SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 3
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
ครูสุชาดา เหล่าหุ่ง (ครูน้า) สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนลาปลายมาศพัฒนา
จังหวัดบุรีรัมย์ มีกระบวนการเรียนการสอนสอดคล้องกับเนื้อเรื่องในหนังสือครูเพื่อศิษย์ สร้าง
การเรียนรู้ระดับเชื่อมโยง บทที่ 3. ปูพื้นฐานสู่ผลการเรียนระดับสูง (หน้า 10-12) สาระสาคัญของ
บันทึกนี้คือปัจจัยหลักสู่การเรียนรู้ได้แก่1.ความท้าทาย 2.บรรลุเป้าหมายด้วยตนเอง 3.มี
เป้าหมายการเรียนรู้
(เรื่องเล่า)
ครูเพื่อศิษย์
จากประสบสบการณ์ในการทางานที่โรงเรียนลาปลายมาศพัฒนาเป็นระยะเวลาประมาณ 3 ปี
โดยประมาณ เป็นช่วงเวลาที่ซึมซับ เรียนรู้และปรับตัว ที่ต้องใช้คาว่าปรับตัวเป็นเพราะว่าพื้นฐานเดิมคือ
ส่วนตัวครูน้าเองไม่เคยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบลาปลายมาศพัฒนามาก่อนเลย ซึ่งทางโรงเรียนก็มี
นวัตกรรมที่ที่พัฒนาครูและพัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้จิตศึกษา การเรียนรู้เป็นหน่วย
PBL การเรียนภาษาไทยแบบวรรณกรรม และการพัฒนาครูด้วยกระบวนการ PLC เมื่อปีการศึกษา 2562
ที่ผ่านมา ครูน้าได้มีโอกาสเรียนรู้ร่วมกับพี่ๆชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และเป็นครูประจาชั้น จึงขอเล่า
ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ในปีการศึกษาท่านมาค่ะ
ครูน้าขอยกเนื้อเรื่องจากหนังสือครูเพื่อศิษย์สร้างการเรียนรู้ระดับเชื่อมโยง บทที่ 3. ปูพื้นฐานสู่ผล
การเรียนระดับสูง (หน้า 10-12) สาระสาคัญของบันทึกนี้คือปัจจัยหลักสู่การเรียนรู้ได้แก่
1.ความท้าทาย
2.บรรลุเป้าหมายด้วยตนเอง
3.มีเป้าหมายการเรียนรู้
ในการเรียนรู้หน่วย Make เส้น Quarter 1/2562 เป็นหน่วยการเรียนรู้PBL ที่มีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนผลิต
อาหารประเภทเส้นจากวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่น ซึ่งการเรียนรู้พี่ๆได้เรียนรู้กระบวนการทาเส้นจากเมล็ดข้าว
เหนีย ข้าวจ้าว และมสันสาปะหลัง โดยแบ่งออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน พี่ป.6 เรียนรู้จากความชอบ
เพราะคิดว่าการเรียนรู้หน่วยนี้เป็นการทาอาหารและมีความอยาก ครูน้าเริ่มกระบวนการเรียนรู้ดังนี้
ขั้นสร้างแรงบันดาลใจ สัปดาห์แรกคือให้พี่ๆแต่ละกลุ่มออกแบบการทาอาหารประเภทเส้นด้วยตนเอง
(เป็นการกระตุ้นให้เด็กเกิดความอยากเรียนรู้) ขณะที่เด็ก ๆได้ลงมือทาก็จะเจอปัญหาที่แตกต่างกันออกไป
เช่น แป้งเหลวเกินไป เส้นขาดเป็นท่อนๆ เส้นที่ทาแข็งเกินไป สิ่งที่ครูน้าสังเกตเห็นคือการแก้ปัญหาร่วมกัน
ในแต่ละกลุ่ม ต้องยอมรับเลยค่ะว่า ในฐานะครูผู้อยู่ในเหตุการณ์ สิ่งที่สาคัญที่สุดคือการเฝ้าสังเกต ตั้ง
คาถาม และให้คาแนะนา โดยที่ไม่ชี้นาหรือบอกวิธีการให้เด็ก
2
การให้โจทย์ (การทาเส้นจากเมล็ดข้าวเหนียว ข้าวจ้าว มันสาปะหลัง) ก่อนที่จะทาให้เป็นเส้นได้นั้นพี่ๆแต้
ละกลุ่มได้ทากระบวนการผลิตให้เป็นแป้งก่อน ซึ่งกระบวนการนี้เป็นกระบวนการที่ท้าทายพี่ๆแต่ละกลุ่ม
เพราะขณะที่ทาแป้งนั้น แป้งที่ทานั้นเกิดเชื้อรา กว่าจะหาวิธีที่จะแก้ไขและข้ามผ่านกระบวนการนี้ไปได้พี่ๆ
แต่ละกลุ่มต้องลงมือทาไม่ต่ากว่า 4-5 รอบเป็นอย่างต่าและแต่ละรอบต้องใช้ระยะเวลาหลายวัน โดยครู
ต้องคอยหนุน เสริมแรงให้พี่ๆฝันฝ่าอุปสรรคเหล่านี้ไปให้ได้ ระหว่างทางครูได้เชื่อมโยงเข้าสู่โจทย์ต่าง ๆเช่น
ราเกิดขึ้นได้อย่างไร พี่ๆจะแก้ปัญหาด้วยวิธีการใดได้บ้าง เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้พี่ๆได้เรียนรู้หลักการนาสู่
การแก้ปัญหาการเกิดเชื้อราในแป้ง แต่ละกลุ่มได้คิดวิธีการแก้ปัญหาที่แตกต่างกันออกไป เช่น บางกลุ่มได้
ตั้งสมมติฐานว่าราเกิดจากความชื้นขณะที่เอาออกจากโถปั่น จึงแก้ปัญหาด้วยการนาแป้งที่ปั่นไปผึ่งแดด
ทุกครั้งก่อนบรรจุลงถุง เป็นต้น
โจทย์ต่อมาคือการทาแป้งให้เป็นเส้น โดยนักเรียนพี่ๆก็เจอปัญหาคือแป้งที่ทาไม่เป็นเส้น ขณะที่
นาไปต้มนั้นเส้นเกิดขาด พี่ๆได้ลองอยู่หลายครั้ง ขณะที่เจอปัญหา ครูก็ได้โยนโจทย์ให้พี่ได้ค้นคว้าไปด้วย
“แป้งเป็นเส้นได้อย่างไร” ทาให้ครูและพี่ๆได้เรียนรู้เกี่ยวกับเส้นใยกลูเตน และสามารถนามาปรับใช้ในการ
ทาเส้น พี่เลือกที่จะสร้างกลูเตนด้วยการนาไข่ไกผสมกับแป้งและบีบ นวด คลึง และทดลองหลายครั้งกว่าจะ
สาเร็จ
โจทย์สุดท้ายสาหรับกระบวนการทาเส้นคือการออกแบบเมนูเส้นที่จะให้สารอาหารครบทั้ง 5 หมู่
แต่ละกลุ่มก็จะออกแบบเส้นของตนเองในเมนูที่หลากหลาย บางกลุ่มออกแบบเป็นอาหารคาว บางกลุ่ม
ออกแบบเป็นของหวานและใสสัปดาห์สุดท้ายทุกคนได้ถ่ายทอดกระบวนการเรียนรู้ ถ่ายทอดความล้มเหลว
การแก้ปัญหารวมถึงความสาเร็จที่เกิดให้พี่ๆและน้องๆได้รับฟังในกิจกรรมวันโฮม
ระหว่างทางพี่ๆก็จะได้เรียนรู้ปัญหา กระบวนการทาแป้ง ทาเส้น วิธีการแก้ปัญหาของเพื่อนกลุ่ม
อื่นๆไปด้วย ด้วยกระบวนการ Share and learn และทาให้ครูเป็นผู้ร่วมเรียนรู้กับแต่ละปัญหาไปกับพี่ๆด้วย
ทั้งนี้ระหว่างที่ทาและเกิดปัญหาซึ่งไม่ใช่แค่ปัญหาของเด็กแต่เป็นปัญหาของครูด้วยที่จะต้องร่วมออกแบบ
การเรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน ในระหว่างที่เรียนรู้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับพี่ๆก็เกิดด้วยทั้งคาพูด สี
หน้าแววตา เวลาที่พี่ๆครูร่วมทา เจอปัญหาครูร่วมแก้ปัญหา ได้แลกเปลี่ยนความสาเร็จระหว่างเพื่อนด้วย
ขณะที่ทาเมื่อเจอปัญหาหรืออุปสรราคในแต่ละกระบวนการณ์สิ่งที่ครูครูและพี่ๆเจอคือความท้า
ทายเข้ามาตลอดแต่ทุกครั้งที่พบเจออุปสรรคครูจะได้ยินคานี้จากกลุ่มพี่ๆเสมอ “ขอลองใหม่ เอาใหม่ ลอง
วิธีใหม่” ไม่มีพี่ๆกลุ่มใดที่บอกว่าไม่ทาแล้วครู และช่วงสุดท้ายที่ได้คือความสาเร็จที่เกิดจากความตั้งใจของ
พี่ๆแต่ละกลุ่มที่ร่วมกันทางานและฝ่าฟันมาได้
สิ่งที่ขาดไม่ได้และไม่พูดถึงไม่ได้เลยคือกระบวนการ PLC ซึ่งจะเกิดขึ้นทุกสัปดาห์ สัปดาห์ละหนึ่ง
ครั้ง เป็นพื้นที่ที่ช่วยครูน้าในฐานะครูใหม่ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้สาหรับเด็กๆเลยค่ะ ทุกสัปดาห์ครู
จะแลกเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น หนึ่งในนั้นคือความสาเร็จและความล้มเหลวที่เกิดขึ้น และ
อุปสรรคต่างๆในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ทาให้ครูน้าได้กระบวนการคิด การออกแบบการเรียนรู้ รวมถึง
3
การตั้งคาถามที่จะนาทางให้เด็กๆเกิดการเรียนรู้ในแต่ละช่วง เป็นพื้นที่แบ่งปันและฝึกฝนครูใหม่ให้จัดการ
เรียนรู้ และครูน้ารู้สึกว่าเวลาที่เจอปัญหายังมีครูพี่ๆที่คอยให้คาแนะนาช่วยคิดต่อเติม เพราะบางครั้งเรา
มองแค่มุมของของประสบการณ์ในการสอนน้อยกว่าครูพี่ที่มองได้หลากหลายมุมมอง ช่วยต่อเติมกัน แต่
ทั้งนี้เรามีเป้าหมายเดียวกันคือการเรียนรู้ต้องเกิดกับผู้เรียนค่ะ
สุชาดา เหล่าหุ่ง

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Kru suchada

การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือwannisa_bovy
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอkrupornpana55
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
การจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tie
การจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tieการจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tie
การจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tietie_weeraphon
 
Portfolio
PortfolioPortfolio
Portfolio_nrtnp
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..jiraporn1
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 

Ähnlich wie Kru suchada (20)

ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
Chapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิChapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
การจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tie
การจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tieการจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tie
การจัดการเรียนการสอนแบบซึ้งกันและกัน Neck tie
 
Portfolio
PortfolioPortfolio
Portfolio
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
1
11
1
 

Mehr von Pattie Pattie

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdfPattie Pattie
 

Mehr von Pattie Pattie (20)

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
 

Kru suchada

  • 1. 1 ครูสุชาดา เหล่าหุ่ง (ครูน้า) สอนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนลาปลายมาศพัฒนา จังหวัดบุรีรัมย์ มีกระบวนการเรียนการสอนสอดคล้องกับเนื้อเรื่องในหนังสือครูเพื่อศิษย์ สร้าง การเรียนรู้ระดับเชื่อมโยง บทที่ 3. ปูพื้นฐานสู่ผลการเรียนระดับสูง (หน้า 10-12) สาระสาคัญของ บันทึกนี้คือปัจจัยหลักสู่การเรียนรู้ได้แก่1.ความท้าทาย 2.บรรลุเป้าหมายด้วยตนเอง 3.มี เป้าหมายการเรียนรู้ (เรื่องเล่า) ครูเพื่อศิษย์ จากประสบสบการณ์ในการทางานที่โรงเรียนลาปลายมาศพัฒนาเป็นระยะเวลาประมาณ 3 ปี โดยประมาณ เป็นช่วงเวลาที่ซึมซับ เรียนรู้และปรับตัว ที่ต้องใช้คาว่าปรับตัวเป็นเพราะว่าพื้นฐานเดิมคือ ส่วนตัวครูน้าเองไม่เคยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบลาปลายมาศพัฒนามาก่อนเลย ซึ่งทางโรงเรียนก็มี นวัตกรรมที่ที่พัฒนาครูและพัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้จิตศึกษา การเรียนรู้เป็นหน่วย PBL การเรียนภาษาไทยแบบวรรณกรรม และการพัฒนาครูด้วยกระบวนการ PLC เมื่อปีการศึกษา 2562 ที่ผ่านมา ครูน้าได้มีโอกาสเรียนรู้ร่วมกับพี่ๆชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และเป็นครูประจาชั้น จึงขอเล่า ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ในปีการศึกษาท่านมาค่ะ ครูน้าขอยกเนื้อเรื่องจากหนังสือครูเพื่อศิษย์สร้างการเรียนรู้ระดับเชื่อมโยง บทที่ 3. ปูพื้นฐานสู่ผล การเรียนระดับสูง (หน้า 10-12) สาระสาคัญของบันทึกนี้คือปัจจัยหลักสู่การเรียนรู้ได้แก่ 1.ความท้าทาย 2.บรรลุเป้าหมายด้วยตนเอง 3.มีเป้าหมายการเรียนรู้ ในการเรียนรู้หน่วย Make เส้น Quarter 1/2562 เป็นหน่วยการเรียนรู้PBL ที่มีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนผลิต อาหารประเภทเส้นจากวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่น ซึ่งการเรียนรู้พี่ๆได้เรียนรู้กระบวนการทาเส้นจากเมล็ดข้าว เหนีย ข้าวจ้าว และมสันสาปะหลัง โดยแบ่งออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน พี่ป.6 เรียนรู้จากความชอบ เพราะคิดว่าการเรียนรู้หน่วยนี้เป็นการทาอาหารและมีความอยาก ครูน้าเริ่มกระบวนการเรียนรู้ดังนี้ ขั้นสร้างแรงบันดาลใจ สัปดาห์แรกคือให้พี่ๆแต่ละกลุ่มออกแบบการทาอาหารประเภทเส้นด้วยตนเอง (เป็นการกระตุ้นให้เด็กเกิดความอยากเรียนรู้) ขณะที่เด็ก ๆได้ลงมือทาก็จะเจอปัญหาที่แตกต่างกันออกไป เช่น แป้งเหลวเกินไป เส้นขาดเป็นท่อนๆ เส้นที่ทาแข็งเกินไป สิ่งที่ครูน้าสังเกตเห็นคือการแก้ปัญหาร่วมกัน ในแต่ละกลุ่ม ต้องยอมรับเลยค่ะว่า ในฐานะครูผู้อยู่ในเหตุการณ์ สิ่งที่สาคัญที่สุดคือการเฝ้าสังเกต ตั้ง คาถาม และให้คาแนะนา โดยที่ไม่ชี้นาหรือบอกวิธีการให้เด็ก
  • 2. 2 การให้โจทย์ (การทาเส้นจากเมล็ดข้าวเหนียว ข้าวจ้าว มันสาปะหลัง) ก่อนที่จะทาให้เป็นเส้นได้นั้นพี่ๆแต้ ละกลุ่มได้ทากระบวนการผลิตให้เป็นแป้งก่อน ซึ่งกระบวนการนี้เป็นกระบวนการที่ท้าทายพี่ๆแต่ละกลุ่ม เพราะขณะที่ทาแป้งนั้น แป้งที่ทานั้นเกิดเชื้อรา กว่าจะหาวิธีที่จะแก้ไขและข้ามผ่านกระบวนการนี้ไปได้พี่ๆ แต่ละกลุ่มต้องลงมือทาไม่ต่ากว่า 4-5 รอบเป็นอย่างต่าและแต่ละรอบต้องใช้ระยะเวลาหลายวัน โดยครู ต้องคอยหนุน เสริมแรงให้พี่ๆฝันฝ่าอุปสรรคเหล่านี้ไปให้ได้ ระหว่างทางครูได้เชื่อมโยงเข้าสู่โจทย์ต่าง ๆเช่น ราเกิดขึ้นได้อย่างไร พี่ๆจะแก้ปัญหาด้วยวิธีการใดได้บ้าง เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้พี่ๆได้เรียนรู้หลักการนาสู่ การแก้ปัญหาการเกิดเชื้อราในแป้ง แต่ละกลุ่มได้คิดวิธีการแก้ปัญหาที่แตกต่างกันออกไป เช่น บางกลุ่มได้ ตั้งสมมติฐานว่าราเกิดจากความชื้นขณะที่เอาออกจากโถปั่น จึงแก้ปัญหาด้วยการนาแป้งที่ปั่นไปผึ่งแดด ทุกครั้งก่อนบรรจุลงถุง เป็นต้น โจทย์ต่อมาคือการทาแป้งให้เป็นเส้น โดยนักเรียนพี่ๆก็เจอปัญหาคือแป้งที่ทาไม่เป็นเส้น ขณะที่ นาไปต้มนั้นเส้นเกิดขาด พี่ๆได้ลองอยู่หลายครั้ง ขณะที่เจอปัญหา ครูก็ได้โยนโจทย์ให้พี่ได้ค้นคว้าไปด้วย “แป้งเป็นเส้นได้อย่างไร” ทาให้ครูและพี่ๆได้เรียนรู้เกี่ยวกับเส้นใยกลูเตน และสามารถนามาปรับใช้ในการ ทาเส้น พี่เลือกที่จะสร้างกลูเตนด้วยการนาไข่ไกผสมกับแป้งและบีบ นวด คลึง และทดลองหลายครั้งกว่าจะ สาเร็จ โจทย์สุดท้ายสาหรับกระบวนการทาเส้นคือการออกแบบเมนูเส้นที่จะให้สารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ แต่ละกลุ่มก็จะออกแบบเส้นของตนเองในเมนูที่หลากหลาย บางกลุ่มออกแบบเป็นอาหารคาว บางกลุ่ม ออกแบบเป็นของหวานและใสสัปดาห์สุดท้ายทุกคนได้ถ่ายทอดกระบวนการเรียนรู้ ถ่ายทอดความล้มเหลว การแก้ปัญหารวมถึงความสาเร็จที่เกิดให้พี่ๆและน้องๆได้รับฟังในกิจกรรมวันโฮม ระหว่างทางพี่ๆก็จะได้เรียนรู้ปัญหา กระบวนการทาแป้ง ทาเส้น วิธีการแก้ปัญหาของเพื่อนกลุ่ม อื่นๆไปด้วย ด้วยกระบวนการ Share and learn และทาให้ครูเป็นผู้ร่วมเรียนรู้กับแต่ละปัญหาไปกับพี่ๆด้วย ทั้งนี้ระหว่างที่ทาและเกิดปัญหาซึ่งไม่ใช่แค่ปัญหาของเด็กแต่เป็นปัญหาของครูด้วยที่จะต้องร่วมออกแบบ การเรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน ในระหว่างที่เรียนรู้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับพี่ๆก็เกิดด้วยทั้งคาพูด สี หน้าแววตา เวลาที่พี่ๆครูร่วมทา เจอปัญหาครูร่วมแก้ปัญหา ได้แลกเปลี่ยนความสาเร็จระหว่างเพื่อนด้วย ขณะที่ทาเมื่อเจอปัญหาหรืออุปสรราคในแต่ละกระบวนการณ์สิ่งที่ครูครูและพี่ๆเจอคือความท้า ทายเข้ามาตลอดแต่ทุกครั้งที่พบเจออุปสรรคครูจะได้ยินคานี้จากกลุ่มพี่ๆเสมอ “ขอลองใหม่ เอาใหม่ ลอง วิธีใหม่” ไม่มีพี่ๆกลุ่มใดที่บอกว่าไม่ทาแล้วครู และช่วงสุดท้ายที่ได้คือความสาเร็จที่เกิดจากความตั้งใจของ พี่ๆแต่ละกลุ่มที่ร่วมกันทางานและฝ่าฟันมาได้ สิ่งที่ขาดไม่ได้และไม่พูดถึงไม่ได้เลยคือกระบวนการ PLC ซึ่งจะเกิดขึ้นทุกสัปดาห์ สัปดาห์ละหนึ่ง ครั้ง เป็นพื้นที่ที่ช่วยครูน้าในฐานะครูใหม่ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้สาหรับเด็กๆเลยค่ะ ทุกสัปดาห์ครู จะแลกเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น หนึ่งในนั้นคือความสาเร็จและความล้มเหลวที่เกิดขึ้น และ อุปสรรคต่างๆในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ทาให้ครูน้าได้กระบวนการคิด การออกแบบการเรียนรู้ รวมถึง
  • 3. 3 การตั้งคาถามที่จะนาทางให้เด็กๆเกิดการเรียนรู้ในแต่ละช่วง เป็นพื้นที่แบ่งปันและฝึกฝนครูใหม่ให้จัดการ เรียนรู้ และครูน้ารู้สึกว่าเวลาที่เจอปัญหายังมีครูพี่ๆที่คอยให้คาแนะนาช่วยคิดต่อเติม เพราะบางครั้งเรา มองแค่มุมของของประสบการณ์ในการสอนน้อยกว่าครูพี่ที่มองได้หลากหลายมุมมอง ช่วยต่อเติมกัน แต่ ทั้งนี้เรามีเป้าหมายเดียวกันคือการเรียนรู้ต้องเกิดกับผู้เรียนค่ะ สุชาดา เหล่าหุ่ง