปฏิบัติงานครู
คู่มือปฏิบัติงานครูคู่มือปฏิบัติงานครู
คู่มือปฏิบัติงานครู
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
 
การพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทย
การพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทยการพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทย
การพัฒนาตนเองและพัฒนางานภาษาไทย
 
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ป
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ปรายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ป
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ป
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่  5จุดเน้นที่  5
จุดเน้นที่ 5
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่  5จุดเน้นที่  5
จุดเน้นที่ 5
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9
 
555 pbl2558model
555 pbl2558model555 pbl2558model
555 pbl2558model
 

More from Pattie Pattie

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศPattie Pattie
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Scbf

  • 1. เอกสารประกอบวาระการประชุม วาระที่ 4.3 ผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ Developmental Evaluation (DE) ช่วงต้นน้า และกลางน้า โดย มูลนิธิสยามกัมมาจล ประชุมคณะอนุกรรมการก้ากับทิศทางโครงการพัฒนาครูและโรงเรียนฯ ครังที่ 3/2564 วันอังคารที่ 27 เมษายน 2564 เวลา 09.00 – 12.30 น. ณ ห้องประชุมเสมอภาค กสศ. และประชุมออนไลน์ผ่าน Zoom meeting
  • 2. 1 แบบรายงานความก้าวหน้า โครงการถอดบทเรียนการพัฒนาครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดย มูลนิธิสยามกัมมาจล เลขที่สัญญา 63-0457 รหัสโครงการ 63-052-00025 รายงานงวดที่ 1 จาก เดือนกันยายน พ.ศ. 2563 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร 1. ข้อเสนอโครงการโดยย่อ • เป้าประสงค์ ออกแบบและดำเนินกำรทำกระบวนกำร Developmental Evaluation ให้แก่ผู้รับทุน กสศ. ในโครงกำรพัฒนำครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภำพกำรศึกษำอย่ำงต่อเนื่อง รุ่นที่ 1 และ 2 รวมทั้งสิ้น 11 หน่วยงำน ได้แก่ 1. มูลนิธิลำปลำยมำศพัฒนำ 6. มหำวิทยำลัยรำชภัฏกำญจนบุรี 2. มูลนิธิสตำร์ฟิชคันทรีโฮฒ 7. มหำวิทยำลัยรำชภัฏภูเก็ต 3. มหำวิทยำลัยศรีปทุม วิทยำเขตชลบุรี 8. มูลนิธิสยำมกัมมำจล 4. มหำวิยำลัยขอนแก่น 9. ศูนย์ยุวพัฒน์ มูลนิธิรัฐบุรุษ 5. มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ 10. มหำวิทยำลัยนเรศวร 11. สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำ สุรินทร์ เขต 2 • วัตถุประสงค์ ถอดบทเรียนกำรบริหำรและกระบวนกำรพัฒนำครูและโรงเรียน ของภำคีผู้รับทุน กสศ. ภำยใต้โครงกำรพัฒนำครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภำพกำรศึกษำอย่ำงต่อเนื่อง โดยใช้ กระบวนกำร Developmental Evaluation เพื่อให้ทำกระบวนกำรเรียนรู้และถอดบทเรียนให้เห็น ขั้นตอนกำรทำโครงกำรในช่วงต้นน้ำ กลำงน้ำ ปลำยน้ำ ซึ่งจะทำให้ผู้รับทุน และแหล่งทุนได้พิจำรณำ ปรับโครงกำรให้มีประสิทธิภำพมำกขึ้นในระยะต่อไป
  • 3. 2 • ผลลัพธ์ของโครงการ 1. เกิดกำรเรียนรู้ร่วมกันในกระบวนกำรทำงำนของภำคี กสศ. และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องที่จะส่งผล ให้คุณภำพของโครงกำณสำมำรถยกระดับและพัฒนำต่อไป 2. ภำคีของผู้รับทุนของ กสศ. สำมำรถนำเครื่องมือ Developmental Evaluation ไปใช้ในกำร ทำงำน พัฒนำโรงเรียนของตนเองตำมบริบทและควำมต้องกำรต่อไป 3. กสศ. สำมำรถติดตำมโครงกำรและสำมำรถปรับโครงกำรให้มีประสิทธิภำพต่อไป และใช้ เครื่องมือ Developmental Evaluation ในกำรติดตำมและพัฒนำโครงกำรอื่น ๆ ต่อไป 4. โรงเรียนในโครงกำรของ กสศ. และภำคีผู้รับทุน กสศ. มีช่องทำงกำรทำงำนร่วมกับกรรมกำร ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมจังหวัดศรีสะเกษ และระยอง ทำให้มีกำรสนับสนุนและพัฒนำโรงเรียน จำกพื้นที่ต่อเนื่องต่อไป 2. กิจกรรมที่ได้ดาเนินการในงวดนี้ กิจกรรมตามแผน (ในงวดนี้) ไม่ได้ ทา ได้ทา เมื่อวันที่ ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน ผู้เข้าร่วม กิจกรรม อธิบายผลที่เกิดขึ้น อบรมเชิงปฏิบัติกำร Developmental Evaluation ช่วงต้นน้ำ 26 – 27 ต.ค. 63 72 คน (จำก 11 ภำคีผู้รับทุนรุ่นที่ 1 และ 2) เกิดกำรเคำรพ รับฟังกันระหว่ำงผู้รับทุน และผู้รับทุน และเกิดกำรมีส่วนร่วมของทีม โค้ชภำคีผู้รับทุนทั้ง 11 ภำคี ทั้งในเรื่องของ กำรร่วมกันกำหนดเป้ำหมำยร่วม (Vision) กำรออกแบบขั้นตอน วิธีกำรทำงำนร่วมกัน (KRA KPI ACT) ออกมำเป็นแผนยุทธศำสตร์ มำตรกำรและกิจกรรมพัฒนำครูและโรงเรียน ของภำคีผู้รับทุน อบรมเชิงปฏิบัติกำร Developmental Evaluation ช่วงกลำงน้ำ 28 – 1 มี.ค. 64 64 คน (จำก 11 ภำคีผู้รับทุนรุ่นที่ 1 และ 2) ภำคีผู้รับทุนเกิดกำรทบทวนกระบวนกำร ทำงำน ควำมก้ำวหน้ำของโครงกำรว่ำเป็นไป ตำมเป้ำหมำยที่วำงไว้หรือไม่ พร้อมทั้ง สำมำรถระบุสำเหตุของปัญหำหรืออุปสรรคที่ เกิดขึ้น นำไปสู่กระบวนกำรระดมสมองเพื่อ
  • 4. 3 กิจกรรมตามแผน (ในงวดนี้) ไม่ได้ ทา ได้ทา เมื่อวันที่ ผลสรุปที่สาคัญของการทากิจกรรม กลุ่มและจานวน ผู้เข้าร่วม กิจกรรม อธิบายผลที่เกิดขึ้น หำมำตรกำรเสริมเพื่อแก้ไขปัญหำ และปรับ กิจกรรมหรือยุทธศำสตร์กำรดำเนินงำน และ นำกิจกรรมที่ได้ร่วมกันปรับไปใช้ให้ สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ 3. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินโครงการ 3.1 กลุ่มเป้ำหมำยผู้เข้ำร่วม มีภำระงำนที่ค่อนข้ำงมำก ทำให้ผู้เข้ำร่วมบำงคนไม่ใช่ผู้เข้ำร่วมกลุ่มหรือคน เดิมจำกกำรอบรมในช่วงต้นน้ำ ทำให้เกิดควำมไม่เข้ำใจในกระบวนกำรอบรม และขำดกำรมีส่วนร่วม ในกำรแสดงควำมคิดเห็นอย่ำงเต็มที่ 3.2 สถำนกำรณ์โควิด 19 ที่ทำให้เกิดข้อจำกัดด้ำนกำรจัดกำรอบรม ที่ไม่สำมำรถดำเนินกำรจัดกำรอบรม ในรูปแบบ On site โดยให้ผู้เข้ำร่วมทั้งหมดเข้ำร่วมได้ 4. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคข้างต้น 4.1 ดำเนินกำรประสำนกับผู้เข้ำร่วม เพื่อตกลงวันและเวลำร่วมกันในกำรจัดอบรมเพื่อให้ผู้เข้ำร่วมเตรียม ตัว และสำมำรถเข้ำร่วมกิจกรรมอบรมได้อย่ำงพร้อมเพรียง 4.2 ปรับรูปแบบกำรจัดกำรอบรมเป็น 2 รูปแบบ โดยจัดพร้อมกันทั้งรูปแบบ Online และ On site โดย แบ่งกลุ่มภำคีตำมควำมสะดวกและสมัครใจในกำรเข้ำอบรม เพื่อลดจำนวนผู้เข้ำร่วมตำมมำตรกำร รักษำระยะห่ำงของทำงภำครัฐ
  • 5. 4 ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานตามผลผลิต / ผลลัพธ์ จากกระบวนการ Developmental Evaluation (DE) ช่วงกลางน้า เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ – 1 มีนาคม 2564 ทาให้ 11 ภาคีผู้รับทุน กสศ. ได้ทบทวนงานของตนเอง ( ได้อะไร ตาม KRA KPI และ ไม่ได้อะไร ตาม KRA KPI ของโครงการ โดยเลือกกิจกรรมที่สาคัญที่สุดต่อการบรรลุเป้าหมายมาวิเคราะห์) ดังนี้ หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง 1.มูลนิธิลาปลายมาศ พัฒนา • โรงเรียนมีกำรปรับ ตำรำงเรียน ให้ สอดคล้องกับกำรจัดกำร เรียนกำรสอน แบบ PBL • ครูนำหน่วยกำรเรียนรู้ ของโรงเรียนลำปลำย มำศพัฒนำไปปรับใช้ • ครูใช้กระบวนกำร “ชง เชื่อม ใช้” (Active Learning) ใน PBL • ครูยังไม่สำมำรถสร้ำง แรงบันดำลใจให้เด็ก ได้มำกพอ • ครูขำดทักษะกำรตั้ง คำถำม เพื่อยกระดับ กำรเรียนรู้ของเด็ก • ครูขำดทักษะกำรสร้ำง สนำมพลังบวก • ครูยังไม่สำมำรถ ออกแบบหน่วยกำร เรียนรู้เป็นของตัวเอง • ครูแกนนำยังขำดทักษะ กำรเป็นโค้ช โดยเฉพำะ ทักษะกำรตั้งคำถำม • ครูและผอ.ยังไม่เข้ำใจ หลักสูตรฐำนสมรรถนะ ด้านวิชาการ • โค้ชยังไม่แม่นยำพอ ในเรื่อง PBL และจิตศึกษำ เพื่อช่วยครู ในกำรออกแบบและให้คำ ปรึกษ้ำเรื่องหน่วยกำรเรียนรู้ • ควำมท้ำทำยของโค้ช คือ กำร ใช้หลักสูตรฐำนสมรรถนะใน โรงเรียน จำเป็นที่โค้ชจะต้อง ทำให้ครูเห็นควำมเชื่อมโยง ของกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่ ดำเนินกำรอยู่ ไปให้ถึง สมรรถนะ • โค้ชยังต้องพัฒนำวิธีกำรวัด และประเมินผลด้ำนสมรรถนะ ของผู้เรียน จำกกระบวนกำร เรียนรู้แบบ PBL • โค้ชต้องพัฒนำเรื่องกำร ออกแบบกำรเรียนรู้ ในระดับ มัธยม คิดว่ำตนเองยังเข้ำใจไม่ ถ่องแท้และชัดเจนมำกพอ ด้านการออกแบบและกระบวนการ • ครูโค้ชมีจำนวนน้อย และมีพื้น ฐำนควำมรู้ไม่เท่ำกัน ในกำร
  • 6. 5 หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง สร้ำงกำรเรียนรู้ให้เพื่อนครูทั้ง ในโรงเรียนและโรงเรียน เครือข่ำย จึงทำให้ดูแลครูใน โครงกำรไม่ทั่วถึง • ขำดกำรวิเครำะห์ กลุ่มเป้ำหมำย และไม่ว่ำ กลุ่มเป้ำหมำยมีพื้นฐำน แตกต่ำงกันอย่ำงไร เรำก็อบรม แบบเดียวกันหมด • ยังยึดติดกำรอบรมรูปแบบเดิม อยำกให้มีกำรพัฒนำ กระบวนกำรจัดอบรมใน รูปแบบใหม่ เพื่อตอบโจทย์ กลุ่มเป้ำหมำยให้มำกขึ้น 2.มูลนิธิโรงเรียนสตาร์ ฟิชคันทรีโฮม • กำรจัดวง PLC online ทุกเดือน ทำให้ครูได้ พัฒนำวิชำชีพ • ครูและผอ.ได้มีกำร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่ำงเขตพื้นที่ • เนื่องจำกกำรทำวง PLC เป็นแบบOnline จึงทำ ให้เกิดกำรมีส่วนร่วม น้อย • รูปแบบประเมินกำรมี ส่วนร่วมยังไม่ตำยตัว ต้องปรับไปตำม สถำนกำรณ์ • ยังไม่สำมำรถจัดวง PLC Online ได้ตอบ โจทย์ควำมต้องกำรที่ หลำกหลำยของครูแต่ ละคนได้ ด้านวิชาการ • ทีมโค้ชมีควำมแม่นยำใน กระบวนกำรของตนเอง แต่มี ประสบกำรณ์น้อย ในกำรเข้ำ ไปช่วยโรงเรียนในโครงกำร • ยังมองเห็นปัญหำของโรงเรียน ไม่ชัดเจน ด้านการออกแบบและกระบวนการ • มีกำรออกแบบและจัด กระบวนกำร Workshop Online อยู่ในระดับดี แต่ยังมี จุดที่ต้องพัฒนำเพิ่ม คือ จะทำ อย่ำงไรให้ออนไลน์สร้ำงกำร เรียนรู้ที่มีคุณภำพได้มำกขึ้น
  • 7. 6 หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง และใกล้เคียงกับกำรลงพื้นที่ จริง • มีควำมพยำยำมในกำร ออกแบบกระบวนกำรให้ตอบ โจทย์กลุ่มเป้ำหมำยที่มีควำม หลำกหลำย • มีทีมงำนที่หลำกหลำยมำร่วม ออกแบบกระบวนกำร เช่น ทีมออกแบบกระบวนกำร ทีม ปฏิบัติ และทีมประเมิน 3.มหาวิทยาลัยศรี ปทุม วิทยาเขตชลบุรี • ครู Open mind ในกำร เปิดรับส่งใหม่และพร้อม พัฒนำ • ครูฟังเด็กมำกขึ้น • ครูมีควำมพยำยำมปรับ แผนและจัดกำรเรียนรู้ พร้อมเป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ใน กำรพัฒนำตนเอง • ครูใช้ 6 ขั้นตอน (OECD) ในกำรแบบ กระบวนกำรเรียนรู้กับ ผู้เรียน • เกิดครูแกนนำ ประมำน 22 คน ที่เป็นต้นแบบ ด้ำนกำรจัดกำรกำร เรียนรู้ แบบ Active Learning ผ่ำน 6 • ยังไม่มีเครื่องมือในกำร วัด Growth Mindset ของครู • มีครูบำงส่วนที่ยัง Fixed Mindset • ครูขำดทักษะกำร ออกแบบแผนกำร จัดกำรเรียนรู้แบบ บูรณำกำร 50% • ครูเชื่อมโยงสมรรถนะที่ เกิดกับผู้เรียนกับตัวชี้วัด มำตรฐำนไม่ได้ 65% • ครูยังขำดทักษะกำรตั้ง คำถำม ขำดทักษะกำร ตั้งคำถำม 60% • ครูขำดทักษะเชิงเทคนิค กำรใช้เครื่องมือในกำร ด้านวิชาการ • ทีมโค้ชยังไม่แม่นยำใน 6 ขั้นตอน ของ OECD ที่พำ โรงเรียนเรียนรู้ • ทีมโค้ชมองโครงกำรไม่ทะลุ จึง ทำให้สื่อสำรได้ไม่ชัดเจน และ ไม่สำมำรถช่วยยกระดับควำม เข้ำใจของครูได้อย่ำงถูกจุด ด้านการออกแบบและกระบวนการ • มีกำรวิเครำะห์พื้นควำมรู้ของ ผู้เข้ำร่วม • ออกแบบกระบวนกำรให้ครูนำ 6 ขั้นตอน ของ OECD ลงสู่ แผนกำรสอน และสอนจริงใน ชั้นเรียน
  • 8. 7 หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง ขั้นตอน ของ OECD คิด เป็น 40% • ครูจัดกำรเรียนรู้ให้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ จริง (Active Learning) • ครูเปิดโอกำสและ กระตุ้นกำรตั้งคำถำม ของผู้เรียน เพื่อสร้ำงกำร เรียนรู้ร่วมกัน คิดเป็น 40% • ครูมีกำรใช้สื่อทำง Social และรูปแบบกำร จัดกำรเรียนกำรสอนโดย อำศัยเทคโนโลยีเข้ำมำ ช่วย Kahoot, Youtube • ครูมีกำรใช้รูปแบบ Assessment of Constructive ออกแบบเชิงวิศวกรรม (ครูนำเด็กไม่ได้) 70% • ครูหลงทำง เน้น Product มำกกว่ำ Process และ สมรรถนะเชิง คุณลักษณะ 60% 4.มหาวิทยาลัย ขอนแก่น • เด็กได้แสดงศักยภำพ สำมำรถคิดแก้ปัญหำ สรุป รวมถึง สร้ำงองค์ ควำมรู้ได้ด้วยตัวเอง • ผอ. เข้ำใจกระบวนกำร เข้ำใจ concept ใน ระดับดี และสำมำรถโค้ช ครูได้ • เด็กอำจยังไม่คุ้นชินกับ วัฒนธรรมกำรเรียน แบบที่ต้องใช้ควำมกล้ำ แสดงออก • ผอ. บำงท่ำน ยังมี ประเด็นเรื่องกำรสร้ำง กำรมีส่วนร่วม ของทีม กำรศึกษำชั้นเรียน/ ครูผู้สอนในโรงเรียน ด้านวิชาการ • โค้ชลงพื้นที่ รับฟังและร่วม เรียนรู้ไปพร้อมกับครูและผอ. จึงทำให้ช่วยได้ถูกจุด • กำรลงพื้นที่ ทำ PLC ยังมี กระบวนกำรไม่ชัดเจน • มีวง KM ของทีมโค้ช เพื่อ พัฒนำควำมรู้ด้ำนวิชำกำร
  • 9. 8 หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง • ครูเตรียมกิจกรรม เปลี่ยนจำกกำรให้ควำมรู้ เป็นกำรจัดกิจกรรมให้ เด็กได้ “เรียนรู้ด้วย ตัวเอง” • ครูเตรียมกำรในชั้นเรียน มำกขึ้น • ครูเกิดควำมร่วมมือใน กำรทำงำนเป็นทีม • โค้ชสำมำรถสร้ำงควำม เข้ำใจในแนวทำง LSOA กับโรงเรียนได้ • โค้ชมีควำมเชี่ยวชำญที่ หลำกหลำยในสำขำวิชำ เช่น คอมพิวเตอร์ ศิลปะ ภำษำไทย ทำให้เกิด กำรบูรณำกำร • มีกำรทำ MOU กับ โรงเรียนในเขตพื้นที่ • เกิดเครือข่ำยในหลำย ระดับ (โรงเรียน อุดมศึกษำ ในประเทศ และต่ำงประเทศ) • ครูมือใหม่ อำจยังต้อง เพิ่มเติม ทักษะกำร สังเกตชั้นเรียน ในเรื่อง กำรมองหำแนวคิด (ซึ่ง ต้องใช้เวลำในกำร ฝึกฝนทักษะ) • โค้ชต้องสร้ำงควำม เข้ำใจกับศน. ใน นวัตกรรม LSOA เพื่อ ให้ศน. สำมำรถโค้ชใน โรงเรียน • อยำกให้เกิด MOU ใน เขตพื้นที่กำรศึกษำ • ด้วยสถำนกำรณ์ COVID-19 ทำให้ต้อง ปรับกำรสร้ำงเครือข่ำย จำก onsite มำเป็น online ทั้งหมด ด้านการออกแบบและกระบวนการ • กำรออกแบบกระบวนกำรให้ สำมำรถเข้ำร่วมสังเกตกำรณ์ ชั้นเรียนและร่วมสะท้อนผลกับ ทำงโรงเรียนได้ แต่ กระบวนกำรยังไปไม่ถึงสิ่งที่ โรงเรียนต้องพัฒนำต่อ • มีกำรออกแบบให้สอดคล้องกับ ควำมต้องกำรของแต่ละ โรงเรียน 5.มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ • ได้ระบบเครือข่ำยใน ระดับตื้น แต่อยำกได้ ระบบเครือข่ำยที่ลึก มำกกว่ำนี้ ยังไม่ท้ำทำย • อยำกให้ผู้ปกครองเข้ำ มำมีส่วนร่วมในกำร จัดกำรเรียนรู้ ไม่ได้เป็น เพียงแขกรับเชิญ ด้านวิชาการ • ทีมโค้ชยังไม่แม่นกระบวนกำร ที่พำโรงเรียนเรียนรู้ • ทีมโค้ชไม่สำมำรถสร้ำงควำม เข้ำใจให้ผู้ปกครองได้ จึงให้ครู
  • 10. 9 หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง • เกิดเครือข่ำย 78 โรงเรียน • โรงเรียนบ้ำนเกำะทำก ผู้ปกครองให้ควำม ร่วมมือด้วยดี • ผู้ปกครองที่สร้ำงให้เด็ก เกิดควำมรักห่วงแหน โรงเรียน • กำรดูแลควำมปลอดภัย ของพื้นที่ ทำงหมู่บ้ำนจะ ส่งชุดรักษำควำม ปลอดภัยหมู่บ้ำนมำดูแล ควำมปลอดภัยให้กับ โรงเรียน ทำให้รู้สึกถึง ควำมมีส่วนร่วมกับ โรงเรียน เป็นคนกลำง สื่อสำรสร้ำง ควำมเข้ำใจกับผู้ปกครองแทน ด้านการออกแบบและกระบวนการ • ทีมโค้ชไม่ได้ออกแบบ กระบวนกำรร่วมกัน • กระบวนกำรที่ทำกับครูใน โรงเรียน ยังไม่สำมำรถทำให้ เห็นว่ำ ทีมโค้ชทำอะไรกับครู ในโรงเรียน และครูสำมำรถไป จัดกำรเครือข่ำยได้ 6.มหาวิทยาลัยราช ภัฏกาญจนบุรี • ครูมีทักษะกำรตั้งคำถำม ทั้งคำถำมกระตุ้นแและ กำรถอดบทเรียน • ครูสำมำรถออกแบบ กิจกรรมเรียนรู้แบบ Active Learning ได้ (ทำเด็กมีส่วนร่วมและ ออกแบบสื่อให้เหมำะสม กับชั้นเรียนได้) • ครูสร้ำงกระบวนกำร เรียนให้เด็กได้ ตั้งแต่กำร • ครูบำงท่ำน ยังทำไม่ได้ ครบ 6 Steps • ครูยังมีปัญหำเรื่องกำร จัดกำรในชั้นเรียน ด้านวิชาการ • ด้ำนวิชำกำรยังไม่บรรลุเป้ำ ทั้งหมด ที่ตอบโจทย์กสศ. • ควำมรู้เรื่อง 6 Steps ยังมี ควำมเข้ำใจไม่ตรงกัน • ทีมงำนคุยกันน้อย ยังขำด ควำมเชื่อมั่น และอำจต้องมี คู่มือจำกส่วนกลำงมำช่วย ด้านการออกแบบและกระบวนการ • กำรออกแบบกระบวนกำร มี กำรปรับแก้กันตลอดเวลำ
  • 11. 10 หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง ตั้งโจทย์ ไปจนถึงสอน คนอื่นได้จริง เพื่อให้แก้ Pain point โรงเรียนได้มำกที่สุด • ยังมีบำงโรงเรียนที่ยังไม่ได้ ออกแบบกำรประเมินด้วย ตนเอง (ตอนนี้อยู่ระหว่ำง ดำเนินกำร) • กำรออกแบบกระบวนกำรยัง ไม่สำมำรถตอบโจทย์ กลุ่มเป้ำหมำยได้ทุกคน 7.มหาวิทยาลัยราช ภัฏภูเก็ต • โรงเรียนสำมำรถพัฒนำ หน่วยกำรเรียนรู้เป็นของ ตัวเองได้ • ครูแกนนำขับเคลื่อนกำร จัดกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่ำน PLC อย่ำงต่อเนื่อง • ครูแกนนำที่ไม่ได้มำ อบรม หรือบำงครั้งมำ อบรมแต่ยังเข้ำใจ เป้ำหมำยไม่ตรงกัน • ครูแกนนำยังไม่สำมำรถ สร้ำงกระบวนกำร เรียนรู้ให้เพื่อนครูได้ • ครูยังไม่มีควำมรู้ควำม เข้ำใจมำกพอ ในกำร ออกแบบกระบวนกำร จัดกำรเรียนรู้ในชั้น เรียน (เป้ำหมำย กระบวนกำร และกำร ประเมิน ยังไม่ สอดคล้องกัน) ด้านวิชาการ • ทีมโค้ชยังเข้ำใจกระบวนกำร ไม่ตรงกัน • ทีมโค้ชยังไม่สำมำรถทำให้ครู มั่นใจในกำรประเมินแบบใหม่ ได้ (Formative Assessment) ด้านการออกแบบและกระบวนการ • ต้องพัฒนำกระบวนกำรอบรม เพื่อให้ครูสำมำรถออกแบบ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำร สอน และกำรประเมิน ให้ สอดคล้องกับเป้ำหมำยที่ตั้งไว้ 8.มูลนิธิสยามกัมมา จล • มูลนิธิสยำมกัมมำจล ได้ ใช้ DE ต้นน้ำ และกลำง น้ำ ในกำรพัฒนำทีมงำน ใหม่ และสร้ำงควำม • ยังไม่สำมำรถสร้ำงทีม โค้ชในพื้นที่ ที่มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับ DE จนสำมำรถออกแบบ กระบวนกำรทำจริงได้ ด้านวิชาการ • ยกระดับควำมรู้ควำมเข้ำใจ DE ให้ ทีมวิชำกำรในพื้นที่ เพื่อที่จะได้ช่วยโรงเรียนได้ อย่ำงถูกจุด
  • 12. 11 หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง เข้ำใจที่ตรงกันระหว่ำง ทีมงำนใหม่และคนเดิม • กำรทำ DE กลำงน้ำ ทำ ให้เห็น Pain Point ของ โรงเรียน และ สถำนกำรณ์ที่เป็นวิกฤต จำกโควิดและอื่นๆ ทำให้ สำมำรถปรับแผนได้เร็ว • ทีมงำนเห็นควำมสำคัญ ของกำรทำ DE กับ โรงเรียน และได้จัดกิจ จรรม DE ต้นน้ำให้ โรงเรียน เพื่อให้โรงเรียน มีแผนกำรทำงำนที่ ชัดเจน ทำให้ทีมมูลนิธิฯ สำมำรถติดตำม ควำมก้ำวหน้ำของ โรงเรียนได้ง่ำยขึ้น • มีกำรเชิญ Mentor บำง คน ร่วมทำ DE กลำงน้ำ ทำให้เกิดควำมเข้ำใจที่ ตรงกัน และสะท้อนภำพ กระบวนกำรพัฒนำ โรงเรียนที่ชัดเจน และ สำมำรถแผนงำนที่ สอดคล้องกับปัญหำ ร่วมกันได้อย่ำงรวดเร็ว (ลดควำมขัดแย้งกับ Mentor กับ SCBF) • สร้ำงควำมเข้ำใจให้ทีม Fa ให้ มีควำมแม่นยำในกระบวนกำร ด้านการออกแบบและกระบวนการ • ออกแบบกระบวนกำรให้ สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ที่ เกิดขึ้นจริงของโรงเรียน และ เข้ำไปสนับสนุนแต่ละโรงเรียน ให้ตรงจุดมำกขึ้น (Offline/Online) • กระบวนกรหลักไม่มีข้อมูล พื้นฐำนของโรงเรียนที่เข้ำร่วม ทำให้กำรออกแบบ กระบวนกำรยังไม่ตอบบริบท เฉพำะของแต่ละโรงเรียน
  • 13. 12 หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง 9.ศูนย์ยุวพัฒน์ มูลนิธิ รัฐบุรุษฯ •เกิดวง PLC ครู ในกำร พัฒนำกำรเรียนกำรสอน •มีกำรจัดตั้งกลุ่ม PLC (กลุ่ม สำระกำรเรียนรู้/สำยชั้น) •มีกำหนดชั่วโมง PLC ชัดเจน หลังเลิกเรียนสัปดำห์ละ 1 วัน •มีเป้ำหมำยในกำรทำวง PLC ที่ชัดเจน 1.แลกเปลี่ยนปัญหำที่ต้อง แก้ไข จัดลำดับ ควำมสำคัญที่ต้องแก้ไข 2.ร่วมกันออกแบบวิธีกำร แก้ไขปัญหำ (แผน/สื่อ/ วิธีกำรสอน/สังเกตกำร สอน (ถ่ำยรูปและวิดีโอ) 3.AAR ปรับปรุงพัฒนำกำร สอนสู่วงจรกำรพัฒนำจน บรรลุผล •ทีมโค้ชติดตำมกำร PLC ของ โรงเรียนและแนะนำเพิ่มเติม อย่ำงสม่ำเสมอ • เนื่องจำกสถำนกำรณ์ Covid-19 จึงปรับมำเป็น PLC online ได้เฉพำะบำง โรงเรียน ด้านวิชาการ • ทีมโค้ชยังไม่แม่นกระบวนกำร และกำรจัดกำรเรียนรู้แบบ Active Learning • Mentor เข้ำไปช่วยให้ครูแต่ ละโรงเรียนทำ PLC ด้านการออกแบบและกระบวนการ • มีกำรทำ Pre-test/Post-test • ทีมงำนติดตำมทุกเดือน • ประเมินควำมพึงพอใจ • เน้นพัฒนำให้ครูสำมำรถ ออกแบบและจัดกระบวนกำร เรียนรู้แบบ Active Learning ที่เกิดผลลัพธ์ที่เด็กได้จริง 10.มหาวิทยาลัย นเรศวร • ครูใช้จิตวิทยำเชิงบวก • ครู Bully เด็กลดลง 70% • ครูรับฟังผู้อื่นมำกขึ้น 70% • ครูใช้จิตวิทยำเชิงบวก • ครู Bully เด็กลดลง 70% • ครูรับฟังผู้อื่นมำกขึ้น 70% ด้านวิชาการ • ทีมโค้ชยังมีระดับควำมเข้ำใจ ไม่ตรงกัน จึงส่งผลต่อคุณภำพ ของกำรช่วยเหลือครูผู้สอนใน โรงเรียน • พัฒนำครูให้เห็นควำมหมำย ของกำรใช้จิตวิทยำเชิงบวก
  • 14. 13 หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง • ครูชื่นชม Empower เด็กได้ทุกคนอย่ำงทั่วถึง 60% • ครูลดกำรเปรียบเทียบ ตี ค่ำ ตัดสินนักเรียน 60% • ครูมีกำลังใจในกำร ทำงำนเพิ่มมำกขึ้น • สำมำรถลดควำมขัดแย้ง ภำยในโรงเรียนได้ • ครูชื่นชม Empower เด็กได้ทุกคนอย่ำงทั่วถึง 60% • ครูลดกำรเปรียบเทียบ ตีค่ำ ตัดสินนักเรียน 60% • ครูมีกำลังใจในกำร ทำงำนเพิ่มมำกขึ้ • สำมำรถลดควำม ขัดแย้งภำยในโรงเรียน ได้ • ทีมโค้ชบำงท่ำน ยังขำดทักษะ กำรโค้ช ด้านการออกแบบและกระบวนการ • พัฒนำกระบวนกำร PLC เพื่อให้สำมำรถช่วยพัฒนำครู ได้มำกขึ้น • ให้ทีม Motor จำกโรงเรียนลำ ปลำยมำศพัฒนำ ออกแบบ กระบวนกำรและพัฒนำ คุณภำพของทีมโค้ช ควบคู่ไป กับกำรพัฒนำโรงเรียน • เปิดโอกำสให้ทีมโค้ชในพื้นที่ เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำร ออกแบบกระบวนกำร 11.สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 • ครูรู้จักผู้เรียนรำยบุคคล • ทีมจัดกิจกรรม AAR อย่ำงต่อเนื่อง • ครูไม่เข้ำใจหลักสูตร • ครูยังไม่สำมำรถกำหนด เป้ำหมำยกำรเรียนรู้ได้ • ครูยังไม่มีควำมรู้ควำม เข้ำใจ กำรจัดกำร เรียนรู้แบบ Active Learning (5 Steps) ด้านวิชาการ • ทีมโค้ชไม่แม่นวิชำกำร (5 Steps) จึงยังไม่สำมำรถช่วย แนะนำและยกระดับควำม เข้ำใจให้ครูได้ • ทีมโค้ชมีควำมเข้ำใจเกี่ยวกับ กำรจัดกำรเรียนรู้แบบ Active Learning ไม่เท่ำกัน ด้านการออกแบบและกระบวนการ • กระบวนกำรออกแบบที่ทำให้ ครูรับรู้เรื่อง 5 Steps ยัง ออกแบบไม่เป็น
  • 15. 14 หน่วยงาน อะไรที่ได้ ไม่ได้อะไร โค้ชต้องพัฒนาตัวเองในเรื่องอะไรบ้าง • วิชำกำรไม่แม่น จึงทำให้ไม่ สำมำรถออกแบบกระบวนกำร ได้ตอบโจทย์ครูผู้สอนได้ ระบุรายละเอียดผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง อธิบายรายละเอียด เกิดกำรเรียนรู้ร่วมกันในกระบวนกำร ทำงำนของภำคี กสศ. และหน่วยงำน ที่เกี่ยวข้องที่ส่งผลให้คุณภำพของ โครงกำรสำมำรถยกระดับและพัฒนำ ต่อไป ภำคีผู้เข้ำร่วมเกิดกำรเรียนรู้ร่วมกันในแต่ ละภำคี ในกำรเรียนรู้กำรกำหนดวิสัยทัศน์ KRA KPI ACT ของต่ำงภำคีที่น่ำสนใจ นำไปสู่กำรออกแบบแผนพัฒนำโครงกำร ให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้ ภำคีผู้รับทุน กสศ. เกิดกำรเรียนรู้จำกกำร รับฟังกำรนำเสนอแนวทำงกำรกำหนด ผลลัพธ์หลักและตัวชี้วัด รวมถึงกิจกรรมที่ ตอบโจทย์หรือสอดคล้องต่อตัวชี้วัด โดย สำมำรถนำไปปรับใช้กับแผนพัฒนำตำม แนวทำงของ Developmental Evaluation ของโครงกำรของหน่วยงำน ตนเองได้ ภำคีผู้รับทุนของ กสศ. สำมำรถนำ เครื่องมือ Developmental Evaluation ไปใช้ในกำรทำงำน พัฒนำโรงเรียนของตนเองตำมบริบท และควำมต้องกำรต่อไป แผนประเมินเพื่อพัฒนำตำมเครื่องมือ Developmental Evaluation ของทุก ภำคีที่เข้ำร่วมอบรม โดยมีกำรกำหนด วิสัยทัศน์ KRA KPI ACT เพื่อนำไปใช้ใน กำรทำโครงกำรพัฒนำโรงเรียนที่ตนเอง ดูแล ภำคีผู้รับทุน กสศ. มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เกี่ยวกับเครื่องมือ Developmental Evaluation จำกกำรอบรมที่จัดขึ้น มีกำร ออกแบบวิสัยทัศน์และตัวชี้วัดโดยผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในโครงกำรร่วมกัน และนำไปปรับ ใช้กับโครงกำรตำมบริบทของหน่วยงำน หรือสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้น และนำ เครื่องมือนี้เป็นตัวประเมินในกำร พัฒนำกำรทำโครงกำรให้ดีขึ้น รวมถึงใช้ใน กำรทบทวนกิจกรรมที่ได้ดำเนินกำรทั้ง บรรลุและไม่บรรลุเป้ำหมำยมำปรับปรุง
  • 16. 15 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง อธิบายรายละเอียด กิจกรรมให้ดีขึ้น ทันท่วงที สอดรับกับ สถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้กำรดำเนิน โครงกำรบรรลุเป้ำหมำยได้ กสศ. สำมำรถติดตำมโครงงกำรและ สำมำรถปรับโครงกำรให้มี ประสิทธิภำพต่อไป และใช้เครื่องมือ Developmental Evaluation ใน กำรติดตำมและพัฒนำโครงกำรอื่น ๆ ต่อไป ส่วนที่ 3 แนวทางการรับมือหรือมาตรการในสถานการณ์โควิด 19 เพื่อให้โครงการบรรลุเป้าหมาย 1. ใช้ Platform ในกำรจัดเวทีกำรอบรมในรูปแบบออนไลน์ เช่น Zoom • จัดกำรประชุมหำรือ กำรออกแบบกระบวนกำรจัดเวทีอบรมร่วมกับตัวแทนหน่วยงำนผู้รับทุน กสศ. เพื่อให้เวทีกำรอบรมสอดรับกับสถำนกำรณ์ • กำรจัดเวทีกำรอบรมรูปแบบออนไลน์ผ่ำน Zoom