SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
เพื่อนโยบายการศึกษาสาหรับคนไทย ๔.๐
วิจารณ์ พานิช
ประธานมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์
ประธานมูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)
ข้อเรียนรู้จากโครงการ พพปญ.
บรรยายในเวทีนาเสนอผลงานระดับประเทศ “เพาะพันธุ์ปัญญาสาหรับเด็กไทย 4.0” 25 มีนาคม 2560
ข้อจำกัด
• ไม่มีพื้นฐานทฤษฎีทางการศึกษา
• ไม่ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ
• ไม่รู้จริง
• พึงรับฟังโดยยึดหลักกาลามสูตร
• เวลาจากัด ไม่สามารถยกข้อสะท้อนคิดดีๆ
ได้ทั้งหมด
เพื่อเทอดทูนบูชา
“ครูเพื่อศิษย์”
ไม่เน้น “สอนวิชา” เน้น “สอนศิษย์” (แบบไม่สอน)
ครูปัญญาทีปกร ครู พพปญ. และ ครูเพื่อศิษย์ทั้งหลาย
หลักการของ พพปญ.
• ถามคือสอน
• (ทาแล้ว) สะท้อนคิดคือเรียน
• เขียนคือคิด
เรียนจากการปฏิบัติ สร้างความรู้ใส่ตัว
หลักการของ พพปญ.
• ถามคือสอน
• (ทาแล้ว) สะท้อนคิดคือเรียน
• เขียนคือคิด
เรียนจากการปฏิบัติ สร้างความรู้ใส่ตัว
ไม่ใช่เรียนจากการรับถ่ายทอดความรู้สาเร็จรูป
จากการสะท้อนคิด
ของ ๒๔
ครูปัญญาทีปกร
สู่การสะท้อนคิด
เพื่อนโยบายการศึกษา
สาหรับคนไทย ๔.๐
จากการสะท้อนคิด
ของ ๒๔
ครูปัญญาทีปกร
สู่การสะท้อนคิด
เพื่อนโยบายการศึกษา
สาหรับคนไทย ๔.๐
และจาก
บทสรุปผลการวิจัยครั้งที่ 2
โครงการวิจัย การวิเคราะห์
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ตามแนวคิด RBL ใน
สถานศึกษาภายใต้โครงการ
เพาะพันธุ์ปัญญา
ผศ. ดร. เลขา ปิยะอัจฉริยะ และคณะ
การสะท้อนคิดเริ่มที่คาถาม
• นิยาม “การศึกษา” การเรียนการสอน
• ผลลัพธ์ของการศึกษา
• หน้าที่ของครู
• การพัฒนาครู
• หน้าที่ของโรงเรียน
• หน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
การสะท้อนคิดเริ่มที่คาถาม
• นิยาม “การศึกษา” การเรียนการสอน ภาคปฏิบัติ
• ผลลัพธ์ของการศึกษา
• หน้าที่ของครู
• การพัฒนาครู
• หน้าที่ของโรงเรียน
• หน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
ครูวิเชียร ไชยโชติ
รร. ไพรบึงวิทยาคม ศรีสะเกษ
“ครูจานวนมากไม่เข้าใจว่าการทาโครงงานคือการเรียน
เขาเห็นว่าการทาโครงการทาให้เสียเวลาโดยใช่เหตุ
รบกวนเวลาเรียนของนักเรียน ไม่สามารถทาให้
นักเรียนเก่งได้ อีกทั้งยังกระทบต่อการสอบโอเน็ต
ของส่วนกลางอีกด้วย” (น. ๘๔)
ครูอรุณี สุมารินทร์
รร. นารีวิทยา ราชบุรี
• “...เพราะครูเอาแต่สอนๆๆ ไม่เคยมี
ประสบการณ์ให้เชื่อว่าคนเราเรียนรู้และ
เปลี่ยนแปลงได้จากการปฏิบัติ” (น. ๕๘)
• “คนที่สอนครูในมหาวิทยาลัยก็แบบ
เดียวกัน แทบไม่เคยสัมผัส ปัญหาจริง
ของโรงเรียนเลย” (น. ๕๘)
เรียนคิด ไม่ใช่เรียนจา
การสะท้อนคิดเริ่มที่คาถาม
• นิยาม “การศึกษา” การเรียนการสอน
• ผลลัพธ์ของการศึกษา
• หน้าที่ของครู
• การพัฒนาครู
• หน้าที่ของโรงเรียน
• หน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
ผลลัพธ์ด้านจิตตปัญญา
• เป็นผลลัพธ์สาคัญ ... ทักษะชีวิต
• เกิดได้อย่างไร
- ฝึกจิตตปัญญา
- ทาโครงงานที่ยาก เป็นทีม ประสบการณ์เผชิญความ
ยากลาบาก
- ไตร่ตรองสะท้อนคิด โดยมีกัลยาณมิตร
• เกิดร่วมกับความรู้ด้านวิชา และทักษะภายนอก ใน
พื้นที่ปลอดภัย
ครูเรวดี นีระภักษ์ รร. เขมราฐ
วิทยาคม อุบลฯ
“การเปลี่ยนถึงระดับจิตใจเกิดจากการทางานร่วมกัน
ผ่านร้อนผ่านหนาว แก้ปัญหาอุปสรรคร่วมกัน มัน
สร้างความสัมพันธ์ใหม่ของนักเรียนและครู พอพบ
อย่างนี้แล้ว กาลังใจ ความภูมิใจเรามีเพิ่มขึ้น เพราะ
เรากาลังสร้างคน” (น. ๑๒๔)
ครูเกษณี ไทยจรรยา
รร. บางแพปฐมพิทยา ราชบุรี
“จิตใจเขาเปลี่ยนด้วย กลายเป็นคนมี
คุณธรรมมากขึ้น แล้วก็มีจิตอาสามากขึ้น”
(น. ๗๘)
• สมรรถนะ (competence)
• จัดการอารมณ์ (emotion management)
• เป็นตัวของตัวเอง และร่วมกับผู้อื่น (autonomy & interdependence)
• ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น (interpersonal relationship)
• อัตลักษณ์ (identity)
• เป้าหมายในชีวิต (purpose)
• มั่นคงในคุณธรรม (integity) ไม่เบี้ยว ไม่โกง ไม่ผักชีโรยหน้า ไม่จ่าย
สินบน
การพัฒนาตัวตน ๗ ด้าน ของ Chickering
ครูทิพยา ณ พัทลุง
รร. ระโนดวิทยา สงขลา
“....นักเรียนของเราคิดเป็นเหตุเป็นผลมากขึ้น รู้จัก
แยกแยะสิ่งดีและไม่ดี มีความสามารถในการกรอง
พฤติกรรมและสถานการณ์ต่างๆ ออกมาเป็นรูปแบบที่
เข้าใจได้ เขาเข้าใจว่าเรื่องที่เรียนมันสัมพันธ์กับชีวิต
ข้างหน้า รู้อย่างนี้แล้ว เขาก็เรียนอย่างมีเป้าหมายมาก
ขึ้น” (น. ๒๓๓)
ผลลัพธ์ด้านความรู้/วิชา
• ยังไม่ได้สะท้อนคิดอย่างจริงจัง
• ครูควรตั้งคาถามใน AAR ว่าข้อค้นพบจากโครงการ
อธิบายได้ด้วยทฤษฎีอะไร นร. อธิบายทฤษฎีนั้น
จากประสบการณ์ตรงของตนว่าอย่างไร ทฤษฎีนั้น
ใช้ในชีวิตประจาวันอย่างไร เพื่อเรียนทฤษฎีจาก
การปฏิบัติ
ครูไชยา รัชนีย์
รร. สทิงพระวิทยา สงขลา
“มันคือการทาให้เด็กเข้าใจเรื่องราวที่เขา
ทา โดยเอาสาระวิชามาอธิบายได้
นั่นเอง” (น. ๒๓๗)
การสะท้อนคิดเริ่มที่คาถาม
• นิยาม “การศึกษา” การเรียนการสอน
• ผลลัพธ์ของการศึกษา
• หน้าที่ของครู
• การพัฒนาครูู
• หน้าที่ของโรงเรียน
• หน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
ครูทิพยา ณ พัทลุง
รร. ระโนดวิทยา สงขลา
“มันต้องแก้ที่ครู ที่จิตวิญญาณครูที่เสียไป”
จิตวิญญาณเสียไปเพราะอะไร?
“ระบบที่ต้องทางานสนองใครก็ไม่รู้ ไม่เห็นตัวตน
อยู่ไหนไม่รู้ ไม่ใช่ระบบที่ให้ครูทางานสนองเด็ก
ตามแรงบันดาลใจของการเข้ามาเป็นครูู” (น. ๒๓๑)
หน้าที่ของครู
• ชวนศิษย์คิดโจทย์
• สร้างพื้นที่ปลอดภัย (ครูเกียรติศักดิ์ อินราษฎร รร. ดารงราษฎร์
สงเคราะห์ เชียงราย)
• เป็นพี่เลี้ยง (โค้ช)
• ตั้งคาถาม ชวนสะท้อนคิด ชวนคิดโจทย์
หน้าที่ของครู
• ชวนศิษย์คิดโจทย์
• สร้างพื้นที่ปลอดภัย (ครูเกียรติศักดิ์ อินราษฎร รร. ดารงราษฎร์
สงเคราะห์ เชียงราย)
• เป็นพี่เลี้ยง (โค้ช)
• ตั้งคาถาม ชวนสะท้อนคิด ชวนคิดโจทย์
ไม่ใช่สอนแบบถ่ายทอดความรู้สาเร็จรูป
หน้าที่ของครู
• ชวนศิษย์คิดโจทย์
• สร้างพื้นที่ปลอดภัย (ครูเกียรติศักดิ์ อินราษฎร รร. ดารงราษฎร์
สงเคราะห์ เชียงราย)
• เป็นพี่เลี้ยง (โค้ช)
• ตั้งคาถาม ชวนสะท้อนคิด ชวนคิดโจทย์
ทีมวิจัย : ครูยังตั้งคาถามน้อยไป
การสะท้อนคิดเริ่มที่คาถาม
• นิยาม “การศึกษา” การเรียนการสอน
• ผลลัพธ์ของการศึกษา
• หน้าที่ของครู
• การพัฒนาครู
• หน้าที่ของโรงเรียน
• หน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
ครูสรรเสริญ ใหญ่แก้ว
รร. กรับใหญ่ว่องกุศลกิจพิทยาคม ราชบุรี
“เปลี่ยนรัฐมนตรีที ก็มีเรื่องใหม่ จัดงบมาให้ใครไม่รู้
มาสอนเรา เคยเข้าโรงเรียนหรือเปล่าก็ไม่รู้ เข้าใจเด็ก
ที่อยู่ บ้านนอกชานเมืองอย่างเด็กของเราไหม มาพูดแต่
ทฤษฎี หลักการ เห็น PowerPoint มีแต่เอามาจากฝรั่ง
ถามอะไรที่เราสงสัยก็ตอบไม่ค่อยได้ รู้เลยว่าไม่เคยทา
เอง มาพูด ๆ สั่ง ๆ แล้วตามเอาผลงาน” (น. ๖๕)
ครูอาภรณ์รับไซ รร. จุฬาภรณ์ราช
วิทยาลัย นครศรีธรรมราช
“ที่อบรมมามากมายนั้น เขาไม่ได้พัฒนาให้เราเป็นครูด้วยจิต
วิญญาณเลย .... เขาพัฒนาโดยการบอกว่าเราเป็นครูต้องทา
อย่างนั้น .... เป็นการบอกให้คนหรือครูต้องเป็นอย่างนั้น
อย่างนี้ เขาไม่สร้างประสบการณ์ให้เรามีความรู้สึกการเป็น
ครูด้วยใจ พอมาเจอจิตตปัญญาดิฉันเกิดรู้ตัวเองขึ้นมา
ดิฉันเปลี่ยนตัวเองได้โดยไม่ต้องมีใครมาบอก”
ครูไชยา รัชนีย์
รร. สทิงพระวิทยา สงขลา
“กระทรวงมีรูปแบบกระบวนการใหม่ ผมก็พยายามไปเข้า
ร่วมเข้าอบรมทุกครั้ง แต่มันเอามาใช้ไม่ได้ เราไปแค่รับรู้
ว่าทาอย่างนั้นอย่างนี้ ไม่เคยฝึกปฏิบัติ พอเอามาใช้แล้ว
ติดขัดก็ไม่รู้ไปหาใคร ยังไม่เคยเจอรูปแบบที่ทาให้นักเรียน
เป็นคนดี มีปัญญาที่คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาของตนเองและ
สังคมได้ด้วยตนเอง” (น. ๒๓๖)
วิธีพัฒนาครูเพื่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของศิษย์
• งบพัฒนาครู ๑๐,๐๐๐/คน/ปี
• เกณฑ์เลื่อนวิทยะฐานะครู
หากคุณภาพการศึกษาไม่ดีขึ้นใครรับผิดชอบ
การพัฒนาครูแนว พพปญ.
• ขอให้ช่วยกันแนะนา
การสะท้อนคิดเริ่มที่คาถาม
• นิยาม “การศึกษา” การเรียนการสอน
• ผลลัพธ์ของการศึกษา
• หน้าที่ของครู
• การพัฒนาครู
• หน้าที่ของโรงเรียน
• หน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
รร. ที่เป็นพื้นที่เรียนรู้
• ของศิษย์ ครู ผู้บริหาร และครูของครู
• โรงเรียนฝึกหัดครู
พื้นที่ของกัลยาณมิตร
การปฏิบัติ
เก็บข้อมูล
ไตร่ตรองสะท้อนคิด
พื้นที่ปลอดภัย
High Expectation
High Support
การสะท้อนคิดเริ่มที่คาถาม
• นิยาม “การศึกษา” การเรียนการสอน
• ผลลัพธ์ของการศึกษา
• หน้าที่ของครู
• การพัฒนาครู
• หน้าที่ของโรงเรียน
• หน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
ครูปรียา วรรณโร
รร. ธรรมโฆสิต สงขลา
“ต้องลดภาระงานอื่นที่กินเวลาของครู ความจริงเรื่องนี้เป็น
ที่รู้กันมานานแล้ว มีคนพยายามช่วย ลดเวลา มีนโยบาย
แต่ดูเหมือนยิ่งทายิ่งมีงานมากขึ้น ส่วนมากเป็นงานข้อมูล
งานรายงาน งานประเมิน งานประกวด เขาคงนึกว่าได้
ข้อมูลแล้วจะเอาไปออกมาตรการแก้ปัญหาภาระครูได้ แต่
ไม่เห็นทาได้สักที”
ครูวิสารดา ฉิมน้อย
รร. จักรคาคณาทร ลาพูน
“ไม่คาดว่าจะเกิดได้คือ การเปลี่ยนแปลงขององค์กร
นักเรียนเปลี่ยน ครูเปลี่ยน ในระดับองค์กรก็ได้สิ่งดีๆ
.... เรามีความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน .... ต่างฝ่ายต่าง
เข้าใจซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น ในระดับองค์กร”
เปลี่ยนรูปแบบการเรียนรู้ เปลี่ยนความสัมพันธ์
เปลี่ยนองค์กร
GERM นาสู่หายนะ
• Global Education Reform Movement
- เน้น standardization ควบคุมจากส่วนกลาง
- เน้นวิชาแกน ทาให้ นร. เรียนไม่ครบด้าน
- กาหนดวิธีการมาตรฐานในการบรรลุเป้าหมาย
- บริหารแนวธุรกิจ เน้นการแข่งขัน ลดศักดิ์ศรีครู
- ใช้การทดสอบเป็นเครื่องมือสร้างความรับผิดรับชอบ
• การศึกษาไทยติดโรค GERM ยาบาบัดชื่อ พพปญ.
โรคร้ายของระบบการศึกษาไทย
บูชาสิ่งสาเร็จรูป ตายตัว
ข้อเสนอแนะ
• ไม่ต้องการกระทรวงศึกษาธิการแบบในปัจจุบัน
• ควรลดขนาดส่วนกลาง เหลือไม่ถึงร้อยละ๑๐
• เปลี่ยนรูปแบบความสัมพันธ์
• เงินงบประมาณพัฒนาครู ปีละ ๑๐,๐๐๐ บาท/คน
คนไทย ๔.๐ เกิดขึ้นไม่ได้
จากวิธีบริหารการศึกษาในปัจจุบัน
สรุป ข้อเสนอแนะ
• ครูฝึกตั้งคาถาม ให้นร. สะท้อนคิดเข้าหาทฤษฎี
• ใช้หลักการ ปฏิบัติ -> สังเกต เก็บข้อมูล -> ปฏิเวธ (ประจักษ์ผล) ->
สะท้อนคิด -> ปริยัติ (ทฤษฎี)
• เรียนทฤษฎีจากการปฏิบัติ กล้าตั้งทฤษฎีเอง
• ทาทั้งโรงเรียน
• บูรณาการสู่ทุกสาระการเรียนรู้ตามปกติ
• ใช้“หน่วยการเรียนรู้” ครอบคลุมหลายสาระวิชา

More Related Content

Similar to เพาะพันธ์ปัญญา600325

File เพาะพันธุ์ปัญญา
File เพาะพันธุ์ปัญญาFile เพาะพันธุ์ปัญญา
File เพาะพันธุ์ปัญญาMonthon Sorakraikitikul
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพKobwit Piriyawat
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังIct Krutao
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังIct Krutao
 
ปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซตปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซตteachersaman
 
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาบทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาNalintip Vongsapat
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาlikhit j.
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0Pattie Pattie
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]teacherhistory
 
โรงเรียนสีวลีคลองหลวง
โรงเรียนสีวลีคลองหลวงโรงเรียนสีวลีคลองหลวง
โรงเรียนสีวลีคลองหลวงWi Rut
 
อบรมปฏิบัติการ การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน
อบรมปฏิบัติการ การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐานอบรมปฏิบัติการ การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน
อบรมปฏิบัติการ การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐานWiriyah Ruechaipanit
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1DrDanai Thienphut
 
Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum PlanningChompri Ch
 

Similar to เพาะพันธ์ปัญญา600325 (20)

File เพาะพันธุ์ปัญญา
File เพาะพันธุ์ปัญญาFile เพาะพันธุ์ปัญญา
File เพาะพันธุ์ปัญญา
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟัง
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟัง
 
ปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซตปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซต
 
CREATIVE YOUR IMAGINATION
CREATIVE  YOUR IMAGINATIONCREATIVE  YOUR IMAGINATION
CREATIVE YOUR IMAGINATION
 
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาบทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
โรงเรียนสีวลีคลองหลวง
โรงเรียนสีวลีคลองหลวงโรงเรียนสีวลีคลองหลวง
โรงเรียนสีวลีคลองหลวง
 
อบรมปฏิบัติการ การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน
อบรมปฏิบัติการ การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐานอบรมปฏิบัติการ การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน
อบรมปฏิบัติการ การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
 
Thai edu21n1
Thai edu21n1Thai edu21n1
Thai edu21n1
 
Thai edu21n4
Thai edu21n4Thai edu21n4
Thai edu21n4
 
Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum Planning
 
Information Literacy
Information LiteracyInformation Literacy
Information Literacy
 

More from Pattie Pattie

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdfPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
 

เพาะพันธ์ปัญญา600325

Editor's Notes

  1. ความหลงผิดของวงการศึกษาไทย คิดว่าการเรียนคือการรับรู้และท่องจำสาระ หนังสือ การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร บอกว่า การเรียนรู้ที่แท้จริงไม่ได้เกิดจากการฟังจากครู หรือการอ่านหนังสือ แต่เกิดจากการคิด แล้วสร้างความรู้ใส่ตน
  2. การเรียนเกิดจากการปฏิบัติ แล้วคิด
  3. สมรรถนะ อารมณ์ เป็นตัวของตัวเอง ปฏิสัมพันธ์ อัตลักษณ์ เป้าหมายชีวิต คุณธรรม